HAMBURGER CRISIS

Download Report

Transcript HAMBURGER CRISIS

Subprime Crisis Blues
จาก http://www.youtube.com/watch?v=ntsGq9GgGFg&feature=related
สาเหตุ
ผลกระทบ
แนวทางการรับมือ
สาเหตุ
สาเหตุวิกฤตการณ์แฮมเบอร์เกอร์
วิกฤตการณ์แฮมเบอร์เกอร์
เป็ นผลมาจากความผิดพลาดของ
สหรัฐอเมริกาในการจัดการสินเชื่อ
อสังหาริมทรัพย์และการกากับดูแล
กลุ่มวาณิชธนกิจ (investment
banker) อย่างไม่รดั กุม จนเกิดปั ญหา
ขาดสภาพคล่องและคุกคามความ
มัน่ คงของสถาบันการเงิน
จุดเริ่มต้นของปั ญหา
ปั ญหาวิกฤตการณ์
แฮมเบอร์เกอร์ที่เป็ นปั ญหาอยู่ในช่วง
ปี 2551 ก่อปั ญหาลุกลามจนบริษัท
เงินทุนยักษ์ใหญ่ของอเมริกาถึงกับ
ล้มละลายนั้น เกิดจากsub-prime
mortgage ในประเทศสหรัฐอเมริกา
หรือสินเชื่อที่ปล่อยให้กใู ้ ห้กบั ลูกหนี้
ที่มีเครดิตทางการเงินตา่ กว่า
มาตรฐานโดยใช้อสังหาริมทรัพย์เป็ น
หลักทรัพย์ค้าประกัน
สาเหตุแรก คือ สหรัฐอเมริกามีทุนไหลเข้าไป
ในประเทศมากเกินไปจนล้นออกไปในภาค
อสังหาริมทรัพย์ทาให้เกิดฟองสบู่เก็งกาไรกันขึ้ น
สาเหตุที่สอง คือ ความโลภ ในธุรกิจ mortgage
ผูท้ าธุรกิจประดิษฐ์ตราสารไม่วา่ จะเป็ นหุน้ กู ้ หุน้
หรือ อนุ พนั ธ์ (derivatives) ประหลาดๆ ออก
มากมายหลายตัว ที่ไม่มีใครเข้าใจถึงผลกระทบ
ถึงแม้มีการผันผวนไปในทางลบ แต่ตราสารเหล่านี้
ใช้กนั อย่างกว้างขวาง เนื่ องจากให้ผลประโยชน์ ตอบ
แทนสูงและป้องกันความเสี่ยงได้ในระดับหนึ่ ง
สาเหตุที่สาม คือ
ความไม่รแู ้ ละความไม่เข้าใจ
ของคนซื้ อหรือลงทุนในตรา
สารใหม่ๆ
ผลกระทบ
สาเหตุ
ผลกระทบ
แนวทางการรับมือ
สหรัฐอเมริกา
ผลกระทบของวิกฤติตอ่ ประเทศสหรัฐอเมริกา
ผลกระทบต่อสถาบันการเงิน
ผลกระทบต่อตลาดหุน้
การหดตัวของการบริโภคของประชาชน
จานวนคนว่างงานจะสูงขึ้น
ผลกระทบต่ออัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
ผลกระทบต่อราคาสินค้า
ผลกระทบต่อสถาบันการเงิน
ภาคการเงินของต้อง
สัน่ สะเทือนเมื่อ สถาบันการเงิน
ขนาดใหญ่ของประเทศสหรัฐและ
ประเทศในยุโรปต้องล้มละลาย
ประสบปั ญหาการขาดทุนและขาด
สภาพคล่อง ทาให้ทางการต้องเข้า
ช่วยเหลือ มิฉะนั้น ระบบการเงิน
ของโลกอาจพังทลายได้
ในช่วงที่มีฟองสบู่ขนาดใหญ่ใน
ตลาดอสังหาริมทรัพย์ของสหรัฐอเมริกา
ที่เกิดจากการปั ่นราคาบ้านและที่ดินเกิด
แตกตัว ทาให้ลุกลามไปทาให้ฟองสบู่อีก
ฟองที่มีขนาดใหญ่ดว้ ยเช่นกันแตกตัว
ตามไปโดยผูเ้ ล่นรายใหญ่ในตลาดนี้ ส่วน
หนึ่ งคือบริษัทวาณิชธนกิจรายใหญ่ 5
แห่งของสหรัฐอเมริกา
2 บริษัทใหญ่ที่ประสบปั ญหา
• บริษัทเอไอจี (American
International Groups หรือ AIG)
• กลุ่มบริษัทเลห์แมน บราเธอร์ส
จากัด (Lehman Brothers)
ผลกระทบต่อตลาดหุน้
ผลของการล้มละลายและ
ขาดทุนของสถาบันการเงิน ทาให้เกิด
การตื่นตระหนกของนักลงทุนทัว่ โลก
ประกอบกับการขาดความเชื่อมัน่ ทา
ให้มีการขายหุน้ ทิ้ ง ตลาดหุน้ หลาย
แห่งต้องปิ ดทาการระหว่างการซื้ อขาย
การหดตัวของการบริโภคของประชาชน
คนอเมริกนั มีหนี้ สูงเป็ น
ประวัติการณ์จากการบริโภคที่เกิน
ตัว และเนื่ องจากการบริโภคของ
ภาคประชาชนเป็ นองค์ประกอบ
สาคัญสาเหตุผลที่ทาให้เศรษฐกิจ
ของสหรัฐอเมริกาตกตา่ ต่อเนื่ อง
จานวนคนว่างงานจะสูงขึ้น
การว่างงานจะเกิดขึ้ นและ
กระจายไปทุกส่วน เริ่มจากการ
ว่างงานในภาคการเงินที่ปิดตัว
และลดขนาดของธุรกรรม
แรงงานในภาคธุรกิจก่อสร้าง
จากนั้นจะขยายไปยัง
ภาคอุตสาหกรรมที่ผลิตสินค้า
ฟุ่ มเฟื อย
ผลกระทบต่ออัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
ภาวะเศรษฐกิจของ
สหรัฐอเมริกาและประเทศใน
สหภาพยุโรปที่ตกตา่ จะฉุด
ให้เศรษฐกิจของโลกหดตัว
ตามไปด้วย เพราะประเทศ
สหรัฐอเมริกาถือว่าเป็ น
ตลาดใหญ่
ผลกระทบต่อราคาสินค้า
จากการที่เศรษฐกิจหดตัว สถาบันการเงิน และกองทุนต่างๆ
ประสบปั ญหา ทาให้ราคาสินค้าทัว่ โลกหดตัว เช่น ราคาน้ ามัน ราคา
วัสดุก่อสร้าง ราคาวัตถุดิบ ราคาพืชเกษตร เป็ นต้น ราคาสินค้า
เหล่านี้ หดตัวควบคู่กนั ไปกับราคาอสังหาริมทรัพย์ที่หดตัว นาไปสู่
สภาพที่เรียกว่า “ภาวะเงินฝื ด”
ยุโรป
ผลกระทบต่อยุโรป
• ผลกระทบต่อประเทศในยุโรปนั้นแตกต่างจากปั ญหาในสหรัฐอเมริกา
• แม้วา่ สาเหตุเบื้ องต้นของปั ญหาของสถาบันการเงินในอเมริกาและ
ยุโรปจะต่างกัน แต่ตน้ ตอจริงๆนั้น เหมือนกัน
• ในขณะที่เศรษฐกิจโลกกาลังฟื้ นตัวหลังจาก ผ่านวิกฤต
Hamburger Crisis เศรษฐกิจยุโรป ดูจะไม่เป็ นเช่นนั้น
มาตรการในการรับมือ
• การตั้งกองทุน มูลค่ารวมประมาณ 1 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ เพื่อเข้า
พยุงค่าเงินยูโร และราคาพันธบัตร และให้ประเทศที่มีหนี้ ที่ตอ้ งชาระกู ้
เป็ นหลัก
• ทาให้ประเทศในยูโรลดโอกาสในการล้มละลาย
• ซึ่งช่วยสร้างความเชื่อมัน่ ให้กบั นักลงทุนในพันธบัตร และสินทรัพย์
สกุลยูโร และช่วยลดปั ญหา Mark to market loss สาหรับ
สถาบันการเงินที่ถือครองพันธบัตรรัฐบาลของประเทศยุโรป ป้องกัน
ไม่ให้เกิดปั ญหาเป็ น Domino
เอเชีย
ผลกระทบต่อเอเชีย
ผลกระทบโดยตรงต่อภาคการเงินในเอเชียไม่มากนัก
รวมทั้งในไทยด้วยส่วนหนึ่ งอาจจะมาจากการเรียนรูจ้ ากวิกฤตในปี
1997 อีกส่วนหนึ่ งเป็ นเพราะระบบสถาบันการเงินในภูมิภาคนี้ ยัง
ล้าหลังอยู่ (ซึ่งในกรณีนี้ ความล้าหลังกลับเป็ นสิ่งที่ดี) อย่างไรก็
ตามตลาดทุนถูกกระทบหนักจากการเคลื่อนย้ายเงินทุนกลับของ
ทุนสหรัฐอเมริกา และ ยุโรป แต่ในระยะหลังดีขึ้นมาระดับหนึ่ งแล้ว
แต่ก็ยงั ตา่ กว่าก่อนวิกฤตอยูพ่ อสมควร
ไทย
ผลกระทบของวิกฤติSubprimeต่อเศรษฐกิจไทย
ผ่านทาง 3 ช่องทาง อันได้แก่
ภาคการเงิน
ตลาดทุน
การค้าระหว่างประเทศ
ช่องทางที่ 1 : ผลกระทบผ่านภาคการเงิน
เนื่ องจากสถาบันการเงินของประเทศไทยได้บทเรียนจาก
วิกฤตการณ์ตม้ ยากุง้ จึงมีนโยบายการปล่อยสินเชื่อและการลงทุนที่
รัดกุม วิกฤตการณ์ Subprime ที่เกิดขึ้ นในอเมริกาจึงส่งผลกระทบต่อ
ประเทศไทยผ่านช่องทางภาคการเงินได้อย่างจากัด
ช่องทางที่ 2 : ผลกระทบผ่านช่องทางตลาดทุน
ตลาดหุน้ ไทยได้รบั ผลกระทบจากวิกฤตการณ์แฮมเบอร์เกอร์ใน
สหรัฐอเมริการุนแรงและชัดเจนที่สุด ดัชนี ตลาดหลักทรัพย์แห่ง
ประเทศไทยปรับตัวลดลงกว่าร้อยละ 50 จากต้นปี
สาเหตุประการแรก นักลงทุนต้องการหลีกเลี่ยงความเสี่ยง เนื่ องด้วย
ประเทศไทยอยูใ่ นกลุ่มประเทศเศรษฐกิจใหม่มีความเสี่ยงโดย
เปรียบเทียบสูงกว่าประเทศอื่นๆ จึงมีการขายสุทธิต่อเนื่ อง
สาเหตุประการที่สอง การปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่ องของตลาด
หลักทรัพย์ในช่วงที่ผ่านมาจึงอาจเป็ นการสื่อถึงการคาดการณ์
ภาวะเศรษฐกิจถดถอยของไทยที่กาลังจะเกิดขึ้ นในอนาคต
• สาเหตุประการที่สาม เกิดจากความอ่อนไหวของนักลงทุนต่อ
เหตุการณ์ที่ปรากฏขึ้ นในขณะนั้น ส่งผลต่อจิตวิทยาของนักลงทุน และ
ทาให้เกิดการเทขายหลักทรัพย์ในประเทศไทย ส่งผลให้ให้ราคา
หลักทรัพย์ของไทยยิง่ ปรับตัวตา่ ลงรุนแรงขึ้ นแม้วา่ ผลกระทบจาก
วิกฤตการณ์ซบั ไพรม์ต่อเศรษฐกิจไทยจะยังไม่ปรากฏชัดเจนก็ตาม
• ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้ นต่อเศรษฐกิจไทย จะพบว่าการลดลงของ
ดัชนี ราคาหลักทรัพย์กว่าร้อยละ 50 อาจส่งผลทาให้การบริโภค
ภายในประเทศปรับตัวลดลงร้อยละ 0.6 และทาให้การลงทุน
ภาคเอกชนลดลงร้อยละ 5
ช่องทางที่ 3 : ผลกระทบผ่านช่องทาง
การค้าระหว่างประเทศ
การลดลงของอุปสงค์ภายนอก
ประเทศที่มีต่อสินค้าไทย เกิดจาก
ความสัมพันธ์ดา้ นการผลิตและห่วง
โซ่อุปทานอันซับซ้อนจากประเทศ
ต่างๆ โดยไทยส่งสินค้าวัตถุดิบไปให้
ประเทศเอเชียอื่นๆ เช่นจีน และ
ส่งออกเป็ นสินค้าขั้นสุดท้ายใน
อเมริกา เมื่อเกิดการชะลอตัวของ
อเมริกา จึงส่งผลเป็ นลูกโซ่มายังไทย
ผ่านขั้นตอนการผลิต
USA
แนวทางการรับมือ
สหรัฐอเมริกา
แผนการฟื้ นฟูเศรษฐกิจ
สหรัฐมีนโยบายอัดฉีดเงินเข้าสู่ระบบโดยการใช้จา่ ยของภาครัฐ
ด้านสาธารณูปโภคขั้นพื้ นฐานและลดภาษี เพื่อกระตุน้ การใช้จา่ ย
ภาคเอกชน โดยใช้งบประมาณมีมลู ค่ารวม 7.87 แสนล้านเหรียญ
สหรัฐ (27.5 ล้านล้านบาท)
7.8 แสนล้าน$
การแก้ปัญหาทางด้านขาดดุลบัญชีเดินสะพัด
ทาให้ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐอ่อนตัวลง
ส่งออกมากขึ้ น
ลดการนาเข้า
การแก้ ปัญหาภาคการเงิน
ใช้ มาตรการ
Troubled Asset Relief Program (TARP)
7 แสนล้าน$
ลดดอกเบี้ยเพื่อกระตุน้ เศรษฐกิจ
ธนาคารกลางของสหรัฐ หรือ FED นั้น ได้ต้งั
เป้าการลดอัตราดอกเบี้ ยเหลือร้อยละ 1
ทาหน้าที่เป็ นผูป้ ล่อยกูร้ ายใหญ่
ลดอัตราดอกเบี้ ยกูย้ มื ระยะยาว 30 ปี
เพื่ออสังหาริมทรัพย์ ลดลงจากร้อยละ
6 ต่อปี เหลือร้อยละ 5.8 ต่อปี
ในตอนนั้น FED เป็ นผูป้ ล่อยกู ้
รายใหญ่ที่สุดของสหรัฐ
การใช้นโยบาย
นโยบายการคลัง
นโยบายการเงิน
ไม่มีขอบเขตจากัด
ตั้งใจจะขาดดุลงบประมาณ
ต้องออกพันธบัตรเพื่อกูย้ มื เงินจาก
ประชาชน 1.8 ล้านล้านดอลล่าร์
=
12% ของ GDP
ส่วนของงบดุลของธนาคารกลาง
สหรัฐที่เพิ่มขึ้ น 1.3 ล้านล้าน
ดอลลาร์
ไทย
แนวทางการรับมือของ : ผู้ประการ
: ผู้ลงทุนในหุ้น
: คนทั่วไป
: ภาครัฐ
แนวทางการรับมือของผูป้ ระกอบการ
เนื่ องจากการฟื้ นตัวจากภาวะเศรษฐกิจถดถอย
มักใช้เวลาประมาณ 4-7 ไตรมาส ดังนั้น
ผูป้ ระกอบการจึงควรวางแผนธุรกิจอย่างระมัดระวัง
โดยอาจเตรียมแนวทางการรับมือ
1.กระจายตลาดส่งออกไปยังประเทศคู่คา้ อื่นๆ
สาหรับผูป้ ระกอบการในธุรกิจที่พึ่งพิงสหรัฐฯ
เป็ นตลาดส่งออกหลักนั้น ควรเร่งศึกษาตลาด
ส่งออกใหม่ที่มีศกั ยภาพในการเติบโตมากกว่า หรือ
น่ าจะมีอตั ราการขยายตัวทางเศรษฐกิจในระดับสูง
2.ให้น้ าหนักกับตลาดในประเทศมากขึ้น
ผูป้ ระกอบการอาจพิจารณา
กระจายสินค้ามาสู่ตลาดใน
ประเทศมากขึ้ น โดยพยายาม
ปรับปรุงผลิตภัณฑ์ให้สามารถ
ตอบสนองความต้องการของ
ผูบ้ ริโภคได้อย่างตรงจุด
3.บริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน
จากการที่อตั ราแลกเปลี่ยนอาจ
มีความผันผวน ผูป้ ระกอบการที่
เผชิญความเสี่ยงจากอัตรา
แลกเปลี่ยนจึงควรป้องกันความเสี่ยง
โดยการทาสัญญาซื้ อขายเงินตรา
ต่างประเทศล่วงหน้า (Forward
Contracts)
4.เลือกตกลงทาธุรกรรมด้วยสกุลเงินอื่นๆ
ที่ไม่ใช่เงินดอลลาร์สหรัฐฯ
ส่วนใหญ่แล้ว
ผูป้ ระกอบการมักตกลงรับชาระ
ค่าสินค้าและบริการในรูปเงิน
ดอลลาร์ฯ ทาให้ตอ้ งเผชิญความ
เสี่ยงจากการที่เงินดอลลาร์ฯ
อ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับเงินบาท
ดังนั้นหากเป็ นไปได้ก็อาจจะหัน
มาใช้เงินสกุลอื่นๆ เป็ นตัวกลาง
ในการชาระเงินแทน
5.กระจายการลงทุนในรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อ
ลดความเสี่ยงของพอร์ตการลงทุนโดยรวม
สาหรับผูป้ ระกอบการที่บริหารพอร์ตการลงทุนของตน เพื่อเพิ่ม
ผลตอบแทนนั้น ควรเพิ่มความระมัดระวังสาหรับการลงทุนใน
สินทรัพย์ที่มีความเสี่ยงสูง โดยอาจพิจารณาเพิ่มความหลากหลายของ
รูปแบบการลงทุน เพื่อกระจายความเสี่ยงได้มากขึ้ น
6.ติดตามข่าวสารและสถานการณ์ในตลาดโลก
เพื่อให้ทนั ต่อสถานการณ์ที่
เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว
ผูป้ ระกอบการจึงควรให้
ความสาคัญกับการติดตาม
ข่าวสารต่างๆ อย่างสมา่ เสมอ ซึ่ง
จะช่วยให้สามารถปรับเปลี่ยนกล
ยุทธ์ธุรกิจได้ทนั ท่วงที
แนวทางการรับมือของผูล้ งทุนในหุน้
1.ทยอยเก็บหุน้ แบบไม่ผลีผลาม
สาหรับคนที่ลงทุนในหุน้ ต้องอยูภ่ ายใต้สมมติฐานที่วา่ ราคาหุน้
อาจจะปรับขึ้ น-ลงได้ตลอดเวลา เพราะฉะนั้น จะต้องเป็ นการลงทุนที่
ไม่ผลีผลาม
2.จัดพอร์ตในสถานการณ์เสี่ยงสูง
การมีกลุ่มการลงทุนที่มีความเสี่ยงน้อย มีความปลอดภัย เช่น
ตราสารตลาดเงินหรือพันธบัตรรัฐบาลระยะสั้นมากขึ้ นเป็ นเรือ่ งที่ดี
ในส่วนของหุน้ ควรจะเลือกลงทุนในหุน้ ที่มีปัจจัยพื้ นฐานดี มี
ความสามารถในการทากาไร
แนวทางการรับมือของบุคคลทั ่วไป
1. ระวังการตกงาน อย่าเลือกงานเพราะงานกาลังจะหายาก
2. เก็บเงินสดเงินออมไว้บา้ ง
3. งดใช้บตั รเครดิต หรือใช้ให้น้อยลง
4. อย่าสร้างหนี้ โดยไม่จาเป็ นและไม่เกิดประโยชน์ที่ชดั เจน ถ้าจะซื้ อ
บ้านหรือคอนโดให้ซื้อแต่พอเหมาะ
5. แบ่งสัดส่วนการถือเงินให้ดี เช่น อาจจะแบ่งไปซื้ อหุน้ หรือกองทุน
ซื้ อทองคา รวมถึงตัว๋ เงิน พันธบัตรหรือถือเงินสกุลต่างประเทศเก็บไว้
6. รีบชาระหนี้ ที่มีอยูโ่ ดยด่วน เพื่อไม่ให้เป็ นภาระ
แนวทางการรับมือของภาครัฐ
1.สร้างความมีเสถียรภาพทางการเมือง
2.เร่งลงทุนในโครงสร้างพื้ นฐาน เพื่อเป็ นการกระตุน้ เศรษฐกิจ
3.กระตุน้ การใช้จา่ ยของประชาชนในประเทศ เพื่อทดแทนการส่งออก
ที่จะลดลง
4.กระตุน้ การลงทุนของภาคเอกชน โดยการสร้างความเชื่อมัน่ ต่อนัก
ลงทุน
จัดทำโดย
1.นำงสำวบูรฉัตร มณีวรรณ
2.นำงสำวศศิธร บัวงำม
3.นำงสำวศิริลกั ษณ์ มูลสำร
4.นำวสำวศุภรำภรณ์ รอดไฝ
5.นำยอิสรำ ดอกพรม
6.นำงสำวศนิชล มหแสงสวรรค์
เลขทะเบียน
เลขทะเบียน
เลขทะเบียน
เลขทะเบียน
เลขทะเบียน
เลขทะเบียน
5204610116
5204610744
5204611296
5204681224
5204681554
5204681687