ตัวแทนประกันชีวิต

Download Report

Transcript ตัวแทนประกันชีวิต

เอกสารประกอบการอบรม
การต่ออายุใบอนุญาตตัวแทน และ นายหน้ า ครัง้ ที่ 4 เป็ นต้นปป
โดย นายชัชวาลย์ วยัมหสุ วรรณ
ผู้อานวยการส่ วนกากับมาตรฐานบุคลากรประกันภัย 1
พระราชบัญญัตค
ิ ณะกรรมการกากับและ
ส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย พ.ศ. 2550
มีผลบังคับใช้เมือ
่ วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2550
2
นายยรรยง
พวงราช
3
กำกับและพัฒนำธุรกิจประกันภัยให้มีควำมเข้มแข็ง มัน่ คงและ
ยัง่ ยืน ส่ งเสริ ม และพัฒนำให้ธุรกิจประกันภัยเพิ่มบทบำทต่อกำรพัฒนำ
เศรษฐกิจ สังคม และคุณภำพชีวิตที่ดีของประชำชนคุม้ ครองสิ ทธิประโยชน์
ของประชำชนด้ำนกำรประกันภัย
4
สานักงาน
คปภ.
สาย
ตรวจสอบ
สายกากับ
สาย
ส่งเสริม
และบริหาร
สาย
กฎหมาย
5
สายกากับ
สายตรวจสอบ
มุ่งมั่นสู่แนวทางการกากับตามระดับความเสี่ยง
การตรวจสอบแนวใหม่ทม
ี่ ีประสิทธิภาพ และมีความเป็นธรรม
โดยใช้สัญญาณเตือนภัยทีส
่ ามารถเชื่อมโยงข้อมูลได้ทว
ั่ ประเทศ
ให้บริการอย่างมีคณ
ุ ภาพ ยุติธรรม เสมอภาคคุม
้ ครองสิทธิ์
สายส่งเสริมและบริ
ารธทางปัญญา นาคุณค่าประกันภัยสู่สังคม
ติดห
อาวุ
สายกฎหมาย
พัฒนาและบังคับใช้กฎหมายให้มีประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อให้ธุรกิจประกันภัย
มีความมั่นคงและสร้างความเป็นธรรมให้แก่ผู้เอาประกันภัย
6
ตารางสรุปการจัดงาน “ประกันภัยสั ญจร” ปี 2553
จังหวัด
ภาค 1
เชียงใหม่
เชียงราย
สุโขทัย
ภาค 2
นครสวรรค์
พิษณุโลก
เพชรบูรณ์
ภาค3
อุดรธานี
มหาสารคาม
สกลนคร
วันที่
จานวนวัน
24-26 ก.ย.
3 วัน
1-3 ต.ค
3 วัน
พ.ย.
7 วัน
14-16 ก.พ.
3 วัน
พ.ย.
ก.ย.-ต.ค.
ธ.ค.
เม.ย.
ต.ค.
3 วัน
5 วัน
5 วัน
3 วัน
7 วัน
7
ตารางสรุปการจัดงาน “ประกันภัยสั ญจร” ปี 2553
จังหวัด
วันที่
จานวนวัน
ภาค 4
นครราชสีมา
มี.ค.
10 วัน
อุบลราชธานี
ก.ค.
3 วัน
ร้อยเอ็ด
มี.ค.
2 วัน
ภาค 5
ชลบุรี
ฉะเชิงเทรา
สมุทรปราการ
เม.ย.
ต.ค.-พ.ย.
ต.ค
7 วัน
9 วัน
7 วัน
8
ตารางสรุปการจัดงาน “ประกันภัยสั ญจร” ปี 2553
จังหวัด
ภาค 6
นครปฐม
กาญจนบุรี
สุพรรณบุรี
ภาค 7
สงขลา
กระบี่
ตรัง
วันที่
จานวนวัน
ต.ค
9 วัน
24-26 ธ.ค.
5 วัน
ยังไม่กาหนด
27 มิ.ย.-7 ก.ค.
10 วัน
30 เม.ย.-1 พ.ค.
2 วัน
24-26 ต.ค.
3 วัน
9
Money Expo 2010
• 1 วันที่ 5-7 กุมภำพันธ์ 2553 จ.ชลบุรี
ณ ศูนย์ประชุมบีช โรงแรมรอยัลคลิฟบีชรี สอร์ท
• 2. วันที่ 6-9 พฤษภำคม 2553 กรุ งเทพฯ
ณ. ศูนย์ประชุมแห่งชำติสิริกิตต์
• 3. วันที่ 8-10 ตุลำคม 2553 จ.นครรำชสี มำ
ณ Mcc hall the mall โครำช
• 4. วันที่ 12-14 พฤศจิกำยน 2553 จ.เชียงใหม่
ณ หอประชุมมหำวิทยำลัยเชียงใหม่
(อำจมีกำรเปลี่ยนแปลง)
10
• พระรำชบัญญัติประกันชีวติ พ.ศ.2535 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระรำชบัญญัติประกันชีวติ
(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2551
• พระรำชบัญญัติประกันวินำศภัย พ.ศ.2535 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระรำชบัญญัติประกันวินำศภัย (ฉบับ
ที่2) พ.ศ.2551
• พระรำชบัญญัติคุม้ ครองผูป้ ระสบภัยจำกรถ พ.ศ.2535 แก้ไขเพิ่มเติมโดย พระรำชบัญญัติ
คุม้ ครองผูป้ ระสบภัยจำกรถ
11
โครงสร้ำงธุรกิจประกันภัยไทย
บริษัทประกันชีวติ
24 บริษทั
บริษัทประกันวินาศภัย
70 บริษัท
คนกลางประกันภัย
– ตัวแทนประกันชีวติ
– ตัวแทนประกันวินาศภัย
– นายหน้ าบุคคลธรรมดา
– นายหน้ านิติบุคคล
12
กราฟแสดงเบีย้ ประกันภัยรับโดยตรงของธุรกิจประกันภัย
ปี 2546 - 2551 และแนวโน้ มปี 2552 - 2553
500,000
ล้านบาท
%
50,000
13.
63%
4 .1
2%
11.
58%
11.
42%
7. 7
2
%
15. 1
2
18.
54%
8
15. 0-1
. 81%
9 .7
3%
16.
25%
5. 3
7%
10. 7
0
10.
25%
12.
76%
%
100,000
13.
47%
150,000
15.
44% 14. 80
%
300,000
12. 5
5
350,000
200,000
8. 2
8%
400,000
250,000
. 83%
5
1
6
12. 2
%
450,000
5. 8
0
%
5. 3
8
8. 0
0
%
%
6. 0
-
9. 0
%
0
25
53
P(
ตำ่
)
25
53
P(
สงู
)
25
52
P
25
51
25
50
25
49
25
48
25
47
25
46
ปี
13
4
เปรียบเทียบจานวนเบีย้ ประกันภัยรับโดยตรงของธุรกิจประกันภัย
ปี 2548-2551 และแนวโน้ มปี 2552-2553
หน่ วย : ล้านบาท
ประเภทของ
ประกันภัย
ปี พ.ศ.
2548
2549
2550
2551
2552 2553(ต่า) 2553(สู ง)
ประกัน
วินาศภัย
88,454 95,287
ประกัน
ชีวิต
166,830 173,708 201,942 221,598 262,674 302,075 312,093
รวม
255,284 268,995 302,758 327,837 377,412 423,697 437,157
100,816 106,239 114,738 121,622 125,064
14
ิ
สนทร
ัพย์ลงทุนรวมของธุรกิจประก ันวินาศภ ัย ณ 30 มิ.ย. 52 (115,000 ล้านบาท)
สลำกออมทรั พย์ 0.09%
บัตรเงินฝำกสถำบันกำรเงิน 1.46%
ิ
เงินใหกู้ ้ยืม โดยมีทรั พย์สน
จำนองเป็ นประกั น 3.74%
ตั๋วเงินคลัง 3.68%
ใบสำคัญแสดงสิทธิ 0.03%
เงินใหกู้ ้ยืม โดยมีบค
ุ คลค้ำประกั น /
ใหกู้ ้ยืม แก่สหกรณ์ . 06%
้ รถ 0.20%
เงินลงทุนใหเช่
้ ำซือ
Current / saving deposits 5.92%
พันธบัตรรั ฐบำลไทยและรั ฐวิสำหกิจ
ตั๋วสัญญำใช ้เงิน - ตั๋วแลกเงิน 6.72%
22.40%
หน่ วยลงทุน 8.99%
หุนทุ
้ น , 18.16%
หุนกู
้ ้-หุนกู
้ ้แปลงสภำพ 10.62%
Fixed deposits 17.93%
พั นธบัตรรัฐบำลไทยและรัฐวิสำหกิจ 25,771,654,391.25บำท
หุ ้นทุน 20,890,948,619.63บำท
Fixed deposits 20,634,673,171.84บำท
หุ ้นกู ้-หุ ้นกู ้แปลงสภำพ 12,225,655,294.93บำท
หน่วยลงทุน 10,345,987,554.67บำท
้ น - ตัว๋ แลกเงิน 7,735,920,569.25บำท
ตัว๋ สัญญำใชเงิ
Current / saving deposits 6,812,815,070.39บำท
ิ จำนองเป็ นประกัน 4,308,309,757.34บำท
เงินให ้กู ้ยืมโดยมีทรัพย์สน
ตัว๋ เงินคลัง 4,236,957,740.13บำท
บัตรเงินฝำกสถำบันกำรเงิน 1,677,889,910.56บำท
้ รถ 229,987,975.88บำท
เงินลงทุนให ้เช่ำซือ
สลำกออมทรัพย์ 101,913,000บำท
ใบสำคัญแสดงสิทธิ 32,689,143.28บำท
เงินให ้กู ้ยืมโดยมีบค
ุ คลค้ำประกัน/ให ้กู ้ยืมแก่สหกรณ์ 64,314,901.29บำท
15
สินทร ัพย์ลงทุนรวมของธุรกิจประก ันชีวต
ิ ณ 30 มิ.ย. 52 (923,000 ล้านบาท)
ใหกู้ ้ยืมโดยมีกรมธรรม์
ประกันภัยเป็ นประกัน ,
5.968%
ใหกู้ ้ยืมโดยมีอสังหำริมทรัพย์
จำนอง, 1.699%
ใหกู้ ้ยืมโดยมี
บุคคลค้ำประกัน ,
ตรำสำรอนุพน
ั ธ์ 0.272%
้ รถ 0.187%
ใหเช่
้ ำซือ
อสังหำริมทรัพย์ 0.152%
ใบสำคัญแสดงสิทธิ
0.002%
Fixed deposit 2.087%
บัตรเงินฝำกสถำบัน
กำรเงิน 0.189%
หน่วยลงทุน 1.251%
Saving / current deposit
0.674%
สลำกออมทรัพย์ 0.003%
ตั๋วสัญญำใช ้เงิน ตั๋วแลกเงิน,
7.619%
หุนกู
้ ้ 10.959%
พันธบัตร 62.862%
หุนทุ
้ น 5.607%
ตั๋วเงินคลัง 0.461%
พันธบัตร 580,762,673,783.35 บำท
ตั๋วเงินคลัง 4,257,739,974.87 บำท
หุนทุ
้ น 51,803,016,954.24 บำท
ตั๋วสัญญำใช ้เงิน -ตั๋วแลกเงิน 70,392,959,859.54 บำท
หุนกู
้ ้ 101,243,410,736.08 บำท
สลำกออมทรัพย์ 31,000,000 บำท
หน่วยลงทุน 11,560,585,585.03 บำท
ใบสำคัญแสดงสิทธิ 15,435,727.51 บำท
ใหกู้ ้ยืมโดยมีกรมธรรม์ประกันภัยเป็ นประกัน 55,134,374,855.43 บำท
ใหกู้ ้ยืมโดยมีบค
ุ คลค้ำประกัน 61,271,469.68 บำท
ใหกู้ ้ยืมโดยมีอสังหำริมทรัพย์จำนอง 15,692,235,747.34 บำท
้ รถ 1,729,333,687.11 บำท
ใหเช่
้ ำซือ
ตรำสำรอนุพน
ั ธ์ 2,514,223,192.02 บำท
อสังหำริมทรัพย์ 1,406,298,527.60 บำท
Fixed deposit 19,277,544,431.51 บำท
Saving / current deposit 6,230,310,216.39 บำท
บัตรเงินฝำกสถำบันกำรเงิน 1,750,000,000 บำท
16
ตำรำงเปรี ยบเทียบผลผลิตเบี้ยประกันชีวติ ระหว่ำง
ตัวแทนประกันชีวติ และนำยหน้ำประกันชีวติ
หน่ วย ล้านบาท
เบีย้ ปี 52 (Q3)
ประเภท
ตัวแทน
นายหน้ า
บุคคล
ธรรมดา
FYP
21,360.00
16,091.00
SP
5,042.00
16,290.00
RYP
96,316.00
รวม
122,718.00
เบีย้ ปี 51 (Q3)
ตัวแทน
นายหน้ า
บุคคลธรรมดา
16,175.00
8,040.00
18,216.00
80,469.00
11,856.00
50,597.00
96,644.00
19,896.00 17
ตำรำงเปรี ยบเทียบจำนวนตัวแทนประกันชีวติ และ
นำยหน้ำประกันชีวติ บุคคลธรรมดำ
หน่ วย : คน
ประเภท
ปี 2552
ปี 2551
ตัวแทนประกันชีวิต
289,983
333,468
นายหน้ าประกันชีวิต
37,844
22,670
18
ตำรำงเปรี ยบเทียบผลผลิตเบี้ยประกันชีวติ ต่อคนระหว่ำง
ตัวแทนประกันชีวติ และนำยหน้ำประกันชีวติ บุคคลธรรมดำ
ประเภท
ตัวแทนประกันชีวิต
ผลผลิต : คน
นายหน้ าประกันชีวิต
ผลผลิต : คน
ปี 2552 (Q3) ปี 2551 (Q3)
เพิ่มขึน้
เพิ่มขึน้
(บาท)
(%)
423,190
289,815
133,375
46.02
1,336,988
877,635
459,353
52.33
19
20
21
22
23
ประกาศ คปภ. เรื่อง การกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการออก การเสนอ
ขายกรมธรรม์ ประกันภัย และการปฏิบัตหิ น้ าที่ของตัวแทนประกัน
ชีวติ นายหน้ าประกันชีวติ และธนาคาร พ.ศ.๒๕๕๑ ตามความใน
มาตรา ๓๘(๕) และมาตรา ๗๐/๒ แห่ งพระราชบัญญัติประกันชีวติ พ.ศ.๒๕๓๕ แก้ไข
เพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัติประกันชีวติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๑
24
ในการเสนอขายกรมธรรม์ ประกันภัยผ่ านตัวแทนประกันชีวติ บริษัทจะต้ อง
จัดการให้ ตัวแทนประกันชีวติ หรือนายหน้ าประกันชีวติ ปฏิบัติ หรือ ละเว้ น
การปฏิบัติตามทีก่ าหนดไว้ ดงั ต่ อไปนี้
1. ห้ำมชักชวนให้ผเู ้ อำประกันภัยยกเลิกกรมธรรม์ประกันภัยอื่น เพื่อมำ
ซื้อกรมธรรม์ประกันภัยใหม่
2. ห้ำมให้ขอ้ ควำมที่เป็ นเท็จ หรื อปกปิ ดข้อควำมจริ งที่ควรบอกให้แจ้ง
เพื่อมุ่งหวังให้มีกำรประกันภัย
25
3. ห้ำมให้คำแนะนำซึ่งอำจจะก่อให้เกิดควำมเข้ำใจผิด หรื อละเว้นกำรเปิ ดเผย
ข้อมูลอันเป็ นสำระสำคัญซึ่งอำจจะก่อให้เกิดควำมเข้ำใจผิด
4. ให้อธิบำยหลักกำรเปิ ดเผยข้อควำมจริ งในใบคำขอเอำประกันภัยและผลที่
จะเกิดขึ้นหำกมีกำรแถลงข้อควำมอันเป็ นเท็จ หรื อปกปิ ดข้อควำมจริ ง
5. แจ้งชื่อตัว ชื่อสกุล บริ ษทั ที่ตนสังกัด(ถ้ำมี) พร้อมทั้งแสดงใบอนุญำต
เป็ นตัวแทนประกันชีวิต หรื อนำยหน้ำประกันชีวิต
26
6. แจ้งวัตถุประสงค์ในกำรติดต่อกับผูม้ ุ่งหวัง ซึ่งต้องแสดงให้ปรำกฏชัดแจ้งว่ำ
เป็ นกำรเสนอขำยกรมธรรม์ประกันภัยเท่ำนั้น ในกำรนี้ให้หลีกเลี่ยงกำรใช้คำว่ำ
ฝำกหรื อฝำกเงินแทนกำรชำระเบี้ยประกันภัย
7. หำกผูม้ ุ่งหวังแสดงเจตนำอย่ำงชัดเจนว่ำไม่ประสงค์จะซื้อ ไม่วำ่ กำร
แสดงเจตนำนั้นจะเกิดขึ้นในขั้นตอนใด ให้ยตุ ิกำรขำยทันที
27
8. เมื่อได้รับอนุญำตให้เสนอขำยกรมธรรม์ประกันภัยจำกผูม้ ุ่งหวัง ตัวแทน
ประกันชีวิต หรื อนำยหน้ำประกันชีวิต จะต้องอธิบำยเกี่ยวกับกรมธรรม์ประกันภัย
ที่เสนอขำย โดยใช้เอกสำรประกอบกำรเสนอขำยที่ได้รับควำมเห็นชอบจำกบริ ษทั
เท่ำนั้น
9. แนะนำให้ผมู ้ ุ่งหวังทำประกันชีวิตให้เหมำะสมกับควำมเสี่ ยงและ
ควำมสำมำรถในกำรชำระเบี้ยประกันภัย (Suitability Requirement)
28
10. เมื่อผูม้ ุ่งหวังประสงค์จะทำประกันชีวิต ตัวแทนประกันชีวิต หรื อ
นำยหน้ำประกันชีวิตจะต้องส่ งมอบใบคำขอเอำประกันภัยให้แก่ผมู ้ ุ่งหวังและให้
ผูม้ ุ่งหวังกรอกรำยละเอียดลงในใบคำขอเอำประกันภัยและลงลำยมือชื่อในฐำนะ
ผูข้ อเอำประกันภัยด้วยตนเอง
29
11.หำกตัวแทนประกันชีวิต หรื อนำยหน้ำประกันชีวิตเป็ นผู ้
กรอกรำยละเอียดให้ตำมคำร้องขอของผูม้ ุ่งหวัง ตัวแทนประกันชีวิต หรื อ
นำยหน้ำประกันชีวิตจะต้องกรอกรำยละเอียดให้ถูกต้องตำมที่ได้รับ
ข้อมูลจำกผูม้ ุ่งหวัง หรื อจำกที่ตนทรำบข้อมูล ตัวแทนประกันชีวิต หรื อ
นำยหน้ำประกันชีวิตจะต้องอ่ำนรำยละเอียดใบคำขอเอำประกันภัยที่
กรอกข้อมูลครบถ้วนแล้ว ให้ผมู ้ ุ่งหวังฟังก่อนและให้ผมู ้ ุ่งหวังลงลำยมือ
ชื่อในฐำนะผูข้ อเอำประกันภัย
30
12. เมื่อได้รับชำระเบี้ยประกันภัย ตัวแทนประกันชีวิตจะต้องออก
เอกสำรแสดงกำรรับเงินของบริ ษทั ประกันชีวิตทุกครั้งที่มีกำรรับเบี้ย
ประกันภัยในนำมบริ ษทั
13. เมื่อได้รับคำขอเอำประกันภัยและรับเบี้ยประกันภัยจำกผูม้ ุ่งหวังแล้ว
ให้ตวั แทนประกันชีวิตส่ งมอบเอกสำรประกอบกำรเสนอขำยที่ลงรำยกำร
ครบถ้วนให้แก่ผมู ้ ุ่งหวังพร้อมเอกสำรกำรรับเงินของบริ ษทั ด้วย
31
14. นับแต่วนั ที่ผมู ้ ุ่งหวังส่ งมอบคำขอพร้อมเบี้ยประกันภัยให้แก่
ตัวแทนประกันชีวิต หรื อนำยหน้ำประกันชีวติ ตัวแทนประกันชีวิต หรื อ
นำยหน้ำประกันชีวิตจะต้องแจ้งระยะเวลำซึ่งผูม้ ุ่งหวังจะได้รับกรมธรรม์
ประกันภัยจำกบริ ษทั หรื อได้รับกำรติดต่อจำกบริ ษทั เกี่ยวกับกรมธรรม์
ประกันภัย
32
15. ตัวแทนประกันชีวิต หรื อนำยหน้ำประกันชีวิตจะต้องแจ้งให้
ผูม้ ุ่งหวังทรำบว่ำเมื่อผูม้ ุ่งหวังได้รับกรมธรรม์ประกันภัยแล้ว ผูม้ ุ่งหวังมี
สิ ทธิตรวจสอบเนื้อหำตำมกรมธรรม์ประกันภัย หำกไม่เป็ นที่พอใจ
ผูม้ ุ่งหวังมีสิทธิเลิกสัญญำภำยใน ๑๕ วันนับตั้งแต่วนั ที่ผเู ้ อำประกันภัย
ได้รับกรมธรรม์ประกันภัยจำกบริ ษทั หรื อมำกกว่ำ ๑๕ วัน ทั้งนี้ ขึ้นกับ
แนบกรมธรรม์ประกันภัยที่มีกำรเสนอขำย
33
ประเภทกรมธรรม์ ทเี่ สนอขาย
สิ ทธิเลิกสั ญญา
ผ่าน Tele marketing
30 วัน
ผ่านช่ องทางอืน่ ๆ
15 วัน
34
16. กำรเสนอขำยกรมธรรม์ประกันชีวิตควบกำรลงทุนผ่ำนตัวแทน
ประกันชีวิตหรื อนำยหน้ำประกันชีวติ บริ ษทั ต้องดำเนินกำรดังนี้
16.1 จัดกำรให้ตวั แทนประกันชีวิต หรื อนำยหน้ำประกันชีวิตผูเ้ สนอ
ขำย ได้รับใบอนุญำตเป็ นผูต้ ิดต่อกับผูล้ งทุนประเภท ก หรื อ ข ตำมกฎหมำยว่ำ
ด้วยหลักทรัพย์และตลำดหลักทรัพย์ และเป็ นผูผ้ ำ่ นกำรอบรมควำมรู ้เกี่ยวกับ
กรมธรรม์ประกันชีวิตควบกำรลงทุนตำมหลักสู ตรที่สำนักงำนประกำศกำหนด
และได้รับกำรขึ้นทะเบียนตำมหลักเกณฑ์ วิธีกำรและเงื่อนไขที่นำยทะเบียน
ประกำศกำหนด
35
16.2 จัดกำรให้ตวั แทนประกันชีวิต หรื อนำยหน้ำประกันชีวิตดังกล่ำว
ปฏิบตั ิหรื อละเว้นกำรปฏิบตั ิดงั ต่อไปนี้ดว้ ยเป็ นอย่ำงน้อย
(1) อธิบำยเกี่ยวกับกรมธรรม์ประกันภัยที่เสนอขำยโดยใช้เอกสำร
ประกอบกำรเสนอขำยกรมธรรม์ประกันภัยที่บริ ษทั จัดทำขึ้น ประกอบกับ
หนังสื อชี้ชวนซื้อหน่วยลงทุนที่เป็ นไปตำมข้อกำหนดของกฎหมำยว่ำด้วย
หลักทรัพย์และตลำดหลักทรัพย์
36
(2) ให้คำแนะนำตำมหลักวิชำกำรอันเป็ นที่ยอมรับ โดยมีควำมรู ้ ควำม
เข้ำใจเกี่ยวกับกองทุนรวมและมีเอกสำรหลักฐำนที่สำมำรถนำมำใช้อำ้ งอิงได้
(3) ให้คำแนะนำโดยอธิบำยให้ผเู ้ อำประกันภัยทรำบถึงลักษณะควำม
เสี่ ยงที่เกี่ยวข้องกับกำรประกันชีวิตควบกำรลงทุนและหน่วยลงทุนควบคู่
กรมธรรม์ประกันชีวิต
37
(4) ไม่นำข้อมูลของผูเ้ อำประกันภัยไปเปิ ดเผยต่อบุคคลอื่น
(5) ห้ำมมิให้ตวั แทนประกันชีวิต หรื อนำยหน้ำประกันชีวติ เรี ยกเก็บ
หรื อรับค่ำธรรมเนียม หรื อค่ำตอบแทนที่เกี่ยวกับกรมธรรม์ประกันชีวิตควบกำร
ลงทุนและหน่วยลงทุน ควบคู่กรมธรรม์ประกันชีวิตจำกผูเ้ อำประกันภัย
นอกเหนือจำกผูเ้ อำประกันภัยมีหน้ำที่ตอ้ งชำระตำมที่ระบุไว้ในกรมธรรม์
ประกันชีวิตควบกำรลงทุน หรื อตำมที่กำหนดไว้ในหนังสื อชี้ชวน
38
ประกำศนำยทะเบียน
เรื่ องหลักเกณฑ์ วิธีกำร และเงื่อนไข ในกำรขึ้นทะเบียนเป็ น
ตัวแทนและนำยหน้ำประกันชีวติ ขำยกรมธรรม์ประกันชีวติ
ควบกำรลงทุน (Unit-Linked Life Policy) พ.ศ.๒๕๕๑
39
1. “กรมธรรม์ประกันชีวิตควบกำรลงทุน” หมำยควำมว่ำ กรมธรรม์
ประกันชีวิตที่บริ ษทั ประกันชีวิตออกให้แก่ผเู ้ อำประกันภัย เพื่อเป็ นหลักฐำนว่ำ
ผูเ้ อำประกันภัยและบริ ษทั ประกันชีวิตได้มีกำรทำสัญญำประกันชีวิตควบกำร
ลงทุน โดยมีขอ้ ตกลงว่ำผูเ้ อำประกันภัยจะชำระเบี้ยประกันภัยในส่ วนของ
ควำมคุม้ ครองตำมสัญญำประกันชีวิต และรวมถึงเบี้ยประกันภัยในส่ วนของ
กำรลงทุนด้วย
40
คุณสมบัติและลักษณะต้ องห้ ามของตัวแทนประกันชีวติ หรือนายหน้ า
ประกันชีวติ ขายกรมธรรม์ ประกันชีวติ ควบการลงทุน
2. ห้ำมมิให้ผใู้ ดขำยกรมธรรม์ประกันชีวิตควบกำรลงทุน เว้น
แต่เป็ นผูไ้ ด้รับกำรขึ้นทะเบียนเป็ นตัวแทนประกันชีวิต หรื อนำยหน้ำประกันชีวิต
3. ผูข้ อควำมเห็นชอบเป็ นตัวแทนประกันชีวิต หรื อนำยหน้ำ
ประกันชีวิตขำยกรมธรรม์ประกันชีวิตควบกำรลงทุนต้องมีคุณสมบัติ
ดังต่อไปนี้
3.1 เป็ นผูไ้ ด้รับใบอนุญำตตัวแทนประกันชีวิต หรื อนำยหน้ำประกัน
ชีวิต และได้รับอนุญำตให้ขำยกรมธรรม์ประกันชีวิตควบกำรลงทุนของบริ ษทั
41
3.2 เป็ นผูไ้ ด้รับควำมเห็นชอบตำมประกำศคณะกรรมกำรกำกับ
หลักทรัพย์และตลำดหลักทรัพย์ ให้เป็ นผูต้ ิดต่อกับผูล้ งทุนประเภท ก. หรื อ ข.
3.3 เป็ นผูผ้ ำ่ นกำรอบรมควำมรู ้เกี่ยวกับกรมธรรม์ประกันชีวิตควบกำร
ลงทุน ตำมหลักสู ตรที่นำยทะเบียนให้ควำมเห็นชอบ
42
4. ผู้ขอรับความเห็นชอบเป็ นตัวแทนประกันชีวิต หรือนายหน้ าประกันชีวติ
ขายกรมธรรม์ ประกันชีวติ ควบการลงทุน นอกจากต้ องมีคุณสมบัติตามข้ อ ๗ แล้ว ต้ อง
ไม่ มีลกั ษณะต้ องห้ าม ดังต่ อไปนีด้ ้ วย
4.1 ต้ องไม่ มีประวัติการกระทาความผิดเกีย่ วกับการปฏิบัติงานที่มีลกั ษณะ
เป็ นการหลอกลวง ฉ้ อฉล หรือทุจริต ตามกฎหมายว่ าด้ วยหลักทรัพย์ และตลาด
หลักทรัพย์ กฎหมายว่ าด้ วยการประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ และธุรกิจ
เครดิตฟองซิเอร์ กฎหมายว่ าด้ วยธนาคารพาณิชย์ กฎหมายว่ าด้ วยการประกันชี วิต
กฎหมายว่ าด้ วยการประกันวินาศภัย หรือกฎหมายอืน่ ทีเ่ กีย่ วกับธุรกิจทางการเงิน
ไม่ ว่าจะเป็ นกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่ างประเทศ ภายในระยะเวลา ๓ ปี ก่อนวันที่
ยืน่ คาขอรับความเห็นชอบ
43
4.2 ต้องไม่เคยถูกสำนักงำนคณะกรรมกำรกำกับหลักทรัพย์และตลำด
หลักทรัพย์เพิกถอนกำรปฏิบตั ิงำนใดๆ ที่เกี่ยวกับธุรกิจหลักทรัพย์ตำมที่ได้รับ
ควำมเห็นชอบกำรขึ้นทะเบียน หรื อกำรอนุญำตใดๆ ภำยในระยะเวลำ ๓ ปี
ก่อนวันที่ยนื่ คำขอรับควำมเห็นชอบ
4.3 ต้องไม่มีประวัติกำรกระทำควำมผิดตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรต่อต้ำน
กำรฟอกเงินและกำรอุดหนุนทำงกำรเงินแก่ผกู ้ ่อกำรร้ำย ไม่วำ่ จะเป็ นกฎหมำย
ไทยหรื อกฎหมำยต่ำงประเทศ
44
4.4 ต้องไม่มีประวัติดงั ต่อไปนี้ภำยในระยะเวลำ ๓ ปี ก่อนวันที่ยนื่
ขอรับควำมเห็นชอบ
4.4.1 เคยได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพำกษำถึงที่สุดให้จำคุกในควำมผิด
เกี่ยวกับทรัพย์ที่กระทำโดยทุจริ ต
4.4.2 เคยต้องคำพิพำกษำหรื อถูกเปรี ยบเทียบปรับเนื่องจำกกำรกระทำ
โดยทุจริ ต
4.4.3 เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรื อให้ออกจำกงำน อันเนื่องจำกกำร
กระทำโดยทุจริ ต
45
4.4.4 เคยมีกำรทำงำนที่มีลกั ษณะอันเป็ นกำรหลอกลวงหรื อ
ไม่ซื่อสัตย์สุจริ ต หรื อแสดงถึงกำรขำดควำมรับผิดชอบ ไม่ระมัดระวังรักษำ
ผลประโยชน์ของลูกค้ำ หรื อขำดควำมรอบคอบ หรื อสะท้อนถึงกำรทำงำนที่ไม่
เป็ นธรรมหรื อไม่น่ำเชื่อถือ
4.4.5 เคยถูกนำยทะเบียนเพิกถอนใบอนุญำตเป็ นตัวแทนประกันชีวิต
หรื อนำยหน้ำประกันชีวิต
46
ประกาศ คปภ. เรื่องหลักเกณฑ์ วิธีการ และ
เงื่อนปข ในการขึน้ ทะเบียนเป็ นตัวแทน และ
นายหน้ าขายกรมธรรม์ประกันชีวิตแบบ
ยูนิเวอร์แซลปลฟ์ (Universal Life Insurance)
พ.ศ.๒๕๕๒
47
1.“กรมธรรม์ประกันชีวิตแบบยูนิเวอร์แซลไลฟ์ ” หมำยควำมว่ำ
กรมธรรม์ประกันชีวิตที่บริ ษทั ประกันชีวิตออกให้แก่ผเู ้ อำประกันภัย เพื่อเป็ น
หลักฐำนว่ำผูเ้ อำประกันภัยและบริ ษทั ประกันชีวิตได้มีกำรทำสัญญำประกันชีวิต
โดยมีขอ้ ตกลงว่ำผูเ้ อำประกันภัยจะชำระเบี้ยประกันภัยที่ระบุในสัญญำ รวมถึง
เบี้ยประกันภัยในส่ วนที่เป็ นเงินออม (top-up) และบริ ษทั จะหักค่ำธรรมเนียม
ต่ำงๆ และค่ำควำมคุม้ ครองต่อกำรมรณกรรมจำกกรมธรรม์หรื อควำมคุม้ ครอง
อื่นๆ และจะจ่ำยผลตอบแทนเป็ นครำวๆ (Crediting interest) ตำมที่ระบุใน
เอกสำรประกอบกำรเสนอขำย โดยมีกำรรับประกันผลตอบแทนขั้นต่ำ
48
คุณสมบัติและลักษณะต้ องห้ ามของตัวแทนประกันชีวติ หรือนายหน้ า
ประกันชีวติ ขายกรมธรรม์ ประกันชีวติ แบบยูนิเวอร์ แซลไลฟ์
2. ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดขายกรมธรรม์ ประกันชีวติ แบบยูนิเวอร์ แซลไลฟ์ เว้ น
แต่ เป็ นผู้ได้ รับการขึน้ ทะเบียนเป็ นตัวแทนประกันชีวิตหรือนายหน้ าประกันชีวิต
ขายกรมธรรม์ ประกันชีวติ แบบยูนิเวอร์ แซลไลฟ์
3. ผู้ขอความเห็นชอบเป็ นตัวแทนประกันชีวิตหรือนายหน้ าประกัน
ชีวติ ขายกรมธรรม์ ประกันชีวิตแบบยูนิเวอร์ แซลไลฟ์ ต้ องมีคุณสมบัติดังต่ อไปนี้
3.1 เป็ นผู้ได้ รับใบอนุญาตตัวแทนประกันชีวิตหรือนายหน้ าประกัน
ชีวติ ไม่ น้อยกว่ า 6 เดือน
49
3.2 เป็ นผูข้ ำยประกันชีวิตแบบรำยบุคคลรำยใหม่ ประเภทสำมัญหรื อ
ประเภทอุตสำหกรรม ไม่ต่ำกว่ำสิ บห้ำรำย หรื อจำนวนเงินเอำประกันภัยไม่ต่ำกว่ำ
สองล้ำนบำท ทั้งนี้ไม่รวมกำรประกันภัยกลุ่มและกำรประกันภัยแบบชำระเบี้ย
ประกันภัยครั้งเดียว
3.3 เป็ นผูผ้ ำ่ นกำรอบรมควำมรู ้พ้นื ฐำนเกี่ยวกับกรมธรรม์ประกันชีวิต
แบบยูนิเวอร์แซลไลฟ์ ตำมหลักสู ตรที่นำยทะเบียนให้ควำมเห็นชอบ ไม่เกินสอง
ปี ก่อนวันขอขึ้นทะเบียน
50
4. ผู้ขอรับความเห็นชอบเป็ นตัวแทนประกันชีวิตหรือนายหน้ าประกันชีวติ
ขายกรมธรรม์ ประกันชีวติ แบบยูนิเวอร์ แซลไลฟ์ ต้ องไม่ มลี กั ษณะต้ องห้ าม
ดังต่ อไปนี้
4.1 ต้ องไม่ มีประวัติการกระทาความผิดเกีย่ วกับการปฏิบัติงานทีม่ ีลกั ษณะ
เป็ นการหลอกลวง ฉ้ อฉล หรือทุจริต ตามกฎหมายว่ าด้ วยหลักทรัพย์ และตลาด
หลักทรัพย์ กฎหมายว่ าด้ วยการประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ และธุรกิจ
เครดิตฟองซิเอร์ กฎหมายว่ าด้ วยธนาคารพาณิชย์ กฎหมายว่ าด้ วยการประกันชีวิต
กฎหมายว่ าด้ วยการประกันวินาศภัย หรือกฎหมายอืน่ ทีเ่ กีย่ วกับธุรกิจทางการเงิน
ไม่ ว่าจะเป็ นกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่ างประเทศ ภายในระยะเวลา ๓ ปี ก่อนวันที่
ยืน่ คาขอรับความเห็นชอบ
51
4.2 ต้องไม่มีประวัติกำรกระทำควำมผิดตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรต่อต้ำน
กำรฟอกเงินและกำรอุดหนุนทำงกำรเงินแก่ผกู ้ ่อกำรร้ำย
ไม่วำ่ จะเป็ นกฎหมำยไทยหรื อกฎหมำยต่ำงประเทศ
4.3 ต้องไม่มีประวัติดงั ต่อไปนี้ภำยในระยะเวลำ ๓ ปี ก่อนวันที่ยนื่
ขอรับควำมเห็นชอบ
4.3.1 เคยต้องคำพิพำกษำหรื อถูกเปรี ยบเทียบปรับเนื่องจำกกำรกระทำ
โดยทุจริ ต
52
4.3.2 เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรื อให้ออกจำกงำน อัน
เนื่องจำกกำรกระทำโดยทุจริ ต
4.3.3 เคยมีกำรทำงำนที่มีลกั ษณะอันเป็ นกำรหลอกลวงหรื อ
ไม่ซื่อสัตย์สุจริ ต หรื อแสดงถึงกำรขำดควำมรับผิดชอบ ไม่ระมัดระวัง
รักษำผลประโยชน์ของลูกค้ำ หรื อขำดควำมรอบคอบ หรื อสะท้อนถึง
กำรทำงำนที่ไม่เป็ นธรรมหรื อไม่น่ำเชื่อถือ
53