รูปแบบการเรียนการสอน:ทางเลือกที่หลากหลาย

Download Report

Transcript รูปแบบการเรียนการสอน:ทางเลือกที่หลากหลาย

การพัฒ นาผลสั มฤทธิ์ ทางการเรี ย นรายวิช าวิท ยาศาสตร์ พื้นฐานของ
นั กเรี ย นระดับชั้ น ปวช.1/4 สาขาวิช าเกษตรศาสตร์ สาขางานสั ต ว
ศาสตร์ โดยใช้ รูป แบบการจัด การเรี ย นรู้ CIPPA Model
วิทยาลัย เกษตรและเทคโนโลยีพะเยา
จั ด ทาโดย:วิ ล าวรรณ์ วงศ์ ขั ติ ย์
รหั ส นั ก ศึ ก ษา 542132032
สาขาการจั ด การความรู้
วิ ท ยาศาสตร์ มี บ ทบาทสาคัญ ยิ่ ง ในสั ง คมโลกยุค ปั จ จุ บ ัน และอนาคต
เพราะวิ ท ยาศาสตร์ เ กี่ ย วข้อ งกับ ชี วิ ต ของทุ ก คน ทั้ง ในการดารงชี วิต ประจาวัน
และในงานอาชี พ ต่ า งๆ เครื่ อ งมื อ เครื่ อ งใช้ต ลอดจนผลผลิ ต ต่ า งๆ ใช้เ พื่ อ อานวย
ความสะดวกในชี วิ ต และในการทางาน
ล้ว นเป็ นผลของความรู ้ วิ ท ยาศาสตร์
ผสมผสานกับ ความคิ ด สร้ า งสรรค์ และศาสตร์ อื่ น ๆ ความรู้ ท างวิ ท ยาศาสตร์ ช่ ว ย
ให้ เ กิ ด การพัฒ นาเทคโนโลยี อ ย่า งมาก ซึ่ งวิ ท ยาศาสตร์ ทาให้ค นได้พ ัฒ นาวิ ธี คิ ด
ทั้ง ความคิ ด เป็ นเหตุ เ ป็ นผล คิ ด สร้ า งสรรค์ คิ ด วิ เ คราะห์ วิ จ ารณ์ มี ท ัก ษะที่ สาคัญ
ในการค้น คว้า หาความรู้ มี ค วามสามารถแก้ไ ขปั ญ หาอย่า งเป็ นระบบ สามารถ
ตัด สิ น ใจโดยใช้ข ้อ มู ล หลากหลายและประจัก ษ์พ ยานที่ ต รวจสอบได้
วิ ท ยาศาสตร์ เ ป็ นวัฒ นธรรมของโลกสมัย ใหม่ ซ่ ึ งเป็ นสั ง คมแห่ ง ความรู ้
(knowledge based society) เพื่ อ ให้มี ค วามรู้ ความเข้า ใจ กลไกธรรมชาติ แ ละ
เทคโนโลยีที่ ม นุ ษ ย์ส ร้ า งสรรค์ข้ ึ น และนาความรู ้ ไ ปใช้อ ย่า งมี เ หตุ ผ ล สร้ า งสรรค์
มี คุ ณ ธรรม (กรมวิ ช าการ. 2544: 18 อ้า งถึ ง ในรชาดา บัว ไพร.2552)
ในการเรี ย นการสอนวิ ทยาศาสตร์ ผูเ้ รี ย นควรได้รับการพั ฒนา
และสร้ างความเข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เ ป็ นทั้ง ความรู ้ แ ละกระบวนการ
สื บเสาะหาความรู ้ ผูเ้ รี ย นทุ ก คนควรได้รับการกระตุ น้ ส่ งเสริ มให้สนใจ
และกระตื อรื อร้ น ที่ จ ะเรี ย นรู ้ วิทยาศาสตร์ มี ความมุ่ งมัน่ ที่ จ ะศึ กษา
ค้นคว้าสื บเสาะหาความรู ้ เพื่อ รวบรวมข้อมู ล วิ เคราะห์ ผลนาไปสู่
คาตอบของคาถาม สามารถตัด สิ น ใจด้ว ยการใช้ข อ้ มู ล อย่า งมี เ หตุ ผ ล
สามารถสื่ อ สารคาถามคาตอบ ข้อมูลและสิ่ งที่ ค น้ พบจากการเรี ย นรู ้ ให้
ผูอ้ ื่ น เข้าใจได้( อาภรณ์ ล้อ สังวาลย์.2545)
ตลอดจนใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรี ย นรู ้ แ ละสื่ อ สารซึ่ งจะ
ส่ งผลให้ผูเ้ รี ย นมี ความเข้าใจ สามารถเชื่ อ มโยงองค์ป ระกอบทั้ง หมด
แบบองค์รวม สร้ างความรู ้ เป็ นของตนเองเพื่อให้ผูเ้ รี ยนมี
ความสามารถในการคิ ด อย่า งมี เ หตุ ผ ล สร้ างสรรค์สิ่ งต่ า งๆโดยอาศัย
ความรู ้ วิทยาศาสตร์ จิ น ตนาการและศาสตร์ อื่น ๆร่ ว มด้ว ยสามารถ
ตัด สิ น ใจอย่างมี เ หตุ ผ ล สามารถนาความรู ้ ไ ปใช้ป ระโยชน์ใ นการ
พัฒนาคุ ณ ภาพชี วิ ต (อาภรณ์ ล้อ สังวาลย์.2545)
การจัดการศึ กษาวิ ทยาศาสตร์ สาหรั บหลัก สู ต รการอาชี ว ศึ กษา
ระดับประกาศนี ย บัตรวิช าชี พ มุ่ งหวังให้ผูเ้ รี ย นได้เ รี ย นรู ้ วิ ทยาศาสตร์ ที่
เน้น กระบวนการไปสู่ ก ารสร้ า งองค์ค วามรู ้ เ พื่ อให้ก ารศึ ก ษา
วิทยาศาสตร์ บรรลุ ผ ลตามที่ มุ่ ง หวังไว้( อาภรณ์ ล้อ สังวาลย์.2545)
ในการจัดการเรี ย นการสอนวิ ทยาศาสตร์ สามารถจัดได้หลาย
รู ปแบบโดยทุ ก รู ปแบบมี จุ ด มุ่ งหมายเดี ย วกัน คื อ มุ่ งหวัง ให้มีการ
เตรี ย มการสอนอย่า งมี ป ระสิ ทธิ ภ าพ การจัด ระบบการเรี ย นการสอนจะ
ช่ ว ยให้ครู มีความเข้าใจความเกี่ ย วเนื่ อ งของระบบการสอนโดยตลอด
จึ งทาให้รู้วิธีการจัดประสบการณ์ ก ารเรี ย น
ที่ ส่งผลให้ผูเ้ รี ย นเกิ ด การเรี ย นรู ้ อย่า งแท้จ ริ ง สามารถเปลี่ ย นแปลง
พฤติ ก รรมการเรี ย นรู ้ ของนัก เรี ย นได้ง่ ายขึ้ น โดยเฉพาะผลสัม ฤทธิ์
ทางการเรี ย นจะส่ งเสริ มให้นัก เรี ย นเข้าใจวัตถุ ป ระสงค์แ ละขอบเขต
เนื้ อหาของการเรี ย นโดยได้รับ รู ้ พ ฒ
ั นาการ การเรี ย นรู ้ ของตนเองจึ งทา
ให้มีความกระตื อรื อ ร้ น ที่ จ ะปรั บปรุ งตนเองตลอดเวลา ส่ งผลให้ผล
สัมฤทธิ์ ทางการเรี ย นสู งขึ้ น (กรมวิ ชาการ. 2545 ข:98 อ้างถึ งใน จานง
ทองช่ ว ย:2551)
ซึ่ งเป็ นหลัก ในการจัด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ ต่า งๆให้แ ก่ ผูเ้ รี ย น การจัด
กระบวนการเรี ยนการสอนตามหลัก CIPPA นี้ สามารถใช้วิธีก ารและ
กระบวนการที่ หลากหลาย ได้มีก ารนาไปทดลองใช้แล้ว ได้ผ ลดี
ประกอบด้ว ยขั้น ตอนการดาเนิ น การ 7 ขั้น ตอนดังนี้
(ทิ ศนา แขมมณี .2552:86-88)
ขั้น ที่ 1 การทบทวนความรู ้ เ ดิ ม
ขั้น นี้ เป็ นการดึ งความรู ้ เ ดิ ม ของผูเ้ รี ย นในเรื่ อ งที่ จ ะเรี ยนเพื่ อ
ช่ ว ยให้ผูเ้ รี ย นมี ความพร้ อ มในการเชื่ อ มโยงความรู ้ ใ หม่ กับ ความรู ้ เดิ ม
ของตนซึ่ งผูส้ อนอาจใช้วิธี ก ารอย่า งหลากหลาย
ขั้น นี้ เป็ นการแสวงหาข้อมู ล ความรู ้ ใ หม่ ข องผูเ้ รี ย นจาก
แหล่ งข้อมูลหรื อ แหล่ ง ความรู ้ ต่า งๆซึ่ งครู อาจจัด เตรี ย มมาให้กับผูเ้ รี ย น
หรื อให้คาแนะนาเกี่ ย วกับแหล่ งข้อ มูล ต่ า งๆเพื่ อให้ผูเ้ รี ย นไปแสวงหาก็
ได้
ขั้น ที่ 3 การศึ ก ษาทาความเข้าใจข้อ มู ล ความรู ้ ใ หม่ และเชื่ อมโยง
ความรู ้ ใ หม่ กับความรู ้ เ ดิ ม
ขั้น นี้ เป็ นขั้น ที่ ผูเ้ รี ย นจะต้อ งศึ ก ษาและทาความเข้าใจกับข้อมูล
ความรู ้ ที่หามาได้ ผูเ้ รี ย นจะต้องสร้ า งความหมายของข้อ มู ล
ประสบการณ์ ใ หม่ ๆ โดยใช้ก ระบวนการต่ า งๆด้ว ยตนเอง เช่ น ใช้
กระบวนการคิ ด และกระบวนการกลุ่ มในการอภิ ป รายและสรุ ป ความ
เข้าใจเกี่ ย วกับข้อมูลนั้น ๆซึ่ งจาเป็ นต้องอาศัย ความรู ้ เดิ ม
ขั้น นี้ เป็ นขั้น ที่ ผูเ้ รี ย นอาศัย กลุ่ มเป็ นเครื่ องมื อในการตรวจสอบ
ความรู ้ ความเข้าใจของตน รวมทั้งขยายความรู ้ ความเข้าใจของตนให้
กว้างขึ้ น ซึ่ งจะช่ ว ยให้ผูเ้ รี ย นได้แ บ่ งปั น ความรู ความเข้าใจของตนแก่
ผูอ้ ื่ น
ขั้น ที่ 5 การสรุ ปจัดระเบี ย บความรู ้ แ ละวิ เคราะห์ ก ระบวนการเรี ย นรู ้
ขั้น นี้ เป็ นขั้น ของการสรุ ป ความรู ้ ที่ไ ด้รับทั้งหมดทั้งความรู ้ เ ดิ ม
และความรู ้ ใ หม่ แ ละจัด สิ่ งที่ เ รี ย นให้เ ป็ นระบบระเบี ย บเพื่ อช่ ว ยให้
ผูเ้ รี ย นจดจาสิ่ งที่ เ รี ย นรู ้ ไ ด้ง่ ายรวมทั้งวิเ คราะห์ ก ารเรี ย นรู ้ ท้ งั หลายที่
เกิ ด ขึ้ น
จะเป็ นขั้น ที่ ช่ ว ยให้ผูเ้ รี ย น ได้มีโ อกาสแสดงผลงานการสร้ าง
ความรู ้ ข องตนให้ผูอ้ ื่ น รั บ รู ้ เ ป็ นการช่ ว ยให้ผูเ้ รี ย นได้ตรวจสอบความ
เข้าใจของตนและช่ ว ยส่ งเสริ มให้ผูเ้ รี ย นใช้ความคิ ด สร้ างสรรค์
ขั้น ที่ 7 การประยุกต์ใช้ความรู ้
ขั้น นี้ เป็ นขั้น ของการส่ ง เสริ มให้ผูเ้ รี ย นได้ฝึกฝนการนาความรู ้
ความเข้าใจของตนไปใช้ใ นสถานการณ์ ต่า งๆที่ ห ลากหลายเพื่อเพิ่ ม
ความชานาญ ความเข้าใจ ความสามารถในการแก้ปัญหาและความจา
ในเรื่ องนั้น ๆ
หมายถึ ง รู ปแบบการจัด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ ที่มุ่ งเน้นให้ผูเ้ รี ย น
ได้มีส่ว นร่ ว มในกิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ โดยการฝึ กคิ ด ฝึ กค้น คว้ารวบรวม
ข้อมูลและสร้ า งสรรค์ความรู ้ ด้ว ยตนเอง ตลอดจนฝึ กตนเองให้มี วินัย
และรั บผิดชอบในการทางาน (ทิ ศนา แขมณี . 2542 : 14-15 อ้างถึ ง
ในกัสมัสห์ อาแด.2548)
C ย่อมาจาก construct คื อ การให้ผูเ้ รี ย นสร้ า งองค์ค วามรู ้ ด้วย
ตนเอง โดยการศึ กษาค้น คว้าหาข้อ มูล ทาความเข้าใจ คิ ดวิ เคราะห์
แปลความ ตี ความ สร้ างความหมาย สังเคราะห์ ข อ้ มูล และสรุ ปเป็ น
ข้อความรู ้
คื อ การให้ผูเ้ รี ย นได้มีปฏิ สัมพัน ธ์ต่ อกัน แลกเปลี่ ย น และเรี ย นรู ้
ข้อมูล ความคิ ด ประสบการณ์ ซ่ ึ งกัน และกัน
P ย่อมาจาก participation คื อ การให้ผูเ้ รี ย นมี ส่ว นร่ ว มทั้งในด้าน
ร่ างกาย อารมณ์ ปั ญญาและสัง คม ในการเรี ย นรู ้ ใ ห้มากที่ สุด
P ย่อมาจาก process and product คื อ การให้ผูเ้ รี ย นได้เรี ย นรู ้
กระบวนการ และมี ผลงานจากการเรี ย นรู ้
A ย่อมาจาก application คื อ การให้ผูเ้ รี ย นนาความรู ้ ที่ ได้ไป
ประยุก ต์หรื อใช้ในชี วิตประจาวัน
ที่ ผ่านมาพบว่าผลสัมฤทธิ์ ทางด้านการเรี ย นของนัก เรี ย นอยู่ใ น
เกณฑ์ต่าทั้งนี้ อาจเป็ นเพราะว่านัก เรี ย นส่ ว นใหญ่ ย งั ขาดความสนใจใน
กิ จ กรรมการเรี ย นการสอน มี ความกระตื อ รื อ ร้ น น้อ ย
มองไม่ เ ห็ น
ความสัมพัน ธ์ของเนื้ อหา ขาดทัก ษะการคิ ด และทัก ษะกระบวนการ
กลุ่ ม ส่ งผลให้นัก เรี ย นส่ ว นมากมี ผ ลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นต่า และมี
ปั ญหาทางการสื่ อ สารทั้งนี้ เพราะนัก เรี ย นวิทยาลัย เกษตรและ
เทคโนโลยีพ ะเยามี ท้ งั นัก เรี ย นปกติ แ ละนัก เรี ย นชนเผ่า
จากเหตุ ผ ล
ดังกล่ าวผูว้ ิจ ัย จึ งมี ความสนใจที่ จ ะศึ ก ษาว่านัก เรี ย นที่ มี ผลสัม ฤทธิ์
ทางการเรี ย นรายวิ ช าวิทยาศาสตร์ ต่านั้น ถ้ามี ก ารนารู ปแบบการจัดการ
ความรู ้ แ บบ CIPPA Model มาทดลองปรั บใช้กับนัก เรี ย นจะได้
หรื อไม่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ย นรายวิช าวิทยาศาสตร์ พ้ืน ฐานของ
นัก เรี ย นระดับชั้น ปวช.1/4ให้ดี ข้ ึ น นั้น จะใช้รูปแบบการจัดการเรี ย นรู ้
CIPPA Model ได้ห รื อไม่ อย่างไร
โจทย์ รอง:
1.วิ ธี ก ารจัด การเรี ย นรู้ ที่ ต ัว นัก เรี ย นจะทาอย่ า งไร ในรู ป แบบการจัด การเรี ยนรู ้ CIPPA
Model
2.รู ป แบบการจัด การเรี ย นรู้ CIPPA Model จะสามารถแก้ปั ญ หาผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย น
รายวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ พ้ื น ฐานได้ม ากน้ อ ยแค่ ไ หน
3.นัก เรี ย นมี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นรายวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ พ้ื น ฐานต่า เป็ นเพราะสาเหตุ ใ ด
3.1เพื่อเปรี ย บเที ย บผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ย นรายวิช า
วิทยาศาสตร์ พ้ืน ฐานของนัก เรี ย นระดับชั้น ปวช.1/4 ก่ อนและหลังเรี ย น
โดยใช้รูปแบบการจัดการเรี ย นรู ้ CIPPA Model
3.2เพื่อพัฒนานัก เรี ย นให้มี ผ ลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นรายวิ ช า
วิทยาศาสตร์ พ้ืน ฐานอยู่ใ นเกณฑ์ที่ สู งขึ้ น หลังการใช้รู ป แบบการจัดการ
เรี ย นรู ้ CIPPA Model
4.1นัก เรี ย นมี ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ย นรายวิช าวิทยาศาสตร์
พื้น ฐานอยู่ใ นเกณฑ์ที่สูงขึ้ น
4.2นัก เรี ย นเกิ ด ทัก ษะกระบวนการในการคิ ด และสร้ างองค์
ความรู ้ ด้ว ยตนเองได้ดี ข้ ึ น รวมทั้งมี เ จตคติ ที่ดี ต่อวิช าวิ ทยาศาสตร์
4.3เป็ นแนวทางในการแก้ปั ญหาที่ ต ัว นัก เรี ย นให้เ รี ย นวิ ชา
วิทยาศาสตร์ พ้ืน ฐานได้ดี ข้ ึ น รวมถึ งทาให้ท ราบพฤติ ก รรมต่ า งๆของ
นัก เรี ย นได้ดี ข้ ึ น
อ.พุ ท ธวรรณ ขัน ต้น ธง.หลั ก การการวิ จั ย การจั ด การความรู้ .วิ ท ยาลัย ศิ ล ปะ สื่ อ และเทคโนโลยี
มหาวิ ท ยาลัย เชี ย งใหม่ . 2554.
ทิ ศ นา แขมมณี . รู ป แบบการเรี ย นการสอน:ทางเลื อ กที่ ห ลากหลาย.กรุ ง เทพฯ:สานั ก พิ ม พ์จุ ฬ าลงกรณ์
มหาวิ ท ยาลัย ,2552.
รชาดา บัว ไพร.การจั ด การเรี ย นการสอนโดยใช้ รู ป แบบการเรี ย นการสอนแบบโมเดลซิ ป ปาที่ มี ต่ อ ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการ
เรี ย นและเจตคติ ท างวิ ท ยาศาสตร์ ของนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 1.สารนิ พ นธ์ ก ารศึ ก ษามหาบัณ ฑิ ต
มหาวิ ท ยาลัย ศรี น คริ น ทรวิ โ รฒ,2552.
จานง ทองช่ ว ย พู น สุ ข อุ ด มและอานอบ คัน ฑะชา.การศึ ก ษาผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นวิ ท ยาศาสตร์ และเจตคติ ทาง
วิ ท ยาศาสตร์ โดยใช้ การสอนรู ป แบบซิ ป ปาร่ วมกั บ เทคนิ ค การใช้ คาถามของนั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่
6.วิ ท ยานิ พ นธ์ สาขาวิ ช าหลัก สู ต รและการสอน มหาวิ ท ยาลัย ทัก ษิ ณ ,2551.
กัส มัส ห์ อาแด.ศึ ก ษาการสร้ างชุ ด การเรี ย นการสอนโดยใช้ รู ป แบบการจั ด การเรี ย นรู้ แบบ CIPPA MODEL เรื่ อ ง
ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งรู ป เรขาคณิ ต 2 มิ ติ แ ละ 3 มิ ติ สาหรั บ นั ก เรี ย นมั ธ ยมศึ ก ษาชั้ น ปี ที่ 1.วิ ท ยานิ พ นธ์
การศึ ก ษามหาบัณ ฑิ ต มหาวิ ท ยาลัย ทัก ษิ ณ ,2548.
อาภรณ์ ล้อ สั ง วาลย์. วิ ท ยาศาสตร์ พื้น ฐาน.กรุ งเทพฯ:สาพัฒ นาวิ ช าการ(2535)จากัด ,2545.
ขอบคุณค่ ะ