การจัดการความรู้ Knowledge Management.

Download Report

Transcript การจัดการความรู้ Knowledge Management.

ผลการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับงานวิจยั
เรื่อง การพัฒนาผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์
พืน้ ฐานด้ วยรู ปแบบการจัดการเรียนรู้ CIPPA MODEL
จัดทาโดย วิลาวรรณ์ วงศ์ ขตั ิย์
รหัสนักศึกษา 542132032
สาขาวิชา การจัดกาความรู้
สรุปแนวคิด ทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้ อง และการทบทวนวรรณกรรม
สรุปรูปแบบการจัดการเรียนรู้ CIPPA MODEL เกีย่ วข้ องอย่ างไรกับ KM
รู ปแบบการจัดการเรี ยนรู ้ CIPPA MODEL เป็ นรู ปแบบการจัดการ
เรี ยนรู ้ที่เปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนได้มีส่วนร่ วมอย่างกระตือรื อร้นโดยใช้
กระบวนการต่างๆที่จาเป็ นต่อการดารงชีวิต เช่น กระบวนการคิด
กระบวนการแสวงหาความรู ้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการแก้ปัญหา จน
สามารถสร้างความรู ้ได้ดว้ ยตนเองและสามารถนาความรู ้ไปประยุกต์ใช้ได้ซ่ ึง
ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบ CIPPA MODEL มีท้ งั หมด 7 ขั้นตอน
ดังต่อไปนี้
1.ขั้นทบทวนความรู้ เดิม
แนวทางการจัดกิจกรรม
ให้ผเู้ รี ยนได้แสดงประสบการณ์เดิมหรื อความรู้เดิมโดยวิธีสนทนาซักถาม ให้เล่า
ประสบการณ์หรื อแสดงความรู้เดิมออกเป็ นแผนภูมิโครงสร้างความรู้หรื อโดยวิธีอื่น
2.ขั้นแสวงหาความรู้ ใหม่
แนวทางการจัดกิจกรรม
ให้ผเู ้ รี ยนได้คน้ คว้าหาความรู ้ใหม่โดยศึกษาจากเอกสาร จากแหล่งความรู้ จาก
บุคคลผูร้ ู ้ จากสื่ อการเรี ยนรู ้ต่างๆ เช่น วีดีทศั น์
3.ขั้นทาความเข้ าใจข้ อมูล / ความรู้ ใหม่
แนวทางการจัดกิจกรรม
ให้ผเู ้ รี ยนได้ทาความเข้าใจความรู ้ใหม่แล้วเชื่อมโยงกับความรู ้เดิม โดยผ่าน
กระบวนการเรี ยนรู ้ต่างๆ เช่น กระบวนการคิด กระบวนการกลุ่ม กระบวนการแสวงหา
ความรู ้ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการสร้างค่านิยม เป็ นต้น
4.ขั้นแลกเปลีย่ นความรู้ ความเข้ าใจกับกลุ่ม
แนวทางการจัดกิจกรรม
ให้ผเู ้ รี ยนได้แลกเปลี่ยนความรู ้ความเข้าใจซึ่ งกันและกันและให้กลุ่มช่วยกัน
ตรวจสอบความรู ้ความเข้าใจระหว่างกัน
5.ขั้นสรุปและจัดระเบียบความรู้
แนวทางการจัดกิจกรรม
ให้ผเู ้ รี ยนสรุ ปประเด็นสาคัญทั้งความรู ้เดิมและความรู ้ใหม่โดยจัดระเบียบความรู้
ให้ง่ายแก่การจดจา เช่น อาจเขียนสรุ ปในลักษณะโครงสร้างความรู ้ เช่น แผนผัง
ความคิด(Mind Mapping) แผนผังใยแมงมุม(Web)แผนผังก้างปลา(The Fish Bone)เป็ น
ต้น
6.ขั้นปฏิบัติและ/หรือแสดงผลงาน
แนวทางการจัดกิจกรรม
ให้ผเู้ รี ยนลงมือปฏิบตั ิสร้างผลงานของตนขึ้นแล้วนาเสนอผลงานของตนโดยวิธีต่างๆ เช่น
จัดนิทรรศการ จัดอภิปราย แสดงบทบาทสมมติ เขียนเรี ยงความ วาดภาพ แต่งคาประพันธ์ เป็ นต้น
เป็ นการส่ งเสริ มความคิดสร้างสรรค์ และเป็ นการเปิ ดโอกาสให้ผอู้ ื่นได้รับรู้และตรวจสอบความรู้ ความ
เข้าใจของตน มีการประเมินผลงานโดยใช้เกณฑ์ที่เหมาะสม ทาให้ผเู้ รี ยนได้รับข้อมูลย้อนกลับจากผูอ้ ื่น
7.ขั้นประยุกต์ ใช้ ความรู้
แนวทางการจัดกิจกรรม
ให้ผเู ้ รี ยนได้ฝึกฝนการนาความรู ้ไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆเพื่อเพิ่มความ
ชานาญ ความเข้าใจ ความสามารถในการแก้ปัญหาและความจาในเรื่ องนั้นๆ
จากแนวการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนในรู ปแบบ CIPPA MODEL ที่
กล่าวมาแล้วข้างต้นจะเห็นได้วา่ รู ปแบบการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้มีความเกี่ยวข้องและ
สอดคล้องกับการจัดการความรู ้ที่สานักงานคณะกรรมการการพัฒนาระบบราชการ
(2552) กล่าวว่า กระบวนการจัดการความรู ้เป็ นกระบวนการหนึ่ งที่จะทาให้เข้าใจ
ขั้นตอนที่ทาให้เกิดกระบวนการจัดการความรู ้ ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ดังนี้
1.การบ่งชี้ความรู ้(Knowledge Identification)
2.การสร้างและแสวงหาความรู ้ (Knowledge Creation and Acquisition)
3.การจัดความรู ้ให้เป็ นระบบ (Knowledge organization)
4.การประมวลและกลัน่ กรองความรู ้ (Knowledge Codification and
Refinement)
5.การเข้าถึงความรู ้ (Knowledge Access)
6.การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู ้ (Knowledge Sharing)
7.การเรี ยนรู ้ (Learning)
ซึ่งทั้งนี้รูปแบบการจัดการเรี ยนรู ้แบบ CIPPA MODEL มีความ
เกี่ยวข้องกับขั้นตอนหรื อกระบวนการจัดการความรู ้ดงั นี้
ขั้นตอนที่ 2 ขั้นแสวงหาความรู ้ใหม่ในรู ปแบบ CIPPA MODEL
สอดคล้องกับขั้นตอนที่ 2 การสร้างและแสวงหาความรู ้ของกระบวนการจัดการ
ความรู ้
ขั้นตอนที่ 5 ขั้นสรุ ปและจัดระเบียบความรู ้ในรู ปแบบ CIPPA
MODELสอดคล้องกับขั้นตอนที่ 4 การประมวลและกลัน่ กรองความรู ้ของ
กระบวนการจัดการความรู ้
ขั้นตอนที่ 4 ขั้นแลกเปลี่ยนความรู ้ ความเข้าใจกับกลุ่ม ในรู ปแบบ
CIPPA MODELสอดคล้องกับขั้นตอนที่ 6 การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู ้ของ
กระบวนการจัดการความรู ้
ขั้นตอนที่ 7 ขั้นประยุกต์ใช้ความรู ้ ในรู ปแบบ CIPPA MODEL
สอดคล้องกับขั้นตอนที่ 7 การเรี ยนรู ้ของกระบวนการจัดการความรู ้
สรุปแนวคิดเกีย่ วกับการจัดการความรู้
ความหมายของการจัดการความรู้
การจัดการความรู ้ หมายถึง กระบวนการในการบริ หาร
จัดการความรู ้ไม่วา่ ความรู ้น้ นั จะอยูใ่ นตัวบุคคล กระดาษ เอกสาร คู่มือ
สื่ อหรื อแหล่งความรู ้อื่นๆนามาทาการรวบรวมข้อมูล จัดการให้เป็ นระบบ
ระเบียบ ถูกต้อง ครบถ้วน ง่ายต่อการให้บุคคลในองค์กรสามารถเข้าถึง
และเรี ยกใช้ขอ้ มูล ความรู ้น้ นั ๆได้และที่สาคัญที่สุดจะต้องมีการแลกเปลี่ยน
เรี ยนรู ้เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกับความรู ้ไปประยุกต์ใช้จนบุคคลใน
องค์กรสามารถพัฒนาตนเองและองค์กรเกิดประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล
สรุปผลการทบทวนวรรณกรรม งานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ องกับงานวิจัยการพัฒนา
ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ พนื้ ฐานโดยใช้ รูปแบบการจัดการ
ความรู้ CIPPA MODEL
จากงานวิจยั ที่ผวู ้ ิจยั ได้ทาการศึกษา ทบทวนวรรณกรรมจากงานวิจยั ของ
ผูว้ ิจยั ท่านอื่นๆ ทั้ง 15 ท่านแล้วพบว่าสิ่ งที่ได้รับจากงานวิจยั คือ ทาให้ผวู ้ ิจยั ทราบ
ถึงว่ารู ปแบบการจัดการเรี ยนรู ้ CIPPA MODEL นีเ้ ป็ นรู ปแบบของการจัด
กิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่นามาใช้กบั รายวิชาต่างๆได้ เช่น วิชาวิทยาศาสตร์ วิชา
คณิ ตศาสตร์ วิชาสังคมศึกษา วิชาฟิ สิ กส์ และวิชาภาษาอังกฤษ ซึ่งทั้งนี้จะช่วย
พัฒนานักเรี ยนให้เกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนอยูใ่ นเกณฑ์ที่สูงขึ้น สามารถนามา
ปรับใช้กบั รายวิชาต่างๆ เน้นให้นกั เรี ยนมีส่วนร่ วมในกิจกรรมการเรี ยนการสอน
มากที่สุด ส่ งผลให้นกั เรี ยนเกิดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนอยูใ่ นเกณฑ์หรื อระดับที่
น่าพอใจและดีได้ นอกจากนี้ยงั ทาให้ผวู ้ จิ ยั มองเห็นแนวทางในการนาเทคนิค
วิธีการจัดการเรี ยนรู ้
กระบวนการในการดาเนินการจัดกิจกรรมในรู ปแบบ CIPPA MODEL
มาใช้กบั นักเรี ยนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ระดับ
ปวช.)
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยารวมทั้งได้ขอ้ เสนอแนะในการจัด
กิจกรรมการเรี ยนการสอนแบบ CIPPA MODEL ของงานวิจยั แต่ละท่าน
ที่ได้นาเสนอไว้ฉะนั้นผูว้ ิจยั คิดว่ารู ปแบบการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบนี้
จะสามารถแก้ไขปัญหานักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนต่าให้อยูใ่ นเกณฑ์
ที่สูงขึ้นของนักเรี ยนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยเกษตรและ
เทคโนโลยีพะเยาได้เช่นกันค่ะ
ระเบียบวิธีการวิจัย
ในการวิจยั ครั้งนี้ ผูว้ จิ ยั ได้ดาเนินการตามขั้นตอน ดังนี้
1. การกาหนดประชากรและการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
2. การสร้างเครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั
3. การเก็บรวบรวมข้อมูล
4. การจัดกระทาและการวิเคราะห์ขอ้ มูล
5.สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
1.การกาหนดประชากรและการเลือกกลุ่มตัวอย่ าง
1.1ประชากรที่ใช้ ในการวิจัย
1.1.1ประชากรที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ คือ นักเรี ยนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่1/4
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา ต.แม่นาเรื อ อ.เมือง จ.พะเยา 1 ห้องเรี ยน จานวน 25 คน
1.2กลุ่มตัวอย่ างทีใ่ ช้ ในการวิจัย
1.2.1กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ คือ นักเรี ยนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่1/4
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา ต.แม่นาเรื อ อ.เมือง จ.พะเยา 1 ห้องเรี ยน จานวน 25 คน
2.การสร้ างเครื่องมือทีใ่ ช้ ในการวิจยั
ผูว้ จิ ยั ได้ดาเนินการสร้างเครื่ องมือในการวิจยั ดังต่อไปนี้
1. แผนการจัดการเรี ยนรู้แบบโมเดลซิ ปปาวิชาวิทยาศาสตร์พ้นื ฐาน
2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิชาวิทยาศาสตร์พ้นื ฐาน
3. แบบประเมินการนาเสนองานกลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์พ้นื ฐาน
3. การเก็บรวบรวมข้ อมูล
การดาเนินการทดลองสอนวิทยาศาสตร์ มีข้ นั ตอนดังนี้
1. สุ่ มนักเรี ยนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 ซึ่งได้รับการเลือกแบบเจาะจง
(Purposive Sampling) จานวน 25 คน
2. ผูว้ จิ ยั ดาเนินการทดสอบก่อนเรี ยน (Pre-test) ด้วยแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิชา
วิทยาศาสตร์พ้นื ฐานของนักเรี ยนที่เป็ นกลุ่มตัวอย่าง
3.ผูว้ จิ ยั เป็ นผูด้ าเนินการจัดการเรี ยนรู้วชิ าวิทยาศาสตร์พ้นื ฐาน เรื่ อง ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้อม ด้วยตนเอง ซึ่งดาเนินการสอนกลุ่มตัวอย่างตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้รายวิชาวิทยาศาสตร์
พื้นฐาน โดยใช้รูปแบบการจัดการเรี ยนรู ้แบบโมเดลซิ ปปา เป็ นระยะเวลาทั้งสิ้ น 4 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3
ชัว่ โมง
4. ผูว้ จิ ยั นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนวิชาวิทยาศาสตร์ พ้นื ฐาน
เรื่ อง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมไปทดสอบนักเรี ยนที่เป็ นกลุ่มตัวอย่าง ด้วยแบบทดสอบชุด
เดิมหลังเรี ยนอีกครั้ง (Post-test)
5. นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิชาวิทยาศาสตร์พ้นื ฐาน เรื่ อง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม มาตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้
4.การจัดกระทาและการวิเคราะห์ ข้อมูล
1. หาค่ามัชฌิมเลขคณิ ตและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
วิชาวิทยาศาสตร์พ้นื ฐาน เรื่ อง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ก่อนและหลังการทดลองของนักเรี ยน
กลุ่มตัวอย่าง
2. เปรี ยบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิชา
วิทยาศาสตร์พ้นื ฐาน เรื่ อง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม โดยการทดสอบค่าที (t-test) ที่ระดับความมี
นัยสาคัญทางสถิติ.05
3. เปรี ยบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิชาวิทยาศาสตร์พ้นื ฐาน เรื่ อง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม โดยการวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างการทดสอบก่อนเรี ยนและหลัง
เรี ยนโดยใช้สถิติ ทดสอบการแจกแจงแบบที (t-test)
วิธีดาเนินการวิจยั
1. สร้างแผนการจัดการเรี ยนรู ้ตามรู ปแบบการจัดการเรี ยนรู้แบบโมเดลซิปปา
จานวน 3 แผน ส่ วนประกอบของแผนการจัดการเรี ยนรู ้ประกอบด้วย ชื่อแผนการจัดการ
เรี ยนรู ้ จานวนคาบ มาตรฐานและผลการเรี ยนรู ้ที่คาดหวัง สาระสาคัญ จุดประสงค์การเรี ยนรู้
สาระการเรี ยนรู ้ กิจกรรมการเรี ยนการสอน สื่ อ/แหล่งการเรี ยนรู ้ การวัดและประเมินผล ใช้
เวลาจัดการเรี ยนรู ้เป็ นเวลา 4 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 ชัว่ โมง แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ผวู้ ิจยั
สร้างขึ้นมีข้ นั ตอน 7 ขั้นตอนดังนี้
1.1 ขั้นทบทวนความรู ้เดิม
1.2 ขั้นสร้างความรู ้ใหม่
1.3 ขั้นศึกษาทาความเข้าใจข้อมูล / ความรู ้ใหม่และเชื่อมโยงความรู ้ใหม่กบั ความรู ้
เดิม
1.4 ขั้นแลกเปลี่ยนความรู ้ความเขาใจกับกลุ่ม
1.5 ขั้นสรุ ปและจัดระเบียบความรู ้
1.6 ขั้นแสดงผลงาน
1.7 ขั้นประยุกต์ใช้ความรู ้
โดยมีข้ นั ตอนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ดังนี้
1. ดาเนินการทดสอบก่อนเรี ยน (Pre-test) ด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิชา
วิทยาศาสตร์พ้นื ฐาน ที่เป็ นกลุ่มตัวอย่างก่อนสอนแล้วตรวจให้คะแนน
2.ทาการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ ดังต่อไปนี้
จัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ตามรู ปแบบการจัดการเรี ยนรู ้แบบ CIPPA MODEL เรื่ อง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
ขั้นที่ 1 ขั้นทบทวนความรู้เดิม
1.1ครู นาภาพทรัพยากรธรรมชาติทวั่ ไปทั้งที่ถูกทาลาย ภาพปั ญหาสิ่ งแวดล้อมเป็ นพิษ
และทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่ถูกทาลายให้นกั เรี ยนดู เช่น ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ า ทรัพยากรป่ า
ไม้ ทรัพยากรแร่ ธาตุ ทรัพยากรอากาศ และภาพมลพิษทางอากาศจากรถยนต์ มลพิษทางอากาศ
จากโรงงานอุตสาหกรรม มลพิษทางเสี ยงที่เกิดจากรถยนต์และจากเครื่ องจักรในโรงงาน
อุตสาหกรรม มลพิษของน้ าจากการทิ้งขยะ มลพิษทางดินที่เกิดจากสารเคมี มลพิษจากขยะมูลฝอย
ให้นกั เรี ยนอภิปรายการกระทาของมนุษย์ที่เหมาะสมและไม่เหมาะสมพร้อมทั้งบอกเหตุผลประกอบ
1.2ให้นกั เรี ยนเล่าประสบการณ์ที่นกั เรี ยนเคยเผลอไปทาลายทรัพยากรธรรมชาติท้งั
ทรัพยากรดิน น้ า ป่ าไม้ แร่ ธาตุ อากาศและที่เคยพบเห็นในชีวติ ประจาวัน
(องค์ประกอบ P Physical Participation , I Interaction)
ขั้นที่ 2 ขั้นแสวงหาความรู้ใหม่
2.1ครู เชิญวิทยากรที่ทางานเกี่ยวกับนักอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
มาทาการบรรยายให้นกั เรี ยนฟัง
2.2ให้นกั เรี ยนแบ่งกลุ่ม 4-5 คน ตามความสมัครใจ คละเพศ ตั้งชื่อ
กลุ่ม และบทบาทหน้าที่ของสมาชิก ศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมจากใบ
ความรู ้ และเอกสารต่างๆเกี่ยวกับประเภทของทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้อม ความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม สาเหตุ
และผลกระทบที่สาคัญของปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมและ
การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมอย่างยัง่ ยืน(องค์ประกอบ
C=Construct , P=Process Skill , I=Interaction)
ขั้นที่ 3 ขั้นทาความเข้ าใจข้ อมูล/ความรู้ใหม่
3.1ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนแผนที่ความคิด
เกี่ยวกับประเภทของทรัพยากรธรรมชาติแต่ละชนิด ความสาคัญ
ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม สาเหตุและผลกระทบที่
สาคัญของปั ญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมรวมถึงการ
พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมอย่างยัง่ ยืน
(องค์ประกอบ C=Construct , P=Process Skill , P=Physical
Participation)
ขั้นที่ 4 ขั้นแลกเปลีย่ นความรู้ ความเข้ าใจกับกลุ่ม
4.1 ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงาน อธิบายให้เพื่อนๆฟังและให้
เพื่อนซักถามเมื่อสงสัย
4.2ครู และนักเรี ยนร่ วมสรุ ปประเด็นสาคัญของเรื่ อง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมโดยเขียนเป็ นข้อๆบนกระดาน
ขั้นที่ 5 ขั้นสรุปและจัดระเบียบความรู้
5.1ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มจัดบอร์ดเรื่ องเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่ งแวดล้อมตามหัวข้อที่กลุ่มสนใจ เช่น ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ
ความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม สาเหตุและผลกระทบที่
สาคัญของปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้อม การพัฒนา
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมอย่างยัง่ ยืน เป็ นต้น
(องค์ประกอบ C=Construct)
ขั้นที่ 6 ขั้นปฏิบัติและ/หรือแสดงผลงาน
6.1ให้นกั เรี ยนแต่ละคนเขียนรายงานทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้อมที่ตนเองนาไปปฏิบตั ิที่บา้ นส่ งครู ครู ตรวจผลงานและติด
บอร์ด
(องค์ประกอบ P=Process Skill , P=Physical Participation)
ขั้นที่ 7 ขั้นประยุกต์ ใช้ ความรู้
7.1ให้ทุกคนได้แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้กนั และให้นกั เรี ยนทารายงาน
เรื่ อง การรักษาทรัพยากรธรรมชาติที่บา้ นของตนเอง
(องค์ประกอบ A=Application)
5.สถิติทใี่ ช้ ในการวิเคราะห์ ข้อมูล
1. สถิติพ้นื ฐาน
1.1 ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต (mean)
1.2 การหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน(Standard Deviation)
1.3 การหาค่าดัชนีความเที่ยงตรงของแบบทดสอบ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
1.4 การหาค่าความยากง่ายของข้อสอบ
1.5 การหาค่าความเชื่อมัน่ ของข้อสอบ
เอกสารอ้ างอิง(Reference)
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่ งชาติ. “ร่ วมปฏิรูปการเรียนรู้ กบั ครู ต้นแบบ” การจัด
กระบวนการเรียนรู้ ที่เน้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ การสอนแบบ “CIPPA MODEL”โดยครู อมั พา
บุ่ยศิริรักษ์ . กรุ งเทพฯ : สานักพิมพ์ดบั บลิว เจ พร็ อพเพอตี้ จากัด,2544.
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. การจัดการความรู้ Knowledge Management.
กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์ ก.พลพิมพ์,2552.
ทิศนา แขมมณี .รู ปแบบการเรียนการสอน:ทางเลือกที่หลากหลาย.กรุ งเทพฯ:สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย,2552.
รชาดา บัวไพร.การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ รูปแบบการเรียนการสอนแบบโมเดลซิปปาที่มี
ต่ อผลสั มฤทธิ์ ทางการเรียนและเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1.สารนิ
พนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ,2552.
จานง ทองช่วย พูนสุ ข อุดมและอานอบ คันฑะชา.การศึกษาผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์
และเจตคติทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้ การสอนรู ปแบบซิปปาร่ วมกับเทคนิคการใช้ คาถามของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6.วิทยานิพนธ์ สาขาวิชาหลักสู ตรและการสอน มหาวิทยาลัยทักษิณ,
2551.
กัสมัสห์ อาแด.การสร้ างชุดการเรียนการสอนโดยใช้ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ แบบ CIPPA MODEL
เรื่อง ความสั มพันธ์ ระหว่ างรู ปเรขาคณิต 2 มิตแิ ละ 3 มิติ สาหรับนักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปี ที่ 1.
วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยทักษิณ,2548.
เอกสารอ้ างอิง(Reference) ต่ อ
สาวิตรี ยิม้ ช้อย.การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และ
ความคิด สร้ างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5ที่จดั การเรียนรู้แบบโมเดลซิปปา (CIPPA
MODEL)กับวิธีสอนแบบ ปกติ.วิทยานิพนธ์ สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏ
พระนครศรี อยุธยา,2548.
พิกลุ ตระกูลสม.การวิจยั ปฏิบัตกิ ารพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง โลกและการ
เปลีย่ นแปลง โดยรูปแบบ CIPPA MODEL นักเรียนมัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรียนที โอ เอ วิทยา .
วิทยานิพนธ์ สาขาวิชา ยุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ,2552.
ดาริ นทร์ ตนะทิพย์.ผลของการสอนโดยใช้ รูปแบบการเรียนการสอนซิปปาที่เน้ นกระบวนการเรียนรู้ทางภาษาที่มีต่อ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนบาง
บัว(เพ่งตั้งตรงจิตรวิทยาคาร.วิทยานิพนธ์ สาขาวิชาประถมศึกษา ครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
,2545.
นิตยา โสตทิพย์.การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 3 ที่ได้ รับการจัดการเรียนการสอนแบบ CIPPA MODEL กับแบบปกติ.วิทยานิพนธ์ ครุ
ศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรี ธรรมราช,2551.
กาญจนา กาฬภักดี.การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและค่านิยมทางวิทยาศาสตร์ ด้านการมีเหตุผลของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปี่ ที่ 2 ด้ านกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบ CIPPA.การศึกษามหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ,2550.
พรสวรรค์ ประยูรยวง อุษา คงทองและกาญจนา สุจีนะพงษ์.การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทยโดยรูปแบบการสอน CIPPA กับการสอนปกติของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรียน
อนุบาลประจันตคาม อ.ประจันตคาม จ.ปราจีนบุรี .วิทยานิพนธ์ ครุ ศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราช
ภัฏวไลยอลงกรณ์,2554.
เอกสารอ้ างอิง(Reference) ต่ อ
จิรัญญา หง้าฝา.การพัฒนารู ปแบบการเรียนการสอนโดยใช้ การสอนแบบ CIPPA MODEL ประกอบแบบ
ฝึ กทักษะเรื่อง สมบัตขิ องสารและการจาแนกเพือ่ พัฒนาผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการ
เรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนเทศบาล 2 (คลองจิหลาด).วิทยานิพนธ์.ครู วิทย
ฐานะชานาญการ โรงเรี ยนเทศบาล2(คลองจิหลาด),2553.
พลมณี สี ลิพง.ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ รูปแบบ CIPPA ในวิชาฟิ สิ กส์ ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 4 ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว.วิทยานิพนธ์ คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น,2549.
ศิริพรรณ ศรี อุทธา.การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ที่เน้ นนักเรียนเป็ นสาคัญรายวิชาคณิตศาสตร์ เพิม่ เติม
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 เรื่อง สมการกาลัง 2 ตัวแปรเดียวโดยใช้ รูปแบบการสอนโมเดลซิปปา
(CIPPA MODEL).วิทยานิพนธ์ครู ชานาญการ โรงเรี ยนชุมแพศึกษา,2552.
แสงหล้า พันธุ์โอภาส.ผลการพัฒนาผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ระบบจานวนเต็มโดยใช้ กจิ กรรมการ
เรียนรู้ ตามตัวแบบซิปปา(CIPPA MODEL)สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1.วิทยานิพนธ์
โรงเรี ยนเทศบาล 2 (แม่ต๋าดรุ ณเวทย์) สังกัดกองการศึกษา เทศบาลเมืองพะเยา กรมส่ งเสริ มการ
ปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย,2551.
เอกสารอ้ างอิง(Reference) ต่ อ
กัลยา พันปี .2554.การศึกษาผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ และทักษะการเชื่อมโยงทางคณิตศาสตร์
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ด้ านวิธีการจัดการเรียนรู้ แบบซิปปา CIPPA MODEL.(ระบบ
ออนไลน์).แหล่งที่มา http://www.learners.in.th/blogs/posts/317688(23 พฤศจิกายน 2554).
ศศิมา ทับทิม.2552.การพัฒนาผลการเรียนรู้ เรื่อง ระบบร่ างกายมนุษย์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ด้ วย
รู ปแบบ CIPPA.(ระบบออนไลน์).แหล่งที่มา http://www.thaistudy.info(22 พฤศจิกายน 2554).
ไสว โลจนะศุภฤกษ์.Knowledge Management.(ระบบออนไลน์).
แหล่งที่มา.http://www2.diw.go.th/km/knowledge/การจัดการความรู ้.doc.(30 พฤศจิกายน 2554).
อาภรณ์ ใจเที่ยง.หลักการสอน.กรุ งเทพฯ:สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์,2553.
จบการนาเสนองาน
ขอบคุณค่ ะ