Transcript Xmas Wrap
1
จัดการเรียนรูโ้ ดยใช้
• จาก ทฤษฎี Constructivism ของ Piaget องค์ประกอบ
ในการสร้างความรูเ้ พื่อพัฒนาโครงสร้างทางสติปัญญา มี 3
ประการ
1. ความรูเ้ ดิม
2. ความรูใ้ หม่
3. กระบวนการทางสติปัญญา
1. ให้ผูเ้ รียนทบทวนความรูเ้ ดิม
2. ให้ผูเ้ รียนได้รบั /แสวงหา/รวบรวมข้อมูลและประสบการณ์ต่างๆ ด้วย
ตนเอง
3. ให้ผูเ้ รียนได้ศึกษา คิด วิเคราะห์และสร้างความหมายข้อมูล/
ประสบการณ์ดว้ ยตนเองโดยใช้กระบวนการต่างๆ
4. ให้ผูเ้ รียนได้สรุ ปและจัดระเบียบความรู /้ ข้อมูล หรือจัดโครงสร้าง
ความรูด้ ว้ ยตนเอง
5. ให้ผูเ้ รียนได้แสดงออกในสิ่งทีเ่ รียนรูด้ ว้ ยวิธกี ารต่างๆ อย่าง
หลากหลาย
• หมายถึง Social Interaction
• จากแนวคิด Group process และ Cooperative
learning
•
•
•
•
บุ คคลแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมทางด้านสือ่ โสตทัศนวัสดุ และเทคโนโลยีต่างๆ
• การเคลื่อนไหวทางด้ าน
ร่างกาย
• การปฏิบตั ิ/การกระทา/
กิจกรรม
(perform/Practice)
• ลักษณะของกิจกรรม
-มีความหลากหลาย
-เหมาะสมกับวัยและความ
สนใจ
1. สร้างองค์ความรูด้ ว้ ยตนเอง
2. ให้ความร่วมมือในการทางานกลุ่ม
3. ใฝ่ รูใ้ ฝ่ เรียน รักการศึกษาค้นคว้า
4. เป็ นนักตาม นักคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ แก้ปัญหา ประเมินผล
สามารถตัดสินใจได้
5. กล้าแสดงออก
6. ไม่ขาดเรียน
7. ร่วมมือกันในการหาแหล่งเรียนรูแ้ ละจัดทาสือ่ การเรียนรู ้
8. ร่วมกิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้ความคิดและรับผิดชอบในหน้าทีข่ อง
ตนอย่างเต็มความสามารถ
9. ปฏิสมั พันธ์และแลกเปลีย่ นเรียนรูก้ บั เพื่อนๆ และผู เ้ กีย่ วข้อง
10. เรียนรูว้ ธิ กี ารเรียนรู ้
23
11. คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ
12. คิดตัดสินใจ
13. ให้ความร่วมมือในการทางาน
24
1
2
3
4
5
• โรงเรียนได้รบั รางวัลในระดับต่างๆ
• โรงเรียนเป็ นแหล่งเรียนรูใ้ ห้กบั ผูส้ นใจมาดูงาน
• โรงเรียนได้นาเสนอผลงาน/จัดนิ ทรรศการ
• ครูใช้ผลการวิจยั เสนอเพื่อขอรับการประเมินเลือ่ นระดับ
• ใช้เป็ นส่วนหนึ่งของการประเมินคุณภาพภายในและการประเมินภายนอก
26
• 1. จิรนันท์ บุญเรื อน. (2545). ผลของการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ โมเดลซิ ป
ปาทีม่ ีต่อผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียนภาษาไทยของนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาครุ ศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิต
วิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
• 2. ดาริ นทร์ ตนะทิพย์. (2545). ผลของการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ โมเดลซิป
ปาทีม่ ีต่อผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่
6. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาครุ ศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
• 3. ชาริ ณี ตรี วรัญญู. (2546). ผลของการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ โดยใช้
โมเดลซิปปาที่มีต่อผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียนคณิตศาสตร์
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาครุ ศาสตรมหาบัณฑิต
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
28
• 4. บุญฤดี แซ่ลอ้ . (2546). ผลของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ โดยใช้
โมเดลซิปปาที่มตี ่ อผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ และ
เจตคติทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5. วิทยานิพนธ์ปริ ญญา
ครุ ศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
• 5. ผาณิ ต เย็นแข. (2545). ผลการใช้ รูปแบบการเรียนการสอนซิปปาเพือ่ การ
พัฒนาจริยธรรมทีม่ ีต่อผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนจริยศึกษา และพฤติกรรมเชิง
จริยธรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาครุ ศาสตรมหา
บัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
• 6. สุ ทธิรัตน์ เลิศจตุรววิทย์. (2545). ผลของการจัดการเรียนการสอนหน่ วยชาติ
ไทยโดยใช้ โมเดลซิปปาที่มีต่อผลสั มฤทธิ์ทักษะการวิเคราะห์ เจตคติในการเรียน
ประวัติศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาครุ ศาสต
รมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
29
• 7. สมาพร คล้ายวิเชียร. (2546). ผลการสอนวิชาภาพพิมพ์ พนื้ ฐานโดยใช้ โมเดล
ซิปปาที่มตี ่ อผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรี สถาบันราช
ภัฏบุรีรัมย์ . วิทยานิพนธ์ปริ ญญาครุ ศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
• 8. พเยาว์ เกตานนท์. (2545). การศึกษาผลการเรียนรู้ วชิ างานเขียนแบบทีจ่ ัดการ
เรียนรู้ โดยยึดผู้เรียนเป็ นศูนย์ กลางแบบประสาน 5 แนวคิดหลัก. ปริ ญญานิพนธ์
กศ.ม. (การมัธยมศึกษา). กรุ งเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิ
โรฒ. อัดสาเนา.
• 9. สุ ดารัตน์ ไผ่พงศาวงศ์. (2543). การพัฒนาชุ ดกิจกรรมคณิตศาสตร์ ทใี่ ช้ จัดการ
เรียนการสอนแบบซิปปา (CIPPA Model) เรื่องเส้ นขนานและความคล้าย
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2. ปริ ญญานิพนธ์ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา). กรุ งเทพฯ :
30
• 10. ฉันชนก รักแตง. (2546). การศึกษาผลของการสอนซ่ อมเสริม กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ ภาษาไทย เรื่องมาตราตัวสะกดและความสนใจในการเรียน ชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 3 โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบซิปปา (CIPPA
Model). วิทยานิพนธ์ปริ ญญาการศึกษามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ.
• 11. สุ ดารัตน์ ไผ่พงศาวงศ์. (2543). การพัฒนาชุ ดกิจกรรมคณิตศาสตร์ ทใี่ ช้
จัดการเรียนการสอนแบบซิปปา CIPPA Model เรื่อง เส้ นขนานและความ
คล้าย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการ
มัธยมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ.
• 12. อดิศร ศิริ. (2543). การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ น
ศูนย์ กลางโดยใช้ โมเดลซิปปา สาหรับวิชาชีววิทยาในระดับมัธยมศึกษาปี่ ที่ 5.
ปริ ญญานิพนธ์ กศ.ม. (วิทยาศาสตร์ศึกษา). ขอนแก่น : บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
31
• 13. ดอกคูณ วงศ์วรรณวัฒนา. (2544). การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนที่
เน้ นผู้เรียนเป็ นศูนย์ กลาง โดยใช้ รูปแบบซิปปาในวิชาฟิ สิ กส์ ระดับชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 4. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
• 14. จิรากาญจน์ หงษ์ชูตา. (2545). การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้ น
ผู้เรียนเป็ นสาคัญในรายวิชาคณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปี ที่ 3 เรื่องเศษส่ วนโดย
ใช้ โมเดลซิปปา. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
• 15. วราภรณ์ แตงมีแสง. (2545). การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทีเ่ น้ นผู้เรียน
เป็ นสาคัญโดยใช้ โมเดลซิปปาในวิชามนุษย์ กบั สิ่ งแวดล้ อม. วิทยานิพนธ์ปริ ญญา
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
32
• 16. วารยาณี ย ์ เพชรมณี . (2546). การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนวิชา
วิทยาโดยใช้ รูปแบบซิปปา. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิต
วิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
• 17. นิตติญาพร ประเสริ ฐสังข์. (2545). การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนวิชา
วิทยาศาสตร์ เรื่องกลไกมนุษย์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 โดยใช้ รูปแบบซิปปา.
วิทยานิพนธ์ปริ ญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
• 18. จตุพร เจริ ญชัย. (2545). การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนทีเ่ น้ นผู้เรียน
เป็ นสาคัญโดยใช้ โมเดลซิปปา ในรายวิชาเคมีสาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่
4. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการประถมศึกษา บัณฑิต
วิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
33
19. ปกาศิต ปลัง่ กลาง. (2545). การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนการแก้ โจทย์
ปัญหาคณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปี ที่ 5 ทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญโดยใช้ โมเดล
ซิปปา. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการประถมศึกษา
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
• 20. สุ ระ บุญมี. (2547). การพัฒนาบุคลากรเกีย่ วกับการจัดการเรียนรู้ ทเี่ น้ นผู้เรียน
เป็ นสาคัญโรงเรียนบ้ านหนองบัวโคก อาเภอท่ าตูม จังหวัดสุ รินทร์ . วิทยานิพนธ์
ปริ ญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริ หารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
34
21. พระมหาธงชัย จันบา. (2545). พฤติกรรมการสอนของครู ทเี่ น้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู. วิทยานิพนธ์
ปริ ญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
• 22. ปาริ ชาติ บังสุ วรรณ. (2546). การจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
ของครู โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ จังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาครุ ศา
สตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
35
ผู้เรี ยนเป็ นศูนย์กลาง
มีสว่ นร่วมในกิจกรรมการเรี ยนรู้อย่างกระตือรื อร้ น (Active Participation)
กาย (Physical)
สติปัญญา (Intellectual)
สังคม (Social
อารมณ์ (Emotional)
อารมณ์ (Emotional)
อารมณ์ (Emotional)
+
+
+
การเคลื่อนไหวร่างกาย
การสร้ างความรู้
การปฏิสมั พันธ์
(Physical Movement)
(Construction of Knowledge)
(Interaction)
การเรี ยนรู้กระบวนการ
(Process Learning
ความเข้ าใจ
(Understanding)
การประยุกต์ใช้
(Application)
การใช้ ในชีวิตประจาวัน
(Actual Practices
38
กระบวนการเรี ยนการสอน
จุดมุ่งหมาย
ขันที
้ ่ 1 การทบทวน/
ตรวจสอบความรู้เดิม
ผู้ส อนดึง ความรู้ เดิ ม เพื่ อ ใช้
ในการเชื่ อมโยงกับความรู้ ใหม่
และ/หรื อสารวจความรู้ เดิมและ
ความรู้ พื ้นฐานที่จาเป็ นสาหรั บ
การเรี ยนรู้ใหม่
ใช้ หลัก “CIPPA” โดยเน้ นหลักการสร้ าง
ความรู้ (Construction
of
Knowledge)
- เพื่อให้ ผ้ เู รี ยนระลึก (recall) เป็ นการ
เชื่อมโยงความรู้เก่ากับความรู้ใหม่
- เพื่อตรวจสอบความพร้ อมในการเรี ยนรู้ สิ่ง
ใหม่ หากผู้เรี ยนขาดพื ้นฐานที่จาเป็ นในการ
เรี ย นรู้ สิ่ ง ใหม่ จ าเป็ นต้ อ งช่ ว ยผู้ เรี ย นให้ มี
ความรู้พื ้นฐานดังกล่าวก่อนสอนสิ่งใหม่
- เพื่อช่วยให้ ผ้ เู รี ยนตระหนักรู้ ว่าตนรู้ อะไรไม่
รู้อะไร
- เพื่อช่วยให้ ผ้ สู อนรู้ ปัญญาของผู้เรี ยนจะได้
สอนในสิ่ ง ที่ ส อดคล้ องกั บ ปั ญหาความ
ต้ องการของผู้เรี ยน
- เพื่อช่วยให้ ผ้ ูสอนไม่สอนซ ้าในสิ่ งที่ผ้ เู รี ยน
รู้อยู่แล้ ว ทาให้ ผ้ เู รี ยนไม่เบื่อหน่าย
วิธีสอน/เทคนิคการสอน
- ถามตอบ
- ระดมสมอง
- สังเกต
- แบบทดสอบ
- ลงมือทา
- แก้ ปัญหา
39
กระบวนการเรี ยนการสอน
จุดมุ่งหมาย
วิธีสอน/เทคนิคการสอน
ขันที
้ ่ 2 การแสวงหาความรู้ใหม่
ผู้ เ รี ย นแสวงหาข้ อมู ล จาก
แหล่ ง ข้ อ มูล หรื อ แหล่ ง ความรู้
ต่างๆ และรวบรวมข้ อมูลความรู้
ใหม่จากแหล่งความรู้
ใช้ หลัก “CIPPA” โดยเน้ นหลักการเรี ยนรู้
ทั ก ษ ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร (Process
Learning)
- เพื่อ ให้ ผ้ ูเรี ยนฝึ กทัก ษะกระบวนการ
แสวงหาความรู้ ด้วยตนเองอันเป็ นทักษะที่
จาเป็ นในการเรี ยนรู้ตลอดชีวิต
สร้ างแรงจูงใจ
- ตังค
้ าถามท้ าทาย
ความคิด
- กระตุ้นให้ เกิดความ
ขัดแย้ งทางความคิด
- ให้ แสวงหาข้ อมูลอย่างมี
ความหมาย
ฝึ กกระบวนการแสวงหา
ความรู้
- การวางแผน
การแบ่งงานการมอบหมาย
งาน
- การหาแหล่งข้ อมูลที่
หลากหลาย
การประเมิน
แหล่งข้ อมูล
- วิธีค้นคว้ า
- การแก้ ปัญหา
40
กระบวนการเรี ยนการสอน
ขันที
้ ่ 3 การศึกษาและสร้ าง
ความเข้ าใจข้ อมูลความรู้ใหม่
และเชื่อมโยงความรู้เดิม
ผู้เรี ยนทาความเข้ าใจกับ
ข้ อมูลความรู้ใหม่ที่หามาได้
สร้ างความหมายของข้ อมูล/
ประสบการณ์ใหม่ โดยอาศัย
การเชื่อมโยงกับความรู้เดิม
และการใช้ กระบวนการต่างๆ
เช่น กระบวนการคิด
กระบวนการกลุ่ม
จุดมุ่งหมาย
ใช้ หลัก “CIPPA” โดยเน้ นหลักการสร้ าง
ความรู้ (Construction of
Knowledge)
- เพื่อช่วยให้ ผ้ เู รี ยนเกิดความเข้ าใจที่
แท้ จริงในเรื่ องที่ศกึ ษา เกิดการเรี ยนรู้ที่มี
ความหมายต่อตนเอง และจดจาการเรี ยนรู้
นันได้
้ ดี
- เพื่อช่วยให้ ผ้ เู รี ยนฝึ กทักษะกระบวน
การสร้ างความรู้ด้วยตนเองอันเป็ นทักษะที่
จาเป็ นในการเรี ยนรู้ตลอดชีวิต
- เพื่อช่วยให้ ผ้ เู รี ยนได้ ฝึกทักษะ
กระบวนการคิด อันเป็ นกระบวนการทาง
ปั ญญาที่ช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพในการ
เรี ยนรู้
วิธีสอน/เทคนิคการสอน
ฝึ กกระบวนการคิด
- เปรี ยบเทียบ
จาแนก
จัดกลุ่ม
จัดประเภทตังค
้ าถาม
ตีความ
แปลความ
ขยายความ สรุป
ลงความเห็น ฯลฯ
กระบวนการเรี ยนการสอน
จุดมุ่งหมาย
วิธีสอน/เทคนิคการสอน
ขัน้ ที่ 4 การแลกเปลี่ ยนความรู้
ความเข้ าใจกับกลุ่ม
ผู้ เรี ย นแลกเปลี่ ย นความรู้
ค ว า ม คิ ด อ า ศั ย ก ลุ่ ม เ ป็ น
เครื่ องมื อ ในการตรวจสอบ
ความรู้ ทั ง้ ขยายความรู้ ความ
เข้ าใจของตนให้ กว้ างขึ ้น
ใช้ หลัก “CIPPA” โดยเน้ นหลักการ
ปฏิสมั พันธ์ (Interaction)
- เพื่ อ ช่ ว ยให้ ผ้ ูเ รี ย นขยายขอบเขตความรู้
ความเข้ าใจ ได้ มมุ มองที่แตกต่างไปจากตน
ช่วยให้ ความคิดกว้ างขึ ้น ลึกซึ ้งขึ ้น
- เพื่ อ ช่ ว ยให้ ผู้ เรี ยนได้ ตรวจสอบแล ะ
ปรั บเปลี่ ยนความรู้ ความเข้ าใจของตนอั น
เป็ นการปรับเปลี่ยนโครงสร้ างทางปั ญญา
ของตน
- เพื่อฝึ กให้ ผ้ ูเรี ยนเห็นคุณค่า ของการเรี ยน
แบบร่ วมมื อ การเรี ย นรู้ จากันและกัน และ
การเรี ยนรู้ การสัมพัน ธ์ แ ละการอยู่ร่ วมกับ
ผู้อื่น
ฝึ กกระบวนการทางสังคม
- ใช้ กระบวนการกลุ่มใช้
เทคนิคการจัดกลุ่มแบบ
ต่างๆ รูปแบบวิธีการ
เทคนิคการเรี ยนรู้แบบ
ร่วมมือการรับฟั ง การ
โต้ ตอบการยอมรับ การให้
ข้ อสังเกต การให้ ข้อมูล
ป้อนกลับ ฯลฯ
ฝึ กกระบวนการคิด
- การปรั บ ความคิ ด การ
ขยายความคิด การคิดกว้ าง
การใช้ เหตุผล การคิดอย่ าง
มี วิ จ ารณญาณ การคิ ด
แก้ ปัญหาการคิดริเริ่ม ฯลฯ
กระบวนการเรี ยนการสอน
จุดมุ่งหมาย
วิธีสอน/เทคนิคการสอน
ขันที
้ ่ 5 การสรุปและจัดระเบียบ
ความรู้
ผู้เรี ยนสรุปจัดระเบียบความรู้
ที่ ไ ด้ รั บ ทัง้ หมด ทัง้ ความรู้ เดิ ม
และความรู้ใหม่และจัดสิ่งที่เรี ยน
ให้ เป็ นระบบระเบียบเพื่อช่วยให้
ผู้เ รี ย นจดจ าสิ่ ง ที่ เ รี ย นรู้ ได้ ง่ า ย
และวิเคราะห์การเรี ยนรู้
ใช้ หลัก “CIPPA” โดยเน้ นหลักการความรู้
(Construction of Knowledge)
และหลักการเรี ยนรู้ทกั ษะกระบวนการ
(Process Learning)
- เพื่อช่วยให้ ผ้ เู รี ยนเห็นองค์รวม ภาพรวม
ของสิ่งที่เรี ยนรู้
- เพื่อ ช่ว ยให้ ผ้ ูเรี ยนจดจ าความรู้ ได้ ดี และ
สามารถน าความรู้ ไปใช้ ได้ อ ย่ า งสะดวก
เนื่องจากความรู้ อยู่อย่างเป็ นระบบระเบียน
ผู้เรี ยนสามารถระลึก (recall) และดึง
ความรู้ออกมาใช้ ได้ ง่าย (retrieval)
- เพื่อช่วยให้ ผ้ เู รี ยนพัฒนายุทธศาสตร์ ทาง
ปั ญญา (cognitive strategies) อัน
เป็ นความสามารถในการคิดขันสู
้ ง
- เพื่อช่วยให้ ผ้ เู รี ยนตระหนักถึงกระบวนการ
เรี ยนรู้ ของตนและพัฒนาความสามารถใน
ก า ร ค ว บ คุ ม ก า กั บ ค ว า ม คิ ด ข อ ง ต น
(metacognition)
อั น เป็ น
ความสามารถในการคิดขันสู
้ ง
ฝึ กยุทธศาสตร์ ทางปั ญญา
(cognitive
strategies)
- การใช้ graphic
organizer
การผลิ ต ผลงานใน
ลัก ษณะต่ า งๆ (การเขี ย น
บทความ คู่ มื อ ต ารา ท า
เครื่ องมือ แบบสอบ จัดทา
checklist ฯลฯ)
- การบั น ทึ ก การเรี ยนรู้
(learning logs)
การคิ ด ไตร่ ต รอง
(reflective
thinking)
การคิ ด วิ เ คราะห์
(analytic thinking)
- การควบคุมกากับการรู้
คิ ด ข อ ง ต น เ อ ง
(metacognition)
กระบวนการเรี ยนการสอน
ขันที
้ ่ 6 การปฏิบตั ิและ/หรื อการ
แสดงความรู้และผลงาน
ผู้เรี ยนแสดงผลงานการสร้ าง
ความรู้ของตนให้ ผ้ อู ื่น
รั บรู้ เป็ นการช่วยให้ ผ้ ูเรี ยนตอก
ย า้ หรื อ ตรวจสอบความเข้ าใจ
ของตนและช่วยส่งเสริมให้ ผ้ เู รี ยน
ใช้ ค วามคิ ด สร้ างสรรค์ แต่ ห าก
ต้ องมีการปฏิบตั ิตามข้ อความรู้ ที่
ได้ ขันนี
้ ้จะเป็ นขันปฏิ
้ บตั ิด้วย
จุดมุ่งหมาย
วิธีสอน/เทคนิคการสอน
ใช้ หลัก “CIPPA” โดยเน้ นหลักการสร้ าง ฝึ กการแสดงออก
ความรู้ (Construction of
- เปิ ดโอกาสให้ แสดงออก
Knowledge) และหลักการเรี ยนรู้ทกั ษะ ด้ วยวิธีการที่
กระบวนการ (Process Learning)
เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ู เรี ย นแสดงความรู้
ความสามารถของตนอันจะช่วยให้ ผ้ เู รี ยนได้
ใช้ และพัฒนาความสามารถหลายด้ าน (พหุ
ปั ญญา) ของตน และทาให้ เกิดความมัน่ ใจใน
สิ่งที่เรี ยนรู้และภูมิใจในการเรี ยนรู้ของตน
- เพื่ อช่ว ยให้ ผ้ ูเรี ย นตรวจสอบความรู้ ความ
เข้ า ใจของตน และปรั บ เปลี่ ย นตามความ
เหมาะสม
- เพื่อช่วยให้ ผ้ เู รี ยนแสดงหลักฐานการเรี ยนรู้
และตรวจสอบการเรี ยนรู้ ของผู้เรี ยนว่า บรรลุ
ตามวัตถุประสงค์หรื อไม่
- เพื่อช่วยให้ ผ้ ูเรี ยนได้ เชื่ อมโยงการเรี ยนรู้ สู่
ชีวิตจริ งและนาความรู้ ไปใช้ ให้ เป็ นประโยชน์
ในการดารงชีวิตและแก้ ปัญหาต่าง
หลากหลายตาม
ความสามารถและความ
ถนัด (พหุปัญญา)
- ตรวจสอบความรู้ ความ
เข้ าใจ
- ครูและเพื่อนให้ ข้อสังเกต
ให้ ข้อมูลป้อนกลับ
(feedback)
- ปรับความรู้ความเข้ าใจ
- ให้ ผ้ เู รี ยนนาความรู้ ไปใช้
ในชีวิตประจาวันและ
รายงาน
- ให้ ทาแบบฝึ กหัด
กระบวนการเรี ยนการสอน
ขันที
้ ่ 7 การประยุกต์ใช้ ความรู้
ผู้เรี ยนนาความรู้ ความเข้ าใจ
ข อ ง ต น ไ ป ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ ใ น
ส ถ า น ก า ร ณ์ ต่ า ง ๆ ที่
หลากหล ายเพื่ อ เพิ่ ม ความ
ช า น า ญ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ
ความสามารถในการแก้ ปัญหา
และความจาในเรื่ องนันๆ
้
จุดมุ่งหมาย
ใช้ หลัก “CIPPA” โดยเน้ นหลักการ
ประยุกต์ใช้ ความรู้ (Application)
- เพื่อช่วยให้ ผ้ เู รี ยนได้ นาความรู้ ไปใช้ ให้
เป็ นประโยชน์ต่อการดารงชีวิต ช่วยให้
ความรู้มีความหมายยิ่งขึ ้น
- เพื่อช่วยให้ ผ้ เู รี ยนเกิดการเรี ยนรู้ ที่ลกึ ซึ ้ง
จากการปฏิบตั ิจริง
วิธีสอน/เทคนิคการสอน
- ให้ ปัญหาที่มีลกั ษณะ
หลากหลาย แตกต่างจาก
ที่เรี ยนรู้ในห้ องเรี ยนและ
ให้ นาความรู้ไปใช้
แก้ ปัญหา
- ส่งเสริมให้ ทาบ่อยๆ
แผนจัดการเรี ยนรู้
(ปรั บจากแผนการจัดการเรี ยนรู้ของนางสมร จิตรอารม โรงเรี ยนบ้ านคันธุลี)
กลุม่ สาระการเรี ยนรู้ ภาษาไทย ชั ้นประถมศึกษาปี ที่ 5
ภาคเรี ยนที่ 1
บทเรี ยนที่ 3 บึงนกน ้า เรื่ อง การพูดอธิบายเหตุผล(การใช้ ภาษา)
เวลา 2 ชัว่ โมง
-------------------------------------------------------------------------------------------------------1.สาระสาคัญ
การพูดอธิบายเหตุผลที่จะต้ องอธิบายเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งให้ บคุ คลอื่นฟั ง โดยจะต้ องมีเรื่ อง
พูด มีรายละเอียดของเรื่ อง มีหลักการที่จะอธิบาย และมีเหตุผลประกอบการพูด เพื่อสนับสนุนเรื่ อง
ที่จะพูด ให้ น่าเชื่อถือ
2. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
2.1 จุดประสงค์ด้านเนื ้อหา
2.1.1 เข้ าใจความหมายของการพูดอธิบายเหตุผล
2.1.2 พูดอธิบายเหตุผลขั ้นตอนได้
2.1.3 นาการพูดอธิบายเหตุผลไปใช้ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
2.2 ด้ านทักษะการสื่อสาร(จุดเน้ นในการวิจยั )
3. เนือ้ หา
การพูดอธิบายเหตุผล
การพูดอธิบายเหตุผล คือ การพูดเพื่อสนับสนุนเรื่ องที่พูดหห้
น่าเชื่อถือ โดยอาจหช้ วิธีการเปรี ยบเทียบ ยกตัวอย่าง หรื ออ้างแหล่งที่มาของ
ข้อมูลหห้ชดั เจน ทั้งนี้ผพู ้ ดู อธิบายจะต้องมีเรื่ องที่จะพูด มีรายละเอียดของ
เรื่ อง มีหลักการที่จะอธิบาย และมีเหตุผลประกอบการพูดวิธีการ
พูดอธิบายเหตุผล มี 3 ขั้นตอน
•เตรี ยมเรื่ องที่จะพูด
•ทาการพูดอธิบาย
•ประเมินการพูดอธิบาย
----------------------------------------------------------------------------------------** การสอนนี้ จุดประสงค์ของการสอนหนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทยกับ
จุดเน้นหนการวิจยั เป็ นเรื่ องเดียวกัน คือ ทักษะการสื่ อสาร
ขัน้ ตอนตาม
ขัน้ ตอนและ
รูปแบบ CIPPA
กิจกรรมการสอน
1.ขัน้ ทบทวน
1. ครูทบทวนเรื่ องการอธิบาย
ความรู้เดิม
โดยให้ นกั เรี ยนแต่ละคนพูด
อธิบายการเดินทางมา
โรงเรี ยนของตนเองอย่าง
ละเอียด(อาจเปลีย่ นเป็ น
เรื่ องอื่นๆที่สั ้นและอยู่ใน
ชีวิตประจาวันเพื่อให้ ข้อมี
ข้ อมูลในการอธิบายมาก
มากพอ
2.ขั ้นแสวงหา
2. ครูตั ้งคาถามกับนักเรี ยนแต่
ละคนถึงเหตุผลที่เกี่ยวข้ อง
ความรู้ใหม่
กับเรื่ องการเดินทางมา
โรงเรี ยน เช่น ทาไมต้ องมา
ด้ วยรถโรงเรี ยน ทาไมต้ อง
ให้ พ่อแม่มาส่ง ทาไมไม่ขึ ้น
รถเมล์มาเอง เป็ นต้ อง
โดยถามบนพื ้นฐานข้ อมูล
นักเรี ยนคนนั ้นเล่ามา
ทักษะที่ได้จาก
รูปแบบ CIPPA
การกล้ าแสดงออก
คุณลักษณะที่เป็ น
จุดเน้นของการวิจยั
ทักษะการพูด
เล่าเรื่ อง
การคิดหาเหตุผล
ทักษะการพูด
อธิบายให้ เหตุผล
ขั ้นตอนตาม
ขั ้นตอนและ
รูปแบบ CIPPA
กิจกรรมการสอน
3. ขั ้นสร้ างความ 3. ครูตั ้งคาถามว่า ถ้ านักเรี ยน
รู้ด้วยตนเอง
แต่ละคนจะต้ องเล่าเรื่ องการ
เดินทางมาโรงเรี ยนอีกครัง้
หนึ่ง แต่ต้องพูดอธิบาย
เหตุผลประกอบด้ วย
นักเรี ยนพูดอย่างไร ให้ นกั เรี ยนเตรี ยมตัว 10 นาที
(ครูสงั เกตพฤติกรรมการ
เตรี ยมตัวของนักเรี ยน)
4.ให้ นกั เรี ยนพูดอธิบายการ
เดินทางมาโรงเรี ยนของ
ตนเองพร้ อมเหตุผล
ประกอบอีกครัง้ หนึ่ง
และให้ กติกาเพิ่มว่า ให้
เพื่อนๆสามารถซักถามผู้พดู ได้
(สังเกตการถามคาถาม
ถ้ านักเรี ยนคนใดอธิบายเหตุ
ผลคลุมเครื อ จะไม่ค่อยมี
คนถาม)
ทักษะที่ได้ จาก
รูปแบบ CIPPA
การคิดหาเหตุผล
การพูดเชื่อมโยง
การคิดวางแผน
การคิด การตั ้ง
คาถาม การฟั ง
คุณลักษณะที่เป็ น
จุดเน้ นของการวิจยั
ทักษะการพูด
อธิบายให้ เหตุผล
ขั ้นตอนตาม
ขั ้นตอนและ
ทักษะที่ได้ จาก
คุณลักษณะที่เป็ น
รูปแบบ CIPPA
กิจกรรมการสอน
รูปแบบ CIPPA จุดเน้ นของการวิจยั
4.ขั ้นแลกเปลี่ยน 5.ครูพดู ให้ นกั เรี ยนทั ้งชั ้นฟั งว่ามนขณะที่ การฟั ง
นักเรี ยนเตรี ยมตัวแตกต่างกันไป ครู เลือก
เรี ยนรู้
นักเรี ยนที่สงั เกตเห็นว่ามีวิธีการเตรี ยมตัวที่
ดีมาเล่าให้ เพื่อนๆ ฟั งว่าตนได้ เตรี ยมตัว
ในการพูดอย่างไร
6. ให้ นกั เรี ยนที่มีวิธีการพูดเล่าเรื่ องและ การคิดเชื่อม
ทักษะการพูด
อธิบายเหตุผลประกอบได้ ดีมาเล่าให้
โยงการคิดสะท้ อน อธิบายให้ เหตุผล
เพื่อนๆฟั งอีกครัง้ แล้ วเปรี ยบเทียบให้ เห็น การฟั ง
ถึงการประเมินการพูดขอองตนเอง โดย การประเมินตนเอง
สังเกตความสนใจของผู้ฟังจากคาถาม
7. ครูสงั เกตนักเรี ยนที่ยงั ไม่
การสังเคราะห์
สามารถพูดอธิบายความได้ ช่วยให้
ความรู้
กาลังใจว่านักเรี ยนสามารถพูดได้ ทกุ คน
และช่วยให้ ฝึกพูดอธิบายความเป็ น
รายบุคคลจนนักเรี ยนคนนั ้นรู้สกึ ที่จะกล้ า
พูดมากขึ ้น(หากไม่มีเวลา อาจให้ ฝึกนอก
เวลาเรี ยน)
ขั ้นตอนตาม
ขั ้นตอนและ
ทักษะที่ได้ จาก
รูปแบบ CIPPA
กิจกรรมการสอน
รูปแบบ CIPPA
8. ให้ นกั เรี ยนได้ สรุปความรู้ที่ตนเองได้ รับ
5. ขั ้นสรุปและ
จากกิจกรรมตั ้งแต่ต้นว่า การพูดอธิบาย
จัดระเบียบ
เหตุผลคืออะไร และมีขั ้นอย่างไรตาม
ความรู้
ความเข้ าใจของตนเอง
9. แจกใบความรู้เรื่ อง การพูด
อธิบายเหตุผลให้ นกั เรี ยนตรวจ
สอบว่าสิง่ ที่ตนสรุปมีความหมายตรงกับใบ
ความรู้หรื อไม่ อย่างไร
6. ขั ้นแสดงความ 10.สุม่ เลือกนักเรี ยนให้ มานาเสนอความรู้ที่
รู้และผลงาน ตนสรุปได้ มาเล่าให้ เพื่อนฟั ง
11. ครูเพิ่มเติมในประเด็นที่นกั เรี ยนยังขาด
ไป
7.ขั ้นนาไป
12. นักเรี ยนอ่านวรรณกรรมเรื่ อง’’ บึงนก การนาเอาความรู้ที่ได้
น ้า’’ ในหนังสือเรี ยน แล้ วพูดอธิบาย
ประยุกต์ใช้
ไปประยุกต์ใช้
เหตุผลจากเรื่ องเช่น
คุณลักษณะที่เป็ น
จุดเน้ นของการวิจยั
ทักษะการพูด
ทักษะการพูด
ทักษะการอ่าน
ทักษะการพูด
5. เอกสารประกอบการเรียนการสอน
5.1 ใบความรู้เรื่อง การพูดอธิบายเหตุผล
5.2 วรรณกรรมเรื่อง บึงนกน้า ในหนังสือ
เรียน
ภาษาไทย ป. 5
6. การวัดประเมินผล
6.1 สังเกตการพูดอธิบายของนักเรียน
6.2 ตรวจสรุ ป ข้ อความรู้เกี่ยวกับ การพูด
อธิบาย
เกี่ยวกับความรู้ของนักเรียน
7. บันทึกหลังสอน
7.1 ผลการสอน
นักเรียนประมาณร้ อยละ 80 มีความรู้ความเข้ าใจในเรื่อง
การพูดอธิบายความ
ในการสรุ ปเรื่อง นักเรียนสามารถพัฒนาได้ ดีข้นึ กว่ าเดิม คือ
นักเรียนกลุ่มเก่ งสามารถพัฒนาได้ ดีขึ้นกว่ าเดิม มีเลขที่ 3, 6, 10 และ 18
นักเรียนกลุ่มปานกลาง สามารถพัฒนาได้ ดี และสามารเลื่อนไปอยู่
กลุ่มเก่ งได้ 4 คน คือ เลขที่ 2, 8, 10, 11 และ 23
นักเรียนกลุ่มอ่ อน ทีค่ วรปรั บปรุ งพัฒนาให้ ดีข้นึ คือ เลขที่ 1, 5 และ
25 ส่ วนนักเรี ยนเลขที่ 4, 22 และ 24 สามารถพัฒนาได้ ดี เลื่อนไปอยู่กลุ่ม
ปานกลางได้
7.2 ปั ญหา/อุปสรรค
นักเรียนมีปัญหาทีค่ รูควรแก้ ไข/พัฒนา
ต่ อในเรื่อง
1) การเขียนเรื่องให้ มีความสอดคล้ องกัน
2) การเลือกใช้ คาในการพูด
7.3 ข้ อเสนอแนะ/แนวทางแก้ ไข
1) สอนเพิ่มเติมให้ กับนักเรียนทีม่ ีปัญหาและ
นักเรียนกลุ่มอ่ อน
2) หาเอกสาร/หนังสือ ให้ เด็กกลุ่มเก่ งศึกษา
เพิ่มเติม
8. ภาคผนวก
ใบความร้ ูเรื่ อง การพูดอธิบายเหตุผล
การพูดอธิบายเหตุผล
การพูดอธิบายเหตุผลเป็ นการพูดที่ใช้ มากในชีวิตประจาวัน ที่บคุ คลต้ อง
อธิบายเรื่ องใด เรื่ องหนึง่ ให้ บคุ คลอื่นฟั ง ผู้พดู อธิบายจะต้ องมีเรื่ องที่จะพูด มีรายละเอียด
ของเรื่ อง มีหลักการที่จะอธิบาย มีเหตุผลที่จะประกอบการพูด เพื่อสนับสนุนเรื่ องที่พดู ให้
น่าเชื่อถือ อาจใช้ วิธีการเปรี ยบเทียบ ยกตัวอย่าง หรื ออ้ างแหล่งที่มาให้ ชดั เจน
วิธีการพูดอธิบายเหตุผล มีขนตอนดั
ั้
งนี ้
1. ขันเตรี
้ ยมเรื่ องที่จะพูด ผู้พดู ต้ องทราบว่าจะพูดเรื่ องอะไร แล้ วรวบรวม
เรื่ องราวหรื อข้ อมูลต่างๆ หรื อข้ อมูลต่างๆ ที่จะพูด จากการอ่านหนังสือ การสังเกตคนอื่น
พูด การสนทนาซักถามผู้ร้ ูหรื อการไปดูสถานการณ์จริ งๆ คิดอย่างเป็ นเหตุเป็ นผลแล้ ว
นามาจัดลาดับเรื่ องราว เรี ยบเรี ยงเรื่ องราวให้ เป็ นระบบประกอบเหตุผล
2. ขันปฏิ
้ บตั ิ ผู้พดู ลองฝึ กซ้ อมเรื่ องที่จะพูดเพื่อหา
ประสบการณ์การพูด ฝึ กการใช้ น ้าเสียงจังหวะการพูด ท่าทางประกอบการ
พูดให้ สอดคล้ องกับเนื ้อหา ฝึ กซ้ อมจนมัน่ ใจแล้ วจึงจะพูดในสถานการณ์จริง
3. ขันประเมิ
้
น ผู้พดู ลองฝึ กซ้ อมที่จะพูดเพื่อหา
ประสบการณ์ การพูด ฝึ กการใช้ น ้าเสียง จังหวะการพูด ท่าทาง
ประกอบการพูด ให้ สอดคล้ องกับเนื ้อหา ฝึ กซ้ อมจนมัน่ ใจแล้ วจึงจะพูดใน
สถานการณ์การณ์จริง
4 .ขันประเมิ
้
น ผู้สงั เกตผู้ฟังขณะพูดว่ามีความสนใจมาก
น้ อยเพียงใด สังเกตจากการซักถามและการแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมของ
ผู้ฟังเมื่อพูดจบ
ตัวอย่างการพูดอธิบายเหตุผล
ร่มโพธิ์ร่มไทร เป็ นสานวนไทยที่พดู กันติดปาก หมายถึง ที่พงึ่ ที่
อาศัยให้ ความร่มเย็นเป็ นสุข ทังนี
้ ้เพราะต้ นโพธิ์ต้นไทรเป็ นต้ นไม้ ยืน
ต้ นไม้ ขนาดใหญ่มีกิ่งก้ านสาขาแยกออกไปให้ ความร่มรื่ น และเป็ น
ที่อาศัยของสัตย์นานาชนิดต้ นโพธิ์ต้นไทรจะออกผลปี ละหลายครัง้
ครัง้ ละมากๆสัตว์ทงหลายได้
ั้
กินลูก โพธิ์ลกู ไทรเป็ นอาหารอย่าง
อิ่มหนาสาราญเปรี ยบกับคนที่มีจิตใจเมตตากรุณาเป็ นที่พงึ่ ของ
ผู้อื่นได้ วา่ เป็ นร่มโพธิ์ร่มไทรจาก แบบเรี ยน
ภาษาไทย ชันประถมศึ
้
กษาปี ที่ 5
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ หน้ า 70 - 71
58