ทฤษฎีการเรียนรู้ เพือ่ การจัดการเรียนการสอน ทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นศูนย์ กลาง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์ ภาควิชาหลักสูตร การสอนและเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Download Report

Transcript ทฤษฎีการเรียนรู้ เพือ่ การจัดการเรียนการสอน ทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นศูนย์ กลาง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์ ภาควิชาหลักสูตร การสอนและเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทฤษฎีการเรียนรู้
เพือ่ การจัดการเรียนการสอน
ทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นศูนย์ กลาง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์
ภาควิชาหลักสูตร การสอนและเทคโนโลยีการศึกษา
คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
แผนภาพ การเปลีย่ นผ่ านสั งคมไทยเข้ าสู่ ยุคสั งคม/เศรษฐกิจฐานความรู้
ลักษณะบุคคล
สั งคมปัจจุบนั
1. เป็ นผูบ้ ริ โภค
2. เป็ นผูต้ าม
3. เป็ นผูท้ ี่รับทราบข้อมูล
4. เป็ นผูท้ ี่ยดึ ความรู้เดิม
5. เป็ นผูท้ ี่อยูใ่ นกรอบ
6. ทางานคนเดียว
7. ไม่ยดื หยุน่
8. มุ่งผลปานกลาง
9. สาเร็จรู ป
10. ตามตะวันตก
ลักษณะบุคคล
สั งคม/เศรษฐกิจฐานความรู้
1. เป็ นผูผ้ ลิต
2. เป็ นผูน้ า
3. เป็ นผูท้ ี่สนใจข้อมูล
4. เป็ นผูท้ ี่สร้างสรรค์
5. เป็ นผูท้ ี่คิดแจ้งแทงตลอด
6. ทางานร่ วมกัน
7. ยืดหยุน่
8. มุ่งผลเลิศ
9. มีความเฉพาะตัว
10. มีอตั ตลักษณ์ไทย
สั งคม/เศรษฐกิจฐานความรู้
เรี ยนรู้
สร้างความรู้
ใช้ความรู้
ผลผลิต
ประสิ ทธิภาพ/คุณภาพ
แข่งขันได้/ความเป็ นไทย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์
2
ตารางการเปรียบเทียบการเรียนการสอนทีเ่ น้ นครู เป็ น
ศูนย์ กลางและการเรียนการสอนทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นศูนย์ กลาง
รายการ
การเรียนการสอนทีเ่ น้ นครู
เป็ นศูนย์ กลาง
(teacher-centered)
การเรียนการสอนทีเ่ น้ นผู้เรียน
เป็ นศูนย์ กลาง
(child-centered)
ผูเ้ รี ยน
ผูส้ อน
เนื้อเรื่ อง
ไม่ตื่นตัวเป็ นผูฟ้ ัง
ผูส้ อน (teacher)
เน้นเรื่ องหาความรู้
การวัดและ
การประเมิน
วัดความรู ้ ความจาส่ วนมาก
ใช้แบบทดสอบ
ตื่นตัวเป็ นผูส้ ร้างความรู้
ผูอ้ านวยความสะดวก (facilitator)
เน้นความรู ้คู่กบั กระบวนการเรี ยนรู ้
วัดกระบวนการ วัดพฤติกรรมหรื อ
การปฏิบตั ิและวัดผลงานซึ่ งเป็ นการใช้
การประเมินตามสภาพจริ ง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์
3
การเรียนรู้ (Learning)
มีความหมาย 2 ประการ
1 กระบวนการเรียนรู้ (learning process) หมายถึงการดาเนินการอย่างเป็ น
ขั้นตอนหรื อการใช้วิธีการต่างๆ ที่ช่วยให้บุคคลเกิดการเรี ยนรู ้
2 ผลการเรียนรู้ (learning outcome) ได้แก่ความรู ้ความเข้าใจในสาระต่างๆ
ความสามารถในการกระทา การใช้ทกั ษะกระบวนการต่างๆ รวมทั้ง
ความรู ้สึกหรื อเจตคติอนั เป็ นผลที่เกิดขึ้นจากกระบวนการเรี ยนรู ้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์
4
กระบวนการเรี ยนรู้
สมอง
สิ่ งเร้า
แสดงออก
ผลการเรี ยนรู้
แผนภาพ กระบวนการเรียนรู้ ตามความเชื่อในอดีต
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์
5
ทฤษฏีการเรียนรู้ ทสี่ นับสนุนการเรียนการสอน
ทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นศูนย์ กลาง
1 ทฤษฏีการสร้างความรู ้ (Constructivism Theory)
2 ทฤษฏีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล (Information
Processing Theory )
3 ทฤษฏีพหุปัญญา (Theory of Multiple Intelligences)
4 ทฤษฏีการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ (Theory of Cooperative Learning)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์
6
ทฤษฏีการสร้ างความรู้ (Piaget & Vygotsky)
กระบวนการเรี ยนรู้
กระบวนการทางปัญญา
(cognitive process)
สิ่ งเร้า
การดูดซึ ม
(assimilation)
แสดงออก
ผลการเรี ยนรู้
โครงสร้างทางสติปัญญา
(schema)
แผนภาพ กระบวนการเรียนรู้ โดยการดูดซึม (assimilation)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์
7
กระบวนการเรี ยนรู้
กระบวนการทางปัญญา
(cognitive process)
แสดงออก
สิ่ งเร้า
ผลการเรี ยนรู้
โครงสร้างทางสติปัญญา
สภาวะไม่สมดุล
(disequilibrium)
แผนภาพ สภาวะไม่ สมดุล (disequilibrium) ในกระบวนการเรียนรู้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์
8
กระบวนการเรี ยนรู้
กระบวนการทางปัญญา
(cognitive process)
โครงสร้างทางสติปัญญา
(schema)
สิ่ งเร้า
แสดงออก
ผลการเรี ยนรู้
กระบวนการปรับ
สภาวะให้สมดุล
(accommodation)
แผนภาพ กระบวนการปรับสภาวะให้ สมดุล (accommodation) ในกระบวนการเรียนรู้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์
9
ทฤษฏีประมวลข้ อมูล (Klausmeier)
เมตาคอกนิชัน (metacognition)
ท่ อง
สิ่ งเร้ าภายนอก
ความใส่ ใจ
ความจาระดับ
ประสาทสัมผัส
(Sensory
Memory)
การรับรู้
ความจา
ระยะสั้น
(Short Term
Memory)
สู ญหาย
ตอบ
สนอง
กลวิธี
ท่ อง
ลงรหัส
เรียกคืน
สู ญหาย
ความจา
ระยะยาว
(Long
Term
Memory)
ลืมแต่ ยงั
เรียกคืนได้
แผนผังเมตาคอกนิชันหรือกระบวนการควบคุมการรู้ คดิ ในกรอบทฤษฎี
กระบวนการทางสมองในการประมวลข้ อมูล (Eggen and Kauchak, 1997)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์
10
ทฤษฏีพหุปัญญา (Howard Gardner)
ปัญญา (intelligence) หมายถึง ความสามารถในการค้นหา
ความรู ้ แก้ปัญหาและสร้างสรรค์ผลงานที่มีคุณค่าต่อสังคม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์
11
ปัญญาด้ านภาษา
ปัญญาด้ าน
ตรรกและคณิตศาสตร์
ปัญญาด้ าน
รู้จักตนเอง
ปัญญาด้ าน
ความสั มพันธ์
ระหว่ างบุคคล
ญาด้
ปัปัปัญญปัปัญ
ญาด้
ญ
ญาด้
าานรู
าาานน้จนกั
ญ
ญาด้
ญาด้
นการ
น
ทฤษฏี
พ
หุ
ป
ั
ญ
ญา
ปัญญาด้
านรอบ
ภาษา
มิรูเคลื
ตตรรกและ
ิ้ธสสัตนเอง
ดนตรี
มั ่อพันไหว
นธ์
รรมชาติ
ของการ์
ดเนอร์
คณิร่ตาางกาย
ศาสตร์
ระหว่
งบุคคล
ปัญญาด้ าน
มิติสัมพันธ์
ปัญญาด้ าน
รอบรู้ ธรรมชาติ
ปัญญาด้ าน
การเคลือ่ นไหวการ
ปัญญาด้ านดนตรี
แผนภาพปัญหาทั้ง 8 ด้ าน ตามทฤษฎีพหุปัญญาของการ์ ดเนอร์ (Spencer,1998)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์
12
ทฤษฏีการเรียนรู้ แบบร่ วมมือ (Slavin, Johnson&Johnson)
การเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ ซึ่งมีลกั ษณะสาคัญ 5 ประการ
1 มีการพึ่งพาอาศัยกัน (positive interdependence)
2 มีการปรึ กษาหารื อกันอย่างใกล้ชิด (face-to-face-promotive interaction)
3 สมาชิกแต่ละคนมีบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบที่สามารถตรวจสอบ
ได้ (individual accountability)
4 มีการใช้ทกั ษะการสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และทักษะการทางานกลุ่ม
(interpersonal and small group skills)
5 มีการวิเคราะห์กระบวนการกลุ่ม (group processing)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์
13
ลักษณะสาคัญของกระบวนการเรียนรู้
1 การเรี ยนรู้เป็ นกระบวนการทางสติปัญญา หรื อกระบวนการทางสมอง (a cognitive process)
2 การเรี ยนรู ้เป็ นงานเฉพาะตนหรื อเป็ นประสบการณ์ส่วนตัว (personal experience)
3 การเรี ยนรู้เป็ นกระบวนการทางสังคม (a social process )
4 การเรี ยนรู ้เป็ นกระบวนการที่เกิดขึ้นได้ท้ งั จากการคิดและการกระทารวมทั้งการแก้ปัญหา
และการศึกษาวิจยั ต่างๆ (thinking process)
5 การเรี ยนรู้เป็ นกระบวนการที่ตื่นตัว สนุก (active and enjoyable)
6 การเรี ยนรู้อาศัยสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม (nurturing environment)
7 การเรี ยนรู ้เป็ นกระบวนการที่เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ (anytime and anyplace)
8 การเรี ยนรู้คือการเปลี่ยนแปลง (change)
9 การเรี ยนรู ้เป็ นกระบวนการต่อเนื่องตลอดชีวิต (a lifelong process)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์
14
ทฤษฏีการเรียนรู้
หลักการเรี ยนรู ้ (Learning principle) หมายถึงข้อความรู ้ยอ่ ยๆ ที่
พรรณนา/อธิบาย/ทานาย ปรากฏการณ์ต่างๆ เกี่ยวกับการเรี ยนรู ้ ซึ่งได้รับ
การพิสูจน์ ทดสอบ ตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และได้รับการ
ยอมรับว่าน่าเชื่อถือได้ สามารถนาไปใช้ในการจัดกระบวนการเรี ยนรู ้
ให้แก่ผเู ้ รี ยนได้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์
15
หลักการเรียนรู้ เพือ่ การจัดการเรียนการสอน
ทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นศูนย์ กลาง
ส่ งเสริมให้ ผู้เรียน
1 สร้างความรู ้ดว้ ยตนเอง (construction) ด้วยการใช้กระบวนการเรี ยนรู ้
(learning process)
2 มีส่วนร่ วม (participation) อย่างตื่นตัว (active)
3 มีปฏิสัมพันธ์ (interaction) และร่ วมมือ ร่ วมใจ (co-operation) ในการ
แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ (share and learning)
4 ทากิจกรรมเพื่อพัฒนาทั้งสมองซีกซ้ายและขวา หรื อพัฒนาพหุ ปัญญา
(multiple intelligences)
5 นาความรู ้ไปใช้ และประยุกต์ใช้ (application)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์
16
สร้ างความรู้
กระบวนการ
ทางปัญญา
นาความรู้ การเรียนการสอนที่ (กระบวน
ไปใช้ เน้ นผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง การคิด)
( Child - centered
กระบวนการ
instruction )
ทางสังคม
มีปฏิสัมพันธ์
( กระบวน
มีส่วนร่ วม การกลุ่ม)
ในการเรียน
หลากหลายวิชาการ (บูรณาการ)
หลากหลายปัญญา (พหุปัญญา)
หลากหลายวิธีสอน
หลากหลายวิธีวดั และประเมินผล
หลากหลายแหล่ งความรู้
หลากหลายความสนใจ
ความสามารถ / ความถนัด
แผนภาพ การจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นศูนย์ กลาง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์
17
“การสอนให้ ได้ ผลดีนั้น ควรจะต้ องเริ่ มที่หลักการและจัดกระบวนการ
สอนให้ สอดคล้ องกับหลักการโดยใช้ รูปแบบการเรี ยนการสอน วิธีการ
สอน และเทคนิคการสอน ซึ่ งมีอยู่หลากหลายเข้ ามาช่ วยให้ กระบวนการ
สอนเกิดประสิ ทธิ ภาพสูงสุด”
(รองศาสตราจารย์ ดร.ทิศนา แขมมณี, 2545)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์
18