 เป็ นกระบวนการที่ผเู ้ รียนต้อง จัดกระทากับข้อมูล (acting on)  กระบวนการเรียนรูเ้ ป็ นกระบวนการ ปฏิสมั พันธ์ภายในสมอง (Internal mental interaction) และกระบวนการทางสังคม.

Download Report

Transcript  เป็ นกระบวนการที่ผเู ้ รียนต้อง จัดกระทากับข้อมูล (acting on)  กระบวนการเรียนรูเ้ ป็ นกระบวนการ ปฏิสมั พันธ์ภายในสมอง (Internal mental interaction) และกระบวนการทางสังคม.

 เป็ นกระบวนการที่ผเู ้ รียนต้อง
จัดกระทากับข้อมูล (acting on)
 กระบวนการเรียนรูเ้ ป็ นกระบวนการ
ปฏิสมั พันธ์ภายในสมอง
(Internal mental interaction)
และกระบวนการทางสังคม
การสร้ างความรู้
กระบวนการทางปัญญา
กระบวนการทางสั งคม
Cognitive Constructivism
Social Constructivism
Cognitive Constructivism
ทฤษฎีพฒ
ั นาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ (Piaget)
@ สติปัญญาของบุคคลพัฒนาตามลาดับขั้นตามวัย
1. ขั้นรับรู้ ด้วยประสาทสั มผัส
2. ขั้นก่ อนปฏิบัติการคิด
3. ขั้นคิดแบบรู ปธรรม
4. ขั้นคิดแบบนามธรรม
@ การเรียนรู้ ของบุคคล
เกีย่ วข้ องกับ
การดูดซึม (Assimilation)
การเกิดภาวะไม่ สมดุล
(Disequilibrium)
และการปรับสภาวะให้ สมดุล
(Accommodation)
กระบวนการเรียนรู้
กระบวนการทางปัญญา
(cognitive process)
สิ่ งเร้ า
การดูดซึม
(assimilation)
แสดงออก
ผลการเรียนรู้
โครงสร้ างทางสติปัญญา
(schema)
กระบวนการเรียนรู้ โดยการดูดซึม (assimilation)
กระบวนการเรียนรู้
กระบวนการทางปัญญา
(cognitive process)
แสดงออก
สิ่ งเร้ า
ผลการเรียนรู้
โครงสร้ างทางสติปัญญา
สภาวะไม่ สมดุล
(disequilibrium)
สภาวะไม่ สมดุล (disequilibrium) ในกระบวนการเรียนรู้
กระบวนการเรียนรู้
กระบวนการทางปัญญา
(cognitive process)
โครงสร้ างทางสติปัญญา
(schema)
สิ่ งเร้ า
แสดงออก
ผลการเรียนรู้
กระบวนการปรับ
สภาวะให้ สมดุล
(accommodation)
กระบวนการปรับสภาวะให้ สมดุล (accommodation) ในกระบวนการเรียนรู้
Social Constructivism
ทฤษฎีพฒ
ั นาการเชาวน์ ปัญญาของไวกอตสกี (Vygotsky)
สั งคมและวัฒนธรรมมีอทิ ธิพลต่ อการพัฒนาเชาวน์ ปัญญา
ของเด็ก
ภาษาเป็ นเครื่องมือของการคิด การพัฒนาเชาวน์ ปัญญา
ขั้นสู ง การใช้ เหตุผลและความสามารถในการจา
บุคคลมีความสามารถในการเรียนรู้ แตกต่ างกัน บางคน
เรียนรู้ สิ่งใหม่ ได้ ด้วยตนเอง บางคนจะเรียนรู้ ได้ กต็ ่ อเมื่อ
ได้ รับการชี้แนะช่ วยเหลือ
เน้ นความสาคัญของการชี้แนะ การช่ วยเหลือ
ทฤษฎีการสร้ างความรู้ ด้วย
ตนเองโดยการสร้ างสรรค์
ชิ้นงาน
Constructionism
Constructionism
 มีพนื้ ฐานมาจากทฤษฎีพฒ
ั นาการทางสติปัญญา
ของเพียเจต์ (Piaget)
 ผู้พฒ
ั นาทฤษฎี คือ Seymour Papert
 การเรียนรูท้ ี่ดีเกิดจากการสร้างพลังความรู ้
ในตนเอง และด้วยตนเองของผูเ้ รียน
 การให้ผเู ้ รียนสร้างความคิดและนาความคิด
ของตนไปสร้างสรรค์ช้ ินงานโดยอาศัยสื่อ
และเทคโนโลยีที่เหมาะสม จะทาให้
เห็นความคิดเป็ นรูปธรรมชัดเจน
@ การใช้ สื่อ เทคโนโลยี วัสดุ และอุปกรณ์
ต่ างๆ ทีเ่ หมาะสมในการให้ ผู้เรียนสร้ างสาระ
การเรียนรู้ และผลงานต่ างๆ ด้ วยตนเอง
Constructivism
Constructionism
การสร้ างความรู้
การสร้ างความรู้
การสร้ างสรรค์ ชิ้นงาน
กระบวนการ
ทางปัญญา
กระบวนการ
ทางสั งคม
การใช้ สื่อเทคโนโลยี วัสดุ อุปกรณ์ ที่เหมาะสม
กระบวนการทางปัญญา
รู ปแบบ/ลักษณะ
กิจกรรม/วิธีการสอน
รูปแบบ/ลักษณะ
หลักสู ตร
การจัดหลักสู ตร
การจัดบรรยากาศ
และสภาพการเรียนรู้
บทบาทของครู
บทบาทของผู้เรียน
กระบวนการ
เรียนการสอน
การประยุกต์ ใช้ ทฤษฎี
Constructivism
และ Constructionism
ในการเรียนการสอน
สื่ อการเรียนรู้
การประเมินผล
รู ปแบบ/ลักษณะ
กิจกรรม/วิธีการอน
บทบาทของครู
บทบาทของผู้เรียน
กระบวนการ
เรียนการสอน
สื่ อการเรียนรู้
การวิเคราะห์
การจัดการเรียนการสอน
การจัดบรรยากาศ
และสภาพการเรียนรู้