ดาวน์โหลดไฟล์แนบ - otopphitsanulok.com

Download Report

Transcript ดาวน์โหลดไฟล์แนบ - otopphitsanulok.com

เครื่องมือวิเคราะห์งานพัฒนาชุมชน
นายเอกราช ญาณอุบล พัฒนาการอาเภอลาดหลุมแก้ว
หลักสูตรฝึกอบรมนักวิชาการพัฒนาชุมชน (ผู้ช่วยหัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน)
ทำไมต้องวิเครำะห์งำน/ภำรกิจ
 งำนพัฒนำชุมชนมีลกั ษณะเป็ นองค์รวม
 ภำรกิจย่อย/งำนย่อยเป็ นส่วนหนึง่ ของชิ้นงำนใหญ่/ภำรกิจใหญ่
ภำรกิจงำนส่งเสริมเศรษฐกิจฐำนรำก
ทุนชุมชน
กำรผลิต
กลุม่
อำชีพ
กลุม่ ออม
ทรัพย์
กทบ.
ฯลฯ
กข.คจ.
กลุม่
อำชีพ
SMEs
ฯลฯ
กำรตลำด
กลุม่
Airport
ห้ำงสรรพ
สินค้ำ
ปัจจัยทำงเศรษฐกิจ
กลุม่
OTOP
ฯลฯ
กรุงเทพ
ภูมภิ ำค
กิจกรรม
ศก.พพ.
วิสำหกิจ
ชุมชน
อัตราการเปลี่ยนแปลง
อดีต – เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบช้า บางกรณีเป็นการเปลี่ยนแปลง
ตามสภาวะธรรมชาติ/สิ่งแวดล้อม
ปัจจุบัน - อัตราเร่งการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น รวดเร็ว-รุนแรง-คาดการณ์ได้ยาก
ทฤษฎีใหม่...ในการอธิบายความเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน
Chaos Theory : ทฤษฎีไร้ระเบียบ
อิทธิพลของโลกาภิวัตน์
หลากหลายช่องทาง
หลากหลายแหล่ง
ตลอดเวลา
การหลั่งไหลของข้อมูลข่าวสาร รวดเร็ว หลากหลายทิศทาง
การรับรู้
อิทธิพลของข้อมูลข่าวสารทาให้ความสัมพันธ์ทางสังคม
เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
ไม่เป็นเส้นขนาน
กวัดแกว่ง
อ่อนไหว
หลากหลายรูปแบบ
ไม่ยอมรับ
หากไม่เข้าใจ
การเปลี่ยนแปลง
สับสน
คับข้องใจ
ไม่มีความสุข
ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว อ่อนไหว กวัดแกว่ง – สังคมก็ยังพยายามที่จะ
รักษาสมดุลย์ทางสังคมไว้ การเปลี่ยนแปลงที่รู้สึกได้นาทีต่อนาที
 ภำรกิจหรืองำนต่ำงๆ ล้วนเป็ นเหตุส่งผลต่อปัจจัยอืน่ ๆ ทัง้ ทำงบวก ทำง
ลบ ทัง้ ด้ำนสนับสนุน เอื้ออำนวย และในด้ำนกีดกัน เป็ นอุปสรรค
 กำรวิเครำะห์งำนทำให้เรำยิง่ เห็น Insight ในกำรปรับปรุง พัฒนำปัจจัยให้
เอื้ออำนวย เกิดประโยชน์ เกิดกำรพัฒนำในทำงบวก
บทบาทและหน้าที่ของนักบริหาร นักวิชาการ
เป็นนักบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management) โดย
ยอมรับการเปลี่ยนแปลง
เข้าใจการเปลี่ยนแปลง
คาดการณ์ทิศทางการเปลี่ยนแปลงได้
คิดกลยุทธ์ใหม่ๆ เพื่อตอบสนองเป้าหมาย
ในบริบทที่เปลี่ยนแปลง
เครื่องมือวิเคราะห์ธุรกิจ
Importance/Performance Matrix
Importance
ความคาดหวัง/การให้ความสาคัญ
1O
O
Fix
Low Priority
เป็นจุดเด่น
ทาให้ยั่งยืน
Excel
1.ลูกค้าไม่สนใจ แต่เรา
ทามาก ควรตัดสินใจลด
ทรัพยากรไปทาใน Fix
หรือ Excel
2.บางกรณีต้องสื่อสาร
เพิ่มเป็นหลัก ลูกค้าไม่
get แม้เป็นเรื่องที่ดี
Overkill
ทบทวนการจัดสรรทรัพยากร
Performance
การตอบสนองต่อ Customer Needs
1O
แนวคิด IP Matrix
• IP Matrix เป็ นเครือ่ งมือวิเครำะห์สนิ ค้ำ/ผลิตภัณฑ์/กำรบริกำร
โดยพิจำรณำในประเด็นสำคัญ 2 ประเด็น คือ
I = Importance (มีความสาคัญ)
P = Performance (ทาได้ดี)
องค์ประกอบย่อย IP Matrix
I = Importance
-เป็ นภำรกิจหลักตำมยุทธศำสตร์กรม
-มีควำมสำคัญในกำรพัฒนำควำมเข้มแข็งของชุมชน
-กลุม่ เป้ ำหมำยให้ควำมสำคัญ ตอบรับกำรทำงำนเป็ นอย่ำงดี
-เป็ นนโยบำยทีผ่ ู บ้ ริหำรให้ควำมสำคัญ
องค์ประกอบย่อย IP Matrix
P = Performance
-เจ้ำหน้ำส่วนใหญ่มคี วำมสำมำรถทำได้ดกี ว่ำคู่แข่ง/เหนือคู่แข่ง
-มีผลงำนทีเ่ ป็ นรูปธรรม ประชำชน/บุคคลทัว่ ไปเห็นได้ชดั เจน
แสดงกำรยอมรับ
-มีทรัพยำกรสนับสนุน
การประยุกต์ใช้ Boston Model
ในการวิเคราะห์งาน พช.
ควำมสำคัญ/ทีม่ ำของ Boston Model
กำรพัฒนำยุทธศำสตร์ระดับบริษทั หรือระดับองค์กำร ทำได้ 2 แบบ
แบบที่ 1 เป็นการกาหนดยุทธศาสตร์โดยรวม
เรียกว่า Grand Strategy เป็นยุทธศาสตร์ที่ไม่
เจาะจงครอบคลุมเกือบทุกด้าน ถูกกาหนด
ขึ้นมาเพื่อชี้นาการปฏิบัติหลักๆ เพื่อให้
องค์การบรรลุเป้าหมายระยะยาว
แบบที่ 2 เป็นการกาหนดยุทธศาสตร์แบบ
เลือกการลงทุนในหน่วยธุรกิจ หรือ
Portfolio Strategy ซึ่งเกี่ยวข้องกับการ
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ และตาแหน่งของ
หน่วยธุรกิจ (Strategic Business Unit :
SBU) เพื่อสร้างส่วนผสมที่จะทาให้บรรลุ
เป้าหมายขององค์การอย่างดีที่สุด
 BCG Matrix เป็ นโมเดล ทีใ่ ช้วเิ ครำะห์ด้ำนกำรเงินกำรลงทุนเกีย่ วกับกำรตลำด โดยกำร
เริม่ ต้นของ GE (General Electric) และ Boston Consulting Group (BCG) BCG
matrix จะแสดงฐำนะหรือควำมแข็งแกร่งของบริษทั เมือ่ เทียบกับตลำดสินค้ำนัน้ ๆ โดยใช้เกณฑ์ใน
กำรพิจำรณำ 2 เกณฑ์ คือ
1. ส่วนแบ่งตลำดเชิงเปรียบเทียบ (Relative Market Share) เป็ นกำรเปรียบเทียบกับคู่ แข่ง
ว่ำส่วนแบ่งตลำดของผลิตภัณฑ์ของบริษทั เป็ นกีเ่ ท่ำเมือ่ เทียบกับคู่แข่งทีส่ ำคัญ
2.ควำมน่ำสนใจของตลำด (Market Attractiveness) หรือ อัตรำกำรเติบโตของตลำด
สินค้ำ (Market Growth Rate) คือ อัตรำกำรขยำยตัวของตลำดสินค้ำทัง้ ตลำดไม่ใช่ของ
บริษทั เพรำะเกณฑ์ทใี่ ช้นเ้ ี พือ่ ต้องกำรดูว่ำตลำดสินค้ำนัน้ ๆ มีควำมน่ำสนใจมำกน้อยเพียงใด
Boston Model
แบบจำลองที่ใช้ทั้งอัตรำขยำยตัวของตลำด (Market
Growth) และ ส่วนแบ่งตลำดของธุรกิจ (Market Share)
เป็นเกณฑ์ในกำรวิเครำะห์ เพื่อให้ผู้บริหำรทรำบ
ตำแหน่งธุรกิจ(งำน)ของตน และเลือกวำงกลยุทธ์
รวมถึงจัดสรรทรัพยำกร ทำงกำรเงินกำรบริหำรของ
องค์กรได้อย่ำงเหมำะสม
Boston Model แบ่งธุรกิจเป็น 4 ประเภท
Stars (ดำวรุ่ง) คือ ธุรกิจ(งำน)ทีม่ ีสว่ นแบ่งตลำดเพิม่ ขึน้
สอดคล้องกับภำวะตลำดโลกของผลิตภัณฑ์นนั้ ที่ขยำยตัว
ในอัตรำสูง จึงจัดเป็น “ธุรกิจดำวรุ่ง” ที่ทำเงินได้สูง
ธุรกิจประเภทนี้ควรมีค่ำใช้จ่ำยในกำรขยำยกำรผลิต กำร
โฆษณำและประชำสัมพันธ์ในระดับสูงเพื่อเพิ่มยอดขำย
และรักษำส่วนแบ่งตลำด (ลูกค้ำชอบ เรำทำได้ดี)
Cash Cows (แม่วัว) คือ ธุรกิจทีม่ ีสว่ นแบ่งตลำดเพิม่ ขึ้น
ขณะทีภ่ ำวะตลำดโลกของผลิตภัณฑ์นั้นขยำยตัวในอัตรำ
ต่ำ หรือหดตัวลงผู้ประกอบกำรจึงควรพยำยำมรักษำฐำน
ตลำดเดิม โดยอำจเพิ่มกลยุทธ์ในเชิงรุกมำกขึ้น (ลูกค้ำ
ชอบ แต่เรำทำได้น้อย)
Problem Children / Question Marks (เด็กมีปัญหำ) คือ
ธุรกิจที่มีส่วนแบ่งตลำดลดลง ขณะที่ภำวะตลำดโลก
ของผลิตภัณฑ์นั้นขยำยตัวในอัตรำสูง มักเป็น ธุรกิจ
ที่อยู่ ในช่วงเริ่ มเข้ำสู่ ตลำด ผู้ประกอบกำร
จึง
จ ำเป็ น ต้ อ งติ ด ตำมอย่ ำ งใกล้ ชิ ด (ลู ก ค้ ำ ลดลง ไม่
ต้องกำร ยังไม่เห็นคุณค่ำ แต่เป็นงำนมีคุณค่ำ ต้อง
สื่อสำรกับลูกค้ำเพิ่มขึ้น)
Dogs (สุนัข) คือ ธุรกิจที่ทั้งส่วนแบ่งตลำดและภำวะ
ตลำดโลกของผลิต ภั ณ ฑ์ นั้ น มี อั ตรำขยำยตั ว ลดลง
ทั้งนี้ ธุรกิจอำจเริ่มมีกำไรต่ำ หรือเข้ำสู่สภำวะขำดทุน
และอำจต้ อ งหยุ ด ด ำเนิ น กิ จ กำรในที่ สุ ด (ลู ก ค้ ำ ไม่
ต้องกำร เรำก็ทำสู้คู่แข่งขันไม่ได้)
Boston Model
การนาไปใช้ประโยชน์
นำผลกำรวิเครำะห์ไปกลยุทธ์ 4 รูปแบบ ดังนี้
1. question marks  กลยุทธ์สร้ำง (build strategy) หรืออำจเรียกอย่ำง
หนึง่ ว่ำ กลยุทธ์เพิม่ กำรลงทุน (invest strategy)
2. strong cash cows กลยุทธ์รกั ษำ (hold strategy) หรืออำจเรียกอย่ำง
หนึง่ ว่ำ กลยุทธ์ป้องกัน (protect strategy)
3. weak cash cows กลยุทธ์เก็บเกีย่ ว (harvest strategy)
4. dogs + question masks กลยุทธ์ถอนตัว (divest strategy)
The End