24122-5 - กองทัพเรือ

Download Report

Transcript 24122-5 - กองทัพเรือ

การปฏิบตั ิ การร่ วม
Joint Operations
1
การยทุ ธร่ วม/ผสม
Joint/combine Operations
Capt SAYNIS DANSUPUTRA
Royal Thai Navy
ขอบเขตในการบรรยาย
กล่ าวทั่วไป
หลักการของการยุทธร่ วม/ผสม
การจัดพืน
้ ที่
ปัจจัยแห่ งความสาเร็จ
การจัดหน่ วยและการบังคับบัญชา
หลักนิยมการวางแผนร่ วมในการใช้ กาลังทั้งสามเหล่ าทัพ
กล่ าวทั่วไป
การปฏิบัติการรบของกาลังแต่ ละเหล่ าทัพ ในอดีตทีผ่ ่ านมา
ได้ ใช้ การปฏิบัติการในลักษณะแยกกันทาการรบตามลาพังเป็ นส่ วนใหญ่ ได้ เกิด
แนวคิดว่ า เนื่องจากแต่ ละเหล่ าทัพมีคณ
ุ ลักษณะ
ขีดความสามารถ และข้ อจากัดที่แตกต่ าง หากได้ นากาลังเข้ าผสมผสานกัน
โดยให้ กาลัง แต่ ละเหล่ า ทัพน าขีด ความสามารถเฉพาะเหล่ า สนั บสนุ นการ
ปฏิบัติซึ่งกันและกันอย่ างใกล้ ชิด โดยม่ งุ เข้ า
ปฏิบัติต่อจุดหมายเดียวกัน จะทาให้ บรรลุผลสมความม่ ุงหมายได้ ง่ายกว่ า
การใช้ กาลังของแต่ ละเหล่ าทัพแยกการปฏิบัติเป็ นเอกเทศ แนวความคิ ดนี้จึง
เป็ นทีม่ าของการปฏิบัติการร่ วม

ทำไมต้องมีกำรยุทธร่วม
 ตามทีไ่ ด้ กล่ าวไว้ ข้างต้ นบ้ างแล้ วว่ าการสงครามสมัยใหม่
เหล่ าทัพใดเหล่ าทัพหนึ่งไม่
สามารถปฏิบตั ิการเพียงลาพังแล้ วได้ ชัยชนะ และหากพิจารณาการรบสาคัญ ๆ ตั้งแต่
สมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ เป็ นต้ นมา ไม่ ว่าจะเป็ นสงครามเวียดนาม สงครามฟอล์ ก
แลนด์ หรือสงครามอ่ าวเปอร์ เซีย ก็ดี การดาเนินกลยุทธจะค่ อนข้ างซับซ้ อน ทุกอย่ าง
จะดาเนินการ ไปอย่ างรวดเร็ว เนื่องจากข้ อมูลข่ าวสารจะลื่นไหลไปอย่ างรวดเร็ว แนว
การยุทธจะเปลี่ยนแปลงไปอย่ างรวดเร็วในแต่ ละมิติ ทัง้ ในอากาศ ในทะเล และบน
พืน้ ดิน การทีท่ ุกอย่ างเปลี่ยนแปลงอย่ างรวดเร็ วและค่ อนข้ างสลับซับซ้ อนนี่เอง เหล่ า
ทัพเดียวคงไม่ สามารถรับมืออยู่ ต้ องมีการผสมผสานขีดความสามารถของทุกเหล่ า
ทัพเข้ าด้ วยกัน ภายใต้ การอานวยการรบอย่ างมีเอกภาพ เพือ่ นาไปสู่ เป้ าหมายเดียวกัน
คือ ชัยชนะ
คาจากัดความในการยทุ ธร่ วม/ผสม
 ร่ วม (
Joint) กิจกรรมการปฏิบัติการ ฯลฯ ซึ่งมีหน่ วยต่ างๆ ของ
เหล่ าทัพมากกว่ าหนึ่งเหล่ าทัพของชาติเดียวกันเข้ าร่ วม
 ผสม ( Combined) ระหว่ างกาลังหรื อหน่ วยตั้งแต่ สองส่ วนขึน
้ ไป
ของชาติพนั ธมิตรตั้งแต่ สองชาติขนึ้ ไป ( หากชาติพนั ธมิตรหรื อ
เหล่ าทัพทั้งหมดมิได้ ปฎิบตั ิร่วมกันก็จะต้ องบ่ งชาติและเหล่ าทัพที่
ปฎิบัติร่วมกันให้ ชัดเจน)
 การยท
ุ ธร่ วม(Jiont Operation) ปฎิบัติการทางทหารทีใ่ ช้ กาลังรบ
หลักของชาติเดียวกันตั้งแต่ สองเหล่ าทัพขึ้นไป เพือ่ บรรลภุ ารกิจ
เดียวกันภายใต้ การบังคับบัญชาทางยทุ ธการหรื อควบคมุ ทาง
ยทุ ธการของผ้ บู ัญคับบัญชาเพียงคนเดียว
คาจากัดความในการยทุ ธร่ วม/ผสม (ต่ อ)
การยท
ุ ธผสม (
Combined Operations) ปฎิบัติการซึ่งมีกาลัง
ของพันธมิตรตั้งแต่ สองชาติขนึ้ ไปร่ วมกันปฎิบัติเพื่อบรรลภุ ารกิจ
เดียวกันภายใต้ การบังคับบัญชาของผ้ บู ังคับบัญชาเพียงคนเดียว
เขตสงคราม คือ พืน
้ ที่ทางบก ทางทะเล และทางอากาศ ซึ่งอาจ
เกีย่ วข้ องกับการทาสงคราม เขตสงครามไม่ มีขอบเขตจากัด อาจ
ประกอบด้ วยยทุ ธบริ เวณแห่ งหนึ่งหรื อมากกว่ า
พืน
้ ทีส่ งคราม คือ เขตสงครามสาหรั บการปฏิบัติการยทุ ธร่ วมและ
การยทุ ธผสม
กาลังทางบก
กาลังรบหลัก
มีกองกาลังทีส่ าคัญ ๓ ประเภท
 กองกาลังทางบก เป็ นกองกาลังภาคพืน
้ ดินอย่ ใู นความรับผิดชอบ
ของเหล่ าทัพบก มีลักษณะสาคัญคือเป็ นหน่ วยกาลังเพื่อปฏิบัติการ
รบในสภาพแวดล้ อมทางบกอย่ างต่ อเนื่อง สภาพแวดล้ อม
ประกอบด้ วย ผิวพืน้ โลก รวมทั้งเขตน้าและห้ วงอากาศที่ต่อเนื่อง
เป็ นหน่ วยกาลังทีใ่ ช้ ดาเนินการเด็ดขาดในขั้นสุดท้ าย เมื่อชาติ
ต้ องการบังคับอีกชาติหนึ่งให้ ทาตามประสงค์
ขีดความสามารถของกาลังทางบก
เป็ นกาลังที่สามารถยึดครองพืน
้ ที่ประชาชน
และทรั พยากร
ได้ โดยตรงอย่ างต่ อเนื่องและกว้ างขวาง
เป็ นกาลังทีใ่ ช้ ดาเนินการโดยเด็ดขาดในขัน
้ สุดท้ ายเพือ่ บังคับ
ให้ อีกฝ่ ายหนึ่งปฏิบัติตามความประสงค์ ของตน
เป็ นกาลังหลักในการรั กษาเสถียรภาพ และความ มั่งคง
ภายใน
ข้ อจากัด
 การเคลือ
่ นทีจ่ ากัดขึ้นอย่ กู บั ลักษณะภูมิประเทศ
และประเภทของ
หน่ วย
 ต้ องการการสนับสนุนการส่ งกาลังอย่ างต่ อเนื่อง
 เป็ นเป้ าหมายที่เสี ยเปรี ยบ และล่ อแหลมต่ อการโจมตีทางอากาศและ
การระดมยิงจากทางทะเล
การปฏิบัติการของกาลังทางบก
กอให
่
้เกิดชัยชนะ
เด็ดขาด มุ่งก่อให้เกิดความได้เปรี ยบเฉพาะพื้นที่ ณ ตาบลที่
ต้องการ
 การปฏิบัติการรบด้ วยวิธีรับ
เพือ
่ รักษาภูม ิ
ประเทศป้ องกันข้าศึกมิให้เข้าในพื้นที่ โดยจะทาลายหรื อทาความ
เสี ยหายให้แก่ฝ่ายเข้าตี
 การปฏิบัติการรบด้ วยวิธีร่นถอย เป็ นการปฏิบตั ิการรบเพื่อ
เคลื่อนย้ายกาลังไปข้างหลังหรื อออกห่างจากข้าศึก เพื่อถนอมกาลัง
หลีกเลี่ยงการรบภายใต้สถานการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ของฝ่ ายเรา เพื่อ
ดึงข้าศึกเข้ามาสู่พ้นื ที่ที่ไมเกื้อกูลต่อข้าศึกเอง
 การปฏิบัติการรบด้ วยวิธีรุก
พล.ม.๑
พล.ร.๔ ทภ.๓
พล.๑ รอ.
พล.ร.๓
ทภ.๒
พล.ร.๖ พล.รพศ.
ทภ.๑
พล.ม.๒
พล.ร.๙ พล.ร.๑๑
พล.ร.๒ รอ.
พล.ร.๑๖
ทภ.๔
พล.ร.๕
13
กองกาลังทางเรือ
กองกาลังทางเรือ
เป็ นกองกาลังทางทะเล อยู่ใน
ความรับผิดชอบของเหล่ าทหารเรือ มีลกั ษณะ
ประการสาคัญคือเป็ นหน่ วยปฏิบัติการในทะเล
โดยใช้ เรือเป็ นอาวุธหลักเป็ นหน่ วยกาลังเพือ่ ให้
ได้ มาและรักษาไว้ ซึ่งการควบคุมทะเลไม่ ให้ ข้าศึก
ใช้ ทะเลให้ เป็ นประโยชน์ การรักษาเส้ นทาง
คมนาคมทางทะเล และป้ องกันฝั่ง
คณ
ุ ลักษณะของกาลังอานาจทางทะเล
 ความคล่ องตัว (
Mobility)
 ความสามารถปฏิบัติงานได้ หลายประเภท(Versatility)
 ความสามารถปฏิบัติการในระยะไกลและอย่ ใู นพืน
้ ทีไ่ ด้ นาน (
Sustained Reach)
 ความสามารถในการฟื้ นตัว (Resilience)
 ความสามารถในการลาเลียง (Lift Capability)
 ความสามารถวางกาลังพร้ อมอย่ ใู นพืน
้ ทีป่ ฏิบตั ิการได้ นาน(Poise)
 การใช้ กาลังทางเรื อเพือ
่ คานอานาจกาลังทางกาลังทางบก
(Leverage)
 การปฏิบัติการร่ วมระหว่ างเหล่ าทัพ( Joint
Attributes)
 การปฏิบัติการผสมกับพันธมิตร (Combined Attributes)
 การสนับสนุนด้ านการข่ าวกรองและข้ อมูลจากภายนอก
(Intelligence and External Information Support)
 ความมีประสิ ทธิผลด้ านค่ าใช้ จ่าย( Cost Effectiveness)
 อายก
ุ ารใช้ งาน( Life Cycle)
ทภ.๓
ทภ.๑
ทภ.๒
กภ.๑
กภ.๓
ทภ.๔
กภ.๒
18
กาลังทางอากาศ
เป็ นความรั บผิดชอบของเหล่ าทัพอากาศมี
ลักษณะประการสาคัญคือเป็ นหน่ วยปฏิบัติการทัง้ ในอากาศ และห้ วง
อวกาศ โดยใช้ เครื่ องบินเป็ นหลัก เป็ นหน่ วยกาลังทีม่ ีความสาคัญยิง่
ในการสนับสนุน กองกาลังทางบก และกองกาลังทางเรื อในการ
ปฏิบัติการ ด้ วยภารกิจต่ างๆได้ แก่ ภารกิจการสนับสนุนทางอากาศ
โดยใกล้ ชิด การลาดตระเวนทางอากาศ การลาเลียงทางอากาศ และ
การปฏิบัติการทางอากาศอื่นๆที่จาเป็ น ทั้งนี้จะต้ องมีการจัดตั้งระบบ
การรบร่ วมระหว่ างเหล่ าทัพและต้ องมีคาขอรั บการสนับสนุน
 กองกาลังทางอากาศ
คณ
ุ ลักษณะพิเศษทีแ่ ตกต่ างจากเหล่ าทัพอื่น
 ความเร็ ว
 พิสัยบิน
 ความอ่ อนตัว
 ความแม่ นยา
ขีดความสามารถของกาลังทางอากาศ
การตอบสนอง(ตามสถานการณ์ทนั ท่วงที)
 ความคล่องตัว(สามารถเคลื่อนย้าย รวมกาลังปฏิบต
ั ภิ ารกิจได้อย่างรวดเรว)
 ความอยูร่ อด( เทคโนโลยี ความรวดเรว ความแม่นยา ทาให้อากาศยานมี
ความอยูร่ อดสูง)
 การแสดงท่าที(การป้องปราม)
 อานาจการทะลุทะลวง
 อานาจการทาลาย
 การตรวจการณ์

ระบบการรบร่ วม
ระบบการปฏิบัติทก
ี่ าหนดให้ ใช้ ในการปฏิบัติการยทุ ธร่ วม
หรื อการทีก่ าลังต่ างเหล่ าทัพปฏิบัติการสนับสนุนซึ่งกันและ
กันหรื อรั บการสนับสนุน ระบบเหล่ านี้กค็ อื ระเบียบที่
กาหนด ผ้ ปู ฎิบัติ การปฏิบัติ กรรมวิธีในการปฏิบัติ และ
ห้ วงเวลาในการปฏิบัติ
หลักการของการยทุ ธร่ วม และ ยทุ ธผสม
 สนธิขีดความสามารถของต่ าง
เหล่ าทัพ /เหล่ าทัพต่ างชาติ
ด้ วยกัน (Integration of
Forces)
 เอกภาพในการบังคับบัญชา
( Unity of Command)
 ม่ งุ หน้ าปฏิบัติให้ สาเร็ จภารกิจ
แต่ ด้านเดียว(Objectivity)
 ผ้ บ
ู ังคับบัญชาต้ องมีฝ่าย
อานวยการร่ วม/ฝ่ ายเสนาธิ
การผสม (Joint Staff/
Combined Staff )
สนธิขีดความสามารถของต่างเหล่าทัพเข้า
ด้วยกัน(Integration of forces)
การใช้ คุณลักษณะและขีดความสามารถทีแ่ ตกต่ างกัน
ของกองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ มา
ผสมผสานดาเนินการต่ อภารกิจเดียวกันให้ เกือ้ กูลซึ่ง
กันและกันอย่ างใกล้ ชิด

เอกภาพในการบังคับบัญชา
(Unity of Command)
การกาหนดตัวผ้ บ
ู ังคับบัญชาแต่ เพียงคนเดียวทีจ่ ะสั่ง
ใช้ กาลังเหล่ าทัพต่ างๆ เพือ่ ปฎิบัติให้ บรรลภุ ารกิจตามที่
ได้ รับมอบ ทั้งนี้เพือ่ ให้ หน่ วยกาลังเหล่ าต่ างๆ
ปฎิบัติงานไปในทางทีจ่ ะรวมกาลังและสอดคล้ อง
ผสมผสานกัน
ดารงความม่ ุงหมาย หรื อ ม่ ุงหน้ าปฏิบัติให้
สาเร็ จภารกิจแต่ ด้านเดียว(objectivity)
การกระทาเพือ่ ทีจ
่ ะให้ ผ้ บู ังคับหน่ วยกาลังรบร่ วม
สามารถท่ ุมเทความสามารถของหน่ วยไปในการ
ปฎิบัติการให้ สาเร็จภารกิจแต่ เพียงประการเดียวโดย
ไม่ ต้องห่ วงหรื อรั บผิดชอบในงานธุรการ
ผ้ บู ังคับบัญชาต้ องมีฝ่ายอานวยการ/ฝ่ ายเสนาธิ
การร่ วม( Joint Staff)
เนื่องจากเป็ นการยากทีผ
่ ้ บู ังคับบัญชาและฝ่ าย
อานวยการของผ้ บู ังคับบัญชา แต่ เพียงเหล่ าเดียวจะไม่
สำมำรถรอบร้ ูคณ
ุ ลักษณะ การจัด เทคนิค หลักนิยม
และการใช้ กาลังของต่ างเหล่ าทัพได้ ดที ดั เทียมกับผ้ ทู ี่
อย่ ใู นเหล่ าทัพของเขาเอง ดังนั้นจึงจาเป็ นต้ องมีฝ่าย
อานวยการ/ฝ่ ายเสนาธิการ ทาหน้ าทีช่ ่ วยเหลือในการ
ใช้ กาลังเหล่ าทัพอื่นๆ
การบังคับบัญชา Command
การบังคับบัญชาเต็มที่ (FULL Command) สั่งการทุกด้ าน ธุรการ กาลังพล
ส่ งกาลังบารุง ยทุ ธการ
 การบังคับบัญชาทางธุรการ(Administrative Command)เฉพาะ กพ,กบ
 การบังคับบัญชาทางยท
ุ ธการ( Operational Command)เฉพาะ ยก
 การควบคม
ุ ( Control) มิใช่ หน่ วยใต้ บังคับบัญชา ได้ รับมอบหมายมาอีกต่ อ
หนึ่ง อานาจอาจจะเป็ นทัง้ หมด หรื อบางส่ วน อาจมอบหรื อแบ่ งให้ ผ้ อู ื่นได้
 การมอบอานาจ( Delegation of Authority)
 การควบคม
ุ ทางยทุ ธการ( Operational Control)
 การบังคับบัญชาและการควบคม
ุ (Command and Control)

การบังคับบัญชา (ต่ อ)
ระบบการบังคับบัญชาและการควบคม
ุ (
Command and
Control System)
สายการบังคับบัญชา(Chain of Command)
สายการบังคับบัญชาทางยท
ุ ธการ( Operational Chain of
Command) จัดตั้งเพือ่ การยทุ ธเฉพาะครั้ ง
สายการบังคับบัญชาทางธุรการ(
Administration Chain
of Command) สายการบังคับบัญชาตามปกติ
การบังคับบัญชา การควบคม
ุ การติดต่ อสื่อสารและข่ าวสาร
( Command Control Communication and
Information = C3I) ระบบรวมซึ่งประกอบ หลักนิยม
ระเบียบการ โครงสร้ างการจัดหน่ วยกาลังพลยทุ ธภัณฑ์ สิ่ง
อานวยความสะดวกและการสื่อสาร
การจัดพืน้ ที่สงคราม
พื้นที่นอกประเทศ/พื้นที่อิทธิพลของข้าศึก
แนวจากัดการรุ ก
แนวชายแดน
พื้นที่การรบ
แนวไม่
ยอม ขา้ ศึกผ่าน
แนวไม่
ยอมให้
เขตหลัง
การจัดพืน้ ที่
พืน้ ทีส่ งครามแบ่ งออกเป็ น ๓ พืน้ ทีห่ ลัก
พืน
้ ที่นอกประเทศ/พืน้ ที่อิทธิพลของข้ าศึก
พืน
้ ที่การรบ
พืน
้ ที่เขตหลัง
พืน้ ที่นอกประเทศ/พืน้ ที่อิทธิพลของข้ าศึก
พืน
้ ที่ซึ่งข้ าศึกยึดครองด้ วยกาลัง
ในยามปกติพนื้ ที่
นอกประเทศ/พืน้ ที่อิทธิพลของข้ าศึก คือ พืน้ ทีน่ อก
แนวชายแดนปัจจบุ ัน ในยามสงคราม พืน้ ทีอ่ ิทธิพล
ของข้ าศึกเปลี่ยนแปลงไปตาม ไปตามสถานการณ์ รบ
หรืออาจหมายถึงพืน้ ที่ภายในประเทศบางส่ วนที่ถูก
ข้ าศึกยึดครอง
พืน้ ที่การรบ
พืน
้ ที่ซึ่งใช้ หรือคาดว่ าจะใช้ ในการปฏิบัติการบเพือ่
ป้ องกันประเทศ ส่ วนใหญ่ เป็ นการรบตามแบบ
พืน้ ที่เขตหลัง
พืน
้ ที่หลังแนวทีไ่ ม่ ยอมให้ ข้าศึกผ่ าน ทั้งนี้รวมทัง้ พืน้ ที่
ทีเ่ หลือของประเทศไทยทัง้ หมด
การจัดพื้นทีป่ ฏิบตั กิ ารร่วม
ช่วยในการประสานงานและป้ องกันการสับสน ผบ.กาลังรบร่วมเป็ นผูก้ าหนด
 พืน
้ ที่ปฏิบตั ิ การร่วม Joint Operations Area (JOA)พืน้ ที่ทางพืน้ ดิน ทะเล และ
อากาศเพื่อปฏิบตั ิ การทหารได้สาเร็จภารกิจ จะเกิดประโยชน์ เมื่อมีการจากัด
ขอบเขตและพืน้ ที่
 พืน
้ ที่ปฏิบตั ิ การพิเศษร่วมJoint Special Operations Area (JSOA) เป็ นพืน้ ที่
ปฏิบตั ิ การร่วม สาหรับการปฏิบตั ิ การรบพิเศษร่วม หรือหน่ วยรบพิเศษ
 พืน
้ ที่เป้ าหมายสะเทินน้าสะเทินบก Amphibious Objective Area (AOA)
ที่หมายที่ต้องครอบครองโดยกาลังรบสะเทินน้าสะเทินบกต้องมีขนาดใหญ่
เพียงพอสาหรับปฏิบตั ิ การทางทะเล อากาศ บก และ ปฏิบตั ิ การพิเศษ
 พืน
้ ที่สนใจ Area of Interest (AI) ผบ.กาลังรบร่วมกาหนดพืน้ ที่สนใจ เพื่อติดตาม
ความเคลื่อนไหวของข้าศึกนอกพืน้ ที่ปฏิบตั ิ การ(JOA)ทัง้ ทางบก ทะเล อากาศ
ปกติจะกว้างกว่าพืน้ ที่ปฏิบตั ิ การ ครอบคลุมพืน้ ที่ที่ข้าศึกสามารถปฏิบตั ิ การได้

s
AI
ปัจจัยแห่ งความสาเร็ จ
ต้ องมีหลักนิยม หลักการ และ/หรื อระเบียบของหน่ วยที่
เข้ าทาการยทุ ธร่ วม หรื อสนับสนุนซึ่งกันและกัน ทุก
เหล่ าจะต้ องเตรียมการปฏิบัติให้ พร้ อม
ประกันผลของความสาเร็ จตามคณ
ุ สมบัติและขีด
ความสามารถของเหล่ าทัพตน
ต้ องมีความไว้ วางใจและเชื่อมั่นซึ่งกัน ระบบการ
ควบคมุ บังคับบัญชา การติดต่ อสื่อสาร และการข่ าวต้ อง
ถูกต้ อง รวดเร็ ว แน่ นอน และเป็ นเอกภาพ
ปัจจัยแห่ งความสาเร็ จ (ต่ อ)
การซักซ้ อม การฝึ ก การปฏิบัติการร่ วมกัน เพื่อให้ เกิด
ความค้ นุ เคย ความเข้ าใจ
กองบัญชาการกองทัพไทย
ส่ วนบังคับบัญชา
สน.ผบ.ทหารสู งสุ ด
ร้อย บก.
สลก.
สจร.ทหาร สตน.ทหาร
นถปภ.ร.อ. สนพ.ทหาร
ส่ วนเสนาธิ การร่ วม
กพ.ทหาร ขว.ทหาร ยก.ทหาร
ส่ วนปฏิบัติการ
นทพ.
ส่ วนกิจการพิเศษ
สบ.ทหาร กง.ทหาร
ส่ วนการศึกษา
วปอ.
ศตก.
ศรภ.
ผท.ทหาร
สปท.
วสท.
กบ.ทหาร กร.ทหาร สส.ทหาร สปช.ทหาร
ชด.ทหาร
ยบ.ทหาร
ยศ.ทหาร
สจว.
สวศ.
รร.ตท.
รร.ชท.
นายกรัฐมนตรี
รมว.กห.
ผบ.ทหารสู งสุ ด
(ประธานคณะผู้บัญชาการ)
กรมเสนาธิการร่ วม
ผบ.ทหารสู งสุ ด
(ผู้บัญชาการรบ)
ศอร.บก.ทหารสู งสุ ด
( ฝ่ าย สธร.)
ผบ.ทบ.
ผบ.ทร.
ผบ.ทอ.
ผบ.ทบ.
ผบ.ทร.
ผบ.ทอ.
ผบ.หน่ วย
บัญชาการต่ างๆ
กรม.ฝสธ.
กรม.ฝสธ.
กรม.ฝสธ.
ศปก.ทบ.
ศปก.ทร.
ศปก.ทอ.
ฝ่ าย สธร.
กกล.ทบ.
กกล.ทร.
กกล.ทอ.
กกล.ทบ.
เตรียมกาลัง
กกล.ทร.
ใช้ กาลัง
กกล.ทอ.
การจัดกองทัพไทยในลักษณะหน่ วยบัญชาการรวม
บก.กองทัพไทย
(หน่วยบัญชาการ
รวม)
ทบ.
ทร.
ทอ.
หน่ วยขึน้ ควบคุม
ทางยุทธการ
กกล.ทบ.
หน่ วยบัญชาการ
กองกาลัง
เฉพาะกิจร่ วม
กกล.ทร.
กกล.ทอ.
บังคับบัญชา (FULL COMMAND)
บังคับบัญชาทางยุทธการ(0PERATION COMMAND)
สนับสนุนด้ านธุรการและส่ งกาลังบารุง
หน่ วยบัญชาการ
รบร่ วมอืน่ ๆ
กกล.อืน่ ๆ
การจัดหน่ วยและการบังคับบัญชาการยทุ ธร่ วม
(ไทย)
หน่ วยบัญชาการรวม (Unified Command)
กองบัญชาการทีค่ วบคมุ กองกาลังตั้งแต่ สองเหล่ าทัพ ให้ มา
ปฏิบัติภารกิจใดภารกิจหนึ่งอย่ างต่ อเนื่องภายใต้ ผ้ บู ังคับบัญชาคน
เดียว กองทัพไทยถือว่ า บก.. เป็ นหน่ วยบัญชาการรวมหน่ วยเดียว
มี ผบ.สส. เป็ นผ้ บู ังคับบัญชา มีฝ่ายเสนาธิการร่ วม มีส่วนราชการ
เป็ นกาลังต่ างเหล่ าทัพอันได้ แก่ กองทัพบก กองทัพเรื อ
กองทัพอากาศ อาจมีส่วนราชการอื่นๆมาขึ้นการบังคับบัญชาทาง
ยทุ ธการ เช่ น ตชด.
หน่ วยบัญชาการเฉพาะ ( ทบ. ทร. ทอ.)
กองบัญชาการทีค่ วบคมุ กาลังทีป่ ฏิบัติบัตงิ านในรูปแบบ
เหล่ าทัพเดียว ให้ มาปฎิบัติภารกิจใดภารกิจหนึ่งอย่ าง
ต่ อเนื่องในบางครั้งอาจมีกาลังเหล่ าทัพอื่นมาขึน้ สมทบ
เป็ นการชั่วคราว
ปกติมีกาลังเหล่ าทัพเดียว แต่ อาจมีหน่ วยกาลังจากเหล่ าทัพ
อื่นมาขึน้ การบังคับบัญชาทางยทุ ธการ
มั่นใจในเสรี ในการปฎิบัติ ไม่ จาเป็ นต้ องประสานงานใกล้ ชิด
หน่ วยบัญชาการเฉพาะกิจร่ วม
หน่ วยบัญชาการทีม
่ กี าลังตั้งแต่ สองหน่ วยขึน้ ไป อยู่
ภายใต้ ผ้ ูบัญชาการคนเดียว ผบ.สส. สั่ งจัดตั้งขึน้ และ
บังคับบัญชาทางยุทธการเพือ่ ให้ ปฎิบัตภิ ารกิจใด
ภารกิจหนึ่ง จะเลิกการจัดตั้งเมือ่ ปฎิบัติภารกิจนั้น
เสร็จสิ้นลง
กิจเฉพาะทางยุทธวิธีอย่ างจากัด
มีฝ่ายเสนาธิการร่ วมเพือ
่ ให้ เกิดความสมดุลย์
หน่ วยบัญชาการรวมรอง (SUB UNICOM)
มีกาลังมากกว่ าหนึ่งเหล่ าทัพขึ้นไปจัดตั้งเพือ่ ปฎิบัติ
ภายใต้ หน่ วยบัญชาการรวม
หน่ วยบัญชาการพันธกิจ
หน่ วยบัญชาการทีจ่ ดั ตั้งขึน้ จากหน่ วยทีป่ ฏิบัตหิ น้ าทีพ่ เิ ศษ ผู้บัญชาการ
หน่ วยนีไ้ ด้ รับมอบให้ มีอานาจเพือ่ การปฏิบัตกิ ารหรือพันธกิจทางทหาร
ทีแ่ น่ นอนโดยเฉพาะ ซึ่งไม่ เกีย่ วข้ องกับพืน้ ทีท่ างภูมิศาสตร์ แห่ งใด
แห่ งหนึ่ง
การจัดฝ่ ายเสนาธิการร่ วม
ฝ่ ายเสนาธิ การของผูบ
้ ญั ชาการหน่วยบัญชาการรวม
หรื อหน่วยบัญชาการกาลังเฉพาะกิจร่ วม
มาจากหลายเหล่าทัพมารวมกัน
มีหน้าที่ให้ความมัน
่ ใจ ผบ.ชาเกี่ยวกับยุทธวิธี เทคนิค
ขีดความสามารถ ความต้องการ และ ขีดจากัดของกอง
กาลัง (เหล่าทัพ)
หลักนิยมการวางแผนร่ วมในการใช้้กาลังทัง้
สามเหล่ าทัพ
การวางแผนร่ วมในการใช้ กาลังสามเหล่าทัพ จะสั มฤทธิผลสู งสุ ดต่ อเมื่อมี
การพิจารณาอย่ างละเอียดถึงการสนธิขีดความสามารถ ใช้ คุณลักษณะและ
ชดเชยข้ อจากัดของแต่ ละเหล่าทัพให้ ตรงกับวิสัย สามารถ และเกือ้ กูล
ซึ่งกันและกัน มีหลักนิยมดังนี้( การรบตามแบบ)
ชิงความได้ เปรี ยบในการเริ่ มใช้ กาลังทางอากาศเข้ าโจมตีทาลาย
กาลังทางอากาศข้ าศึก ก่ อนทีข่ ้ าศึกจะใช้ กาลังทางอากาศของ
ข้ าศึกเข้ าทาลายกาลังของฝ่ ายเรา
ทาลายระบบทีป
่ ระกอบเป็ นกาลังทางอากาศข้ าศึก เพือ่ มิให้ ข้าศึก
ตอบโต้ ทางอากาศหรื อเป็ นอปุ สรรคในการครองอากาศของฝ่ าย
เรา
-ชิงความได้ เปรียบทางอากาศ
-ทาลายระบบกาลังทางอากาศ
หลักนิยมการวางแผนร่ วม(ต่ อ)
เมือ
่ กาลังต่ อสู้ และต้ านทานหลักของข้ าศึกหมดกาลังลง
ชั่วคราวหรืออ่ อนกาลังลงมากแล้ ว ให้ พจิ ารณาใช้ กาลัง
ยิงจากทั้งทางบกและทางทะเลทาลายที่ต้งั ทางทหารให้
พินาศโดยสิ้นเชิงเป็ นการถาวร
D
D21
D
D21
D
D21
พิจารณาการขยายผลการรบด้ วยการ
ปฏิบัติการยกพลขึน้ บก โดยการยทุ ธสะเทินน้า
สะเทินบกด้ วยกาลัง นาวิกโยธิน เข้ ายึดหัวหาด
และกาลังเหล่ าทัพบกตามขึ้นไปเพือ่ ขยายผลลึก
เข้ าไปในแผ่ นดิน เพือ่ ยึดภูมิประเทศสาคัญ หรื อ
เป็ นแหล่ งส่ งกาลังจากทางด้ านทะเล
ปฎิบัติการหลังแนวข้ าศึก เพือ่ ทาลายกาลังรบข้ าศึกยึดครอง
พืน้ ที่สาคัญ การคมนาคม หรือทรัพยากร โดยใช้ กาลัง ทอ.
และ ทบ.
ยึดพืน
้ ที่สาคัญเพือ่ เป็ นสนามบินต่ อระยะให้ ทอ. และเป็ น
ฐานส่ งกาลังบารุ ง
การรอจนข้ าศึกฉวยโอกาศใช้ กาลังทางอากาศโจมตีก่อนจะ
ทาให้ เสี ยเปรียบมาก
การใช้ กาลังทางอากาศจะต้ องรวมกาลัง แต่ การวางกาลัง
จะต้ องกระจายกาลังเพือ่ ป้องกันการจู่โจมจากข้ าศึก(อาวุธที่
มีอานาจการทาลายล้ างสู ง)
การยท
ุ ธสะเทินน้าสะเทินบก
การยทุ ธส่ งทางอากาศ
และการยทุ ธเคลื่อนทีท่ างอากาศ จะช่ วยเพิม่ ความ
ได้ เปรี ยบในกานดาเนินกลยทุ ธ
การได้ การครองอากาศ จากการจ่ โู จมทาลายกาลังทาง
อากาศของข้ าศึกก่ อน จะช่ วยการสนับสนุนการปฎิบัติ
การทางทะเลและทางภาคพืน้ ดินให้ ประสบผลสาเร็จ
ง่ ายขึน้
การได้ การครองทะเล จะช่ วยในด้ านการลาเลียงและส่ ง
กาลังบารุงให้ กาลังทางอากาศ และทางบก ของฝ่ ายเรา
ขณะเดียวกันก็ขัดขวางการส่ งกาลังของฝ่ ายข้ าศึก
สงครามจะเด็ดขาดและส้้้นสุดได้ กต
็ ่ อเมื่อกาลังทาง
บกสามารถยึดครองพืน้ ทีท่ รั พยากรและควบคมุ เชลย
ศึกให้ ปฎิบัติตามคาสั่งของเราไว้ ได้ แล้ วเท่ านั้นดังนั้น
จะต้ องวางแผนให้ บรรลเุ ป้ าหมายขัน้ สุดท้ ายนี้ด้วย
หลักนิยมในการวางแผนของฝ่ าย
การร่ วม
เสนาธิ
 ในการวางแผน ฝ่ ายเสนาธิการร่ วมทัง้ หมดจะต้ องประสานงานและ
วางแผนไปด้ วยกันโดยพร้ อมกันในทุกขั้นตอน จะต้ องละเว้ นการ
วางแผนในสายงานของตนโดยเอกเทศแต่ ฝ่ายเดียว
 ฝ่ ายเสนาธิการร่ วมทุกสายงานจะต้ องยึดประเด็นของ ภารกิจหลัก
การประชุม การปรึ กษาหารื อ จะต้ องตรงเข้ าหาจดุ หมายทีเ่ ป็ นสาระ
 ยึดถือประโยชน์ ของหน่ วยบัญชาการยท
ุ ธร่ วมเป็ นหลัก
 การดาเนินการวางแผนต้ องทันเวลา
การยทุ ธผสม
 การยท
ุ ธผสมหรื อการปฏิบัติการทางทีใ่ ช้ กาลังรบหลักตั้งแต่ สองชาติ
ขึ้นไปปฏิบัติการเพือ่ ให้ บรรลภุ ารกิจเดียวกันภายใต้ การบังคัญบัญชา
เพียงคนเดียว
 ภารกิจมักจะเป็ นภารกิจขอบเขตกว้ างขวางและต่ อเนื่องหรื อเป็ น
ภารกิจทีต่ ้ องใช้ กาลังขนาดใหญ่ การควบคมุ บังคับบัญชาต่ อต่ าง
เหล่ าทัพหรื อต่ างชาติจะเป็ นในรูปการบังคับบัญชาทางยทุ ธการหรื อ
การควบคมุ ทางยทุ ธการ
หลักในการยทุ ธผสม
 มีลก
ั ษณะคล้ ายคลึงกับหลักการยทุ ธร่ วม
 สนธิขีดความสามารถของเหล่ าทัพต่ างชาติเดียวกัน
 เอกภาพในการบัญชาบัญชา
มีผู้บังคับบัญชาเพียงคนเดียวเท่ านั้นที่
จะสามารถสั่ งการใช้ กาลังเหล่าทัพต่ างชาติทมี่ าขึน้ การบังคับบัญชา
ทางยุทธการต่ อหน่ วยบัญชาการผสมให้ ไปสู่ เป้าหมายเดียวกัน
 มุ่งหน้ าปฏิบัติให้ สาเร็จภารกิจแต่ ด้านเดียว
 ผู้บังคับบัญชาต้ องฝ่ ายมีเสนาธิการผสม
ปัญหาที่เป็ นปัจจัยในการจัดหน่ วยบัญชาการ
ผสม
 จะต้ องปฏิบัติตามสั ญญาหรือข้ อตกลงระหว่ างสองชาติหรื อหลาย
ชาติ
 การขาดแคลนแบบข้ อมูลและหลักนิยมของกาลังต่ างชาติทจ
ี่ ะใช้
ร่ วมกัน
 ขีดความสามารถและความพร้ อมของกาลังในแต่ ละชาติแตกต่ างกัน
 ปัญหาทีเ่ กิดจากตัวบุคคลเช่ น ความแตกต่ างกันในด้ าน
ขนบธรรมเนียมประเพณี ศาสนา ภาษา และมาตรฐานการครองชีพ
แบบของการจัดหน่ วยบัญชาการผสม
แบบรวมเหล่ าทัพชนิดเดียวกันของแต่ ละชาติไว้
ด้ วยกัน
แบบรวมกาลังหลายเหล่ าทัพของชาติเดียวกันไว้
ด้ วยกัน
แบบผสม
แบบเหล่ าทัพชนิดเดียวกันของแต่ ละชาติไว้
ด้ วยกัน (Funtional Components)
หน่วยบัญชาการพันธมิตร
(หน่วยบัญชาการผสม)
ฝ่ ายเสนาธิการผสม
ทร. พันธมิตร
ทบ. พันธมิตร
ทอ. พันธมิตร
ฝ่ ายเสนาธิการผสม
ทบ.ไทย
ทบ. สหรัฐฯ
ทบ.ออสเตรเลีย
ทบ. ชาติอื่นๆ
ข้ อดีและข้ อเสียของการจัดแบบเหล่ าทัพชนิด
เดียวกันไว้ ด้วยกัน
 ข้ อดี
 ข้ อเสี ย
 ผนึกกาลังของเหล่ าทัพเป็ น
 ต้ องฝึ กทั้งเทคนิค และอาวุธ
กลุ่มก้อน
 ชดเชยจุดอ่ อนจุดแข็งของแต่
ละประเทศทาให้ ไม่ มีช่องโหว่
 มีความอ่ อนตัวสู ง
 ช่ วงการบังคัญบัญชาสั้ น
สะดวกแก่การควบคุม
ของแต่ ละชาติให้ เป็ น
มาตรฐานเดียวกัน
 ภาษาและขนบธรรมเนียม
ประเพณีต่างกัน
 ระเบียบข้ อบังคับต่ างกัน
 ฝ่ ายอานวยการต้ องใช้ วธ
ิี
ผสมผสานเกือบทุกระดับชั้น
แบบรวมกาลังหลายเหล่ าทัพของชาติเดียวกัน
ไว้ ด้วยกัน (National Forces Group)
หน่วยบัญชาการพันธมิตร
(หน่วยบัญชาการผสม)
ฝ่ ายเสนาธิการผสม
หน่วยกาลังชาติไทย
หน่วยกาลังสหรัหน่ฐวยกาลังชาติอื่นๆ
ฝ่ ายเสนาธิ การร่ วม
ทบ.สหรัฐ
ทร.สหรัฐ
ทอ. สหรัฐ
การจัดแบบรวมกาลังหลายเหล่ าทัพของชาติ
เดียวกันไว้ ด้วยกัน ข้อเสีย
ข้อดี
หากมีจานวนชาติพนั ธมิตรหลาย
 ไม่ มค
ี วามยุ่งยากเรื่องภาษา
ชาติผ้ บู ังคับบัญชาหน่ วยบัญชาการ
พันธมิตรจะต้ องควบคุมหน่ วยมาก
 การปฏิบัตเิ ป็ นชุ ดเข้ ากันด้ วยดี
เกินไป
 สะดวกในการส่ งกาลังบารุ ง ธุรการ
 กาลังของหน่ วยขึน
้ ตรงหน่ วย
และกาลังพล
บัญชาการพันธมิตรจะเหลือ่ มลา้
 ผู้บังคับบัญชาชาติเดียวกัน
กันตามกาลังทหาร กาลังเศรษฐกิจ
ระเบียบแบบแผนเดียวกันสะดวก
และความสามารถของทหารแต่ ละ
ต่ อการปกครองบังคับบัญชา
ชาติ ซึ่งจะมีจุดอ่ อนและจุดแข็งใน
หน่ วยเพราะประเทศทีเ่ ข้ มแข็ง
ไม่ ได้ ช่วยเหลือหรือชดเชยให้ แก่
ประเทศที่อ่อนแอ

ข้ อเสี ยต่ อ
 การประกอบกาลังใหม่ เมือ
่ มีความ
จาเป็ นต้ องเปลีย่ นแปลงกระทาได้
ยากและไม่ อ่อนตัว

แบบผสม
เป็ นการนาเอาแบบการจัดทั้ง๒ แบบมาผสมกัน
หน่วยบัญชาการพันธมิตร
(หน่วยบัญชาการผสม)
พื้นที่ยอ่ ย
พื้นที่ยอ่ ย
พื้นที่ยอ่ ย
แต่ละพื้นที่ยอ่ ยประกอบด้วยกาลังกาลังจากหลายชาติร่วมกัน หรื อหลายเหล่า
ทัพร่ วมกัน
สรุ ปการปฎิบตั ิการยุทธร่ วม/ผสม
ต้องมีหลักนิยม หลักการ และ/หรื อระเบียบปฏิบตั ิของหน่วย
ที่เข้าทาการยุทธร่ วม หรื อสนับสนุนซึ่ งกันและกัน ทุกเหล่า
จะต้องเตรี ยมการปฏิบตั ิ ให้พร้อมและสามารถประกันผล
การปฏิบตั ิตามคุณลักษณะและขีดความสามารถของเหล่าทัพ
ตน พร้อมกันนั้นทุกหน่วยที่เข้า ปฏิบตั ิ การจะต้องมีความ
ไว้วางใจ และเชื่อมัน่ ซึ่ งกันและกัน ระบบการควบคุมบังคับ
บัญชา การติดต่อสื่ อสาร และการข่าวต้อง รวดเร็ ว แน่นอน และ
เป็ นเอกภาพ
จบการนาเสนอ
ปัญหา