๒๕๕๙ กลยุทธ์การพัฒนาสมรรถนะครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา

Download Report

Transcript ๒๕๕๙ กลยุทธ์การพัฒนาสมรรถนะครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา

นขต.ทบ.3-56
โดย พ.อ.นิวัติ พงศ์ สิทธิศักดิ์
• พัฒนากาลังพลด้ วยการศึกษาต่ อเนื่อง
• เสริมสร้ างขวัญกาลังใจ แรงจูงใจครู อาจารย์ และบุคลากร
ทางการศึกษา
• เสริมสร้ างวิสัยทัศน์ และพัฒนาความรู้ครู อาจารย์ และ
บุคลากรทางการศึกษา
• เสริมสร้ างขวัญกาลังใจ แรงจูงใจครู อาจารย์ และบุคลากร
ทางการศึกษา
• พัฒนาสมรรถนะครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาด้ าน
การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา
• การพัฒนาระบบฐานข้ อมูลการศึกษาของกาลังพลและระบบคัดเลือก
กาลังพลเข้ ารั บการศึกษา
•การพัฒนาหลักสูตร วิธีการจัดการเรียนการสอน และการ
ประเมินผลการศึกษา
•การพัฒนากฎระเบียบและข้ อบังคับด้ านการศึกษาให้ มีความ
ทันสมัย
•การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
• การส่ งเสริมการนาเทคโนโลยีสมัยใหม่ มาใช้ พัฒนาการจัด
การศึกษา การเผยแพร่ ความรู้ การสร้ างนวัตกรรมและองค์
ความรู้ใหม่ ทางการศึกษา
•การส่ งเสริมเครือข่ ายทางการศึกษา
• การจัดการความรู้ ของ ทบ.
• การพัฒนาขีดความสามารถศูนย์ การศึกษาให้ เป็ น
ศูนย์ การเรียนรู้ตลอดชีวิต สาหรับกาลังพล
ประเด็นยุทธศาสตร์ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล
ประเด็นยุทธศาสตร์
ด้านการบริ หาร
ทรัพยากรบุคคล
๑.ปลูกฝัง/เสริ มสร้าง
อุดมการณ์ทหารให้มีความ
เสี ยสละและจงรักภักดี
ต่อสถาบันชาติ ศาสนา
พระมหากษัตริ ย ์
๒.การวางแผนและ
บริ หารกาลังพล
๓.ส่งเสริ มกระบวนการ
เรี ยนรู ้และพัฒนาองค์การ
ให้เป็ นการแห่งการเรี ยนรู ้
๔.การพัฒนาระบบบริ หาร
ทรัพยากรบุคคลและระบบ
สารสนเทศสายงานกาลังพล
๕.การพัฒนาขวัญ
กาลังใจ และ คุณภาพ
ชีวติ กาลังพล
เป้ าประสงค์
ส่ งเสริ มและพัฒนาการจัดการ
ความรู้ในองค์กร
กาลังพลมีความรู ้ความสามารถใน
การปฏิบตั ิงาน
กลยุทธ์
พัฒนาสมรรถนะ
กาลังพล
พัฒนาสมรรถนะ ครู -อาจารย์
และบุคลากรทางการศึกษา
พัฒนาระบบบริ การทางการศึกษาและ
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
พัฒนาองค์การให้เป็ นองค์การแห่ง
การเรี ยนรู้
แผนพัฒนากาลังพลของกองทัพบก ดวยการศึ
กษา
้
ประจาปี ประเด็
๒๕๕๕
นยุทธศาสตร์- ๒๕๕๙
การบริหารทรั พยากรบุคคล
เป้าประสงค์
๑.กาลังพลมีความรู้ ความสามารถในการปฏิบัตงิ าน ๒.ส่ งเสริมและพัฒนาการจัดการความรู้ ในองค์ การ
พัฒนาสมรรถนะ
กาลังพล
๑ . ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ เ ข้ า รั บ
การศึก ษาต่อ เนื่ อ ง เพื่ อ พั ฒ นา
ตนเอง และยกระดั บ คุ ณ วุ ฒิ
การศึกษาให้ สงู ขึ ้น
๒ . เ พิ่ ม พู น ทั ก ษ ะ ใ น ก า ร
ปฏิบตั ิงาน เพื่อเสริ มสร้ างความ
เชื่ อ มั่น และการยอมรั บ ในการ
ปฏิบตั งิ าน
พัฒนาสมรรถนะ ครู –
อาจารย ์
และบุคลากรทางการ
ศึ กษา
๑. เสริมสร้ างวิสั ยทัศ น์
และพัฒนาความรู้ ครู
อาจารย ์ และบุคลากร
ทางการศึ กษา
๒. เสริ ม สร้ าง ขวั ญ
กาลัง ใจ แรงจูง ใจให้
ค รู อ า จ า ร ย ์ แ ล ะ
บุคลากรทางการศึ กษา
และให้มีความก้าวหน้ า
ในอาชีพ
๓. พัฒ นาสมรรถนะครู
อาจารย ์ และบุคลากร
ทางการศึ กษาในการ
ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี
ส า ร ส น เ ท ศ เ พื่ อ
การศึ กษา
พัฒนาระบบบริการทางการศึ กษาและ
เทคโนโลยี
เพือ
่ การศึ กษา
๑. พัฒนาระบบฐานข้อมูลของกาลัง
พลและระบบการคัด เลือ กก าลัง พล
เขารั
้ บการศึ กษา
๒. พัฒนากฎระเบียบ/ข้อบังคับด้าน
การศึ กษาให้มีความทันสมัยและการ
บังคับใช้ให้มีประสิ ทธิภาพ
๓. พัฒ นาหลัก สู ต ร/วิธ ีก ารจัด การ
เรีย นการสอนและการประเมิน ผล
การศึ กษา
๔. พัฒนาระบบการประกันคุณภาพ
ทางการศึ กษา
๕ . ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร น า เ ท ค โ น โ ล ยี
ส มั ย ใ ห ม่ ม า ใ ช้ พั ฒ น า ก า ร จั ด
การศึ กษา การสร้างนวัตกรรมและ
องคความรู
ใหม
ทางการศึ
กษา
้
่
์
๖. ส่ งเสริม การสร้ างเครือ ข่ายทาง
การศึ กษา
พัฒนาองคการให
์
้เป็ น
องคการ
์
แห่งการเรียนรู้
๑. การจัดการความรู้ของ ทบ.
๒. พั ฒ นาขี ด ความสามารถ
ศู น ย์ ก า ร ศึ ก ษ า ใ ห้ เ ป็ น ศู น ย์
การเรี ย นรู้ ตลอดชี วิ ต ส าหรั บ
กาลังพล
• เพิ่มประสิทธิภาพขององค์ กร
• ป้องกันการสูญหายของภูมปิ ั ญญา
• เพิ่มศักยภาพในการแข่ งขันและความอยู่รอด
• เป็ นการลงทุนในต้ นทุนมนุษย์
• เพิ่มขีดความสามารถการตัดสินใจและวางแผนดาเนินงานให้ รวดเร็วและ
ดีขนึ ้
• ผู้บังคับบัญชาสามารถทางานเชื่อมโยงกับผู้ใต้ บังคับบัญชาให้ ใกล้ ชดิ กัน
มากขึน้
• สามารถแก้ ไขข้ อผิดพลาดจากการปฏิบัตงิ านได้ อย่ างทันท่ วงที
 คน (People)
 เครื่ องมือเทคโนโลยี (Tool and Technology)
 กระบวนการความรู้ (Knowledge Process)
กองทัพบกเป็ นองค์ กรแห่ งการเรียนรู้
ในการเตรียมกาลัง และการใช้ กาลังทางบก
ในปี ๒๕๖๔
• ส่ งเสริมให้ กาลังพลมีจติ สานึก ทัศนคติ และ
พฤติกรรมที่เอือ้ ต่ อการเรียนรู้
• สร้ างสภาพแวดล้ อมที่เอือ้ ต่ อการเรียนรู้
• ส่ งเสริมให้ เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ทัง้ ในและนอก ทบ.
• พัฒนาระบบสารสนเทศและคลังข้ อมูลเพื่อ
จัดการความรู้ท่ ที นั สมัย สะดวก รวดเร็ว
• กาลังพลของ ทบ. เป็ นผู้รักการเรียนรู้ มีศักยภาพ
• กาลังพลของ ทบ. มีความรู้ ความชานาญการ และ
สมรรถนะสูง
• ระบบงาน ทบ. มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
• จัดการความรู้โดยใช้ เครือข่ ายเป็ นศูนย์ กลาง
แผนงานการจัดการความรู้ ของ ทบ.
แผนงานการจัดการความรู้กองทัพบก
แผนงานที่ ๑ การพัฒนาการบริหารจัดการและการสนับสนุนการเรียนรู้
มี ๕ แนวทางดาเนินการ (กลยุทธ์) ดังนี ้
๑. กาหนดรู ปแบบโครงสร้ างการบริหารจัดการองค์ ความรู้ ของกองทัพบก
๒. จัดตัง้ เว็บไซต์ ศูนย์ การเรี ยนรู้ ทบ. และหน่ วยใน ทบ.
๓. กาหนดให้ ทุกส่ วนราชการมีคลังความรู้ ของหน่ วย แยกตามประเภทองค์
ความ
๔. พัฒนาระบบสารเทคโนโลยีสนเทศในการจัดการความรู้ ของกองทัพบก
๕. สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ ให้ ข้อมูลข่ าวสารความก้ าวหน้ าในการดาเนินการ
จัดการความรู้ ของกองทัพบก
๖. การเสริมสร้ างวัฒนธรรมการเรี ยนรู้ เพื่อพัฒนากองทัพบกให้ เป็ นองค์ กรแห่ ง
การเรี ยนรู้
แผนงานการจัดการความรู้กองทัพบก
แผนงานที่ ๒ การพัฒนากาลังพลให้ พร้ อมต่ อการเรี ยนรู้ มี ๒ แนวทางดาเนินการ
(กลยุทธ์) ดังนี ้
๑. พัฒนากาลังพลให้ มีความรู้ ความเข้ าใจ และมีทัศนคติท่ ดี ีต่อการจัดการ
ความรู้
๒. การพัฒนาศักยภาพของกาลังพลที่เกี่ยวข้ องกับการจัดการความรู้ ทุก
ระดับ สามารถเป็ นวิทยากรต้ นแบบการจัดการความรู้ ขององค์ กร
แผนงานการจัดการความรู้กองทัพบก
แผนงานที่ ๓ การจัดการความรู้ มี ๕ แนวทางดาเนินการ (กลยุทธ์) ดังนี ้
๑. แผนการจัดการความรู้ ของกองทัพบก
๒. การจัดการความรู้ ให้ สอดคล้ องกับแผนปฏิบัตริ าชการ ของ
กองทัพบก
๓. สร้ างเครื อข่ ายการปฏิบัตงิ านกับหน่ วยใน กห. และนอก กห.
๔. การให้ ความรู้ ผ่านสื่อต่ าง ๆ
๕. การพัฒนา/ขยายผล/ติดตามประเมินผลการจัดการความรู้
ศูนย์ การเรียนรู้ จานวน ๓๙ ศูนย์ ประกอบด้ วย
หน่ วยระดับ ทภ. จานวน ๖ หน่ วย ได้ แก่
 ทภ.๑
 ทภ.๒
 ทภ.๓
 ทภ.๔
 นปอ.
 นสศ.
ศูนย์การเรี ยนรู้ จานวน ๓๙ ศูนย์ ประกอบด้ วย (ต่อ)
กรม ฝสธ. จานวน ๖ หน่ วย ได้ แก่
 กพ.ทบ.
 ขว.ทบ.
 ยก.ทบ.
 กบ.ทบ.
 กร.ทบ.
 สปช.ทบ.
ศูนย์การเรี ยนรู้ จานวน ๓๙ ศูนย์ ประกอบด้ วย (ต่อ)
กรมฝ่ ายกิจการพิเศษ จานวน ๙ หน่ วย ได้ แก่
 นรด.
 จบ.
 สบ.ทบ.
 สวพ.ทบ.
 กง.ทบ.
 สตน.ทบ.
 สห.ทบ.
สธน.ทบ.
 สก.ทบ.
ศูนย์การเรี ยนรู้ จานวน ๓๙ ศูนย์ ประกอบด้ วย (ต่อ)
กรมฝ่ ายยุทธบริการ จานวน ๙ หน่ วย ได้ แก่
 กช.
 สส.
 สพ.ทบ.
 ยย.ทบ.
 พบ.
 กส.ทบ.
 พธ.ทบ.
 วศ.ทบ.
 ขส.ทบ.
ศูนย์การเรี ยนรู้ จานวน ๓๙ ศูนย์ ประกอบด้ วย (ต่อ)
เหล่ า/สายวิทยาการและส่ วนการศึกษาของ ทบ.
จานวน ๙ หน่ วย ได้ แก่
 กช.
 สส.
 สพ.ทบ.
 ยย.ทบ.
 พบ.
 กส.ทบ.
 พธ.ทบ.
 วศ.ทบ.
 ขส.ทบ.
ข้ อมูลองค์ความรู้ทีให้ กาลังพลเข้ ามาเรี ยนรู้
ศทท. ได้ ดาเนิ นการจัดตัง้ เว็บไซต์ ศูนย์ การเรี ยนรู้
ของ ทบ. โดยใช้ ชื่ อ “ศู น ย์ การจั ด การความรู้ ทบ.
(Army Knowledge Management center)”
เพื่ อเชื่ อมโยงข้ อมู ล กั บ ศู น ย์ การเรี ยนรู้ นขต.ทบ.
ทาง http://km.rta.mi.th
การจัดการความรู้ ทบ.USA
• เป็ นยุทธศาสตร์ เพือ่ ปรับเปลีย่ น ทบ. ให้ เป็ นกองทัพที่มพี นื้ ฐาน
ขององค์ ความรู้ และเครือข่ ายเป็ นศูนย์ กลาง
• เป็ นส่ วนหนึ่งในการปรับเปลีย่ น ทบ. ไปสู่ กองทัพแห่ งอนาคต
• แบ่ งปันและเข้ าถึงสารสนเทศได้ ดขี นึ้
• ให้ ขีดความสามารถของโครงสร้ างสารสนเทศพืน้ ฐานทัว่ ทบ.
เพือ่ ให้ ส่วนกาลังรบและส่ วนบริหารจัดการ สามารถปฏิบัติการ
ได้ อย่ างรวดเร็วและเด็ดขาด
• เชื่อมต่ อคน องค์ ความรู้ และเทคโนโลยีเข้ าด้ วยกัน
เป้ าหมายการจัดการความรู้กองทัพบก
(1) นาการเปลีย่ นแปลงวัฒนธรรมองค์ กรและส่ วนราชการมาใช้ เพือ่ เป็ นองค์ กรที่มีพนื้ ฐานของ
องค์ ความรู้
(2) บูรณาการการจัดการความรู้ และตัวแบบการบริหารจัดการทีเ่ ป็ นเลิศเข้ ากับกระบวนการ
บริหารจัดการของ ทบ. เพือ่ สร้ างกองทัพทีม่ พี นื้ ฐานขององค์ ความรู้
(3) บริหารจัดการโครงสร้ างสารสนเทศให้ เป็ นรู ปธรรมเพือ่ สร้ างเสริมประสิ ทธิภาพและขีด
ความสามารถต่ างๆ เช่ น การร่ วมมือกัน (Collaborative), การตัดสิ นใจ และการสร้ าง
นวัตกรรม
(4) จัดตั้งองค์ ความรู้ กองทัพบกออนไลน์ (AKO)/องค์ ความรู้ ทหารออนไลน์ (DKO) เป็ น
ช่ องทางหนึ่งขององค์ กรกองทัพบกเพือ่ ให้ สามารถเข้ าถึงได้ ทวั่ ไปและมีการรั กษาความ
ปลอดภัยทัว่ ทั้งกองทัพบก
(5) สร้ างทุนมนุษย์ (Human capital) สาหรับองค์ กรทีม่ พี นื้ ฐานขององค์ ความรู้
ผลลัพธ์ ของยุทธศาสตร์ การจัดการความรู้กองทัพบก
• ปรับโครงสร้ างพืน้ ฐานด้ านสารสนเทศและองค์ ความรู้ ของ
องค์ กรกองทัพบก เข้ ากับเครือข่ ายสารสนเทศสากล (Global
Information Grid: GIG) และกองทัพแห่ งอนาคต
ประชาคมนักปฏิบัติ (Communities of practice: CoPs)
1 เป็ นกลุ่มคนทีป่ ฏิสัมพันธ์ กนั เป็ นปกติเพือ่ การเรียนรู้ทสี่ ร้ างสม แก้ปัญหา สร้ าง
ทักษะและขีดความสามารถ และสร้ างการปฏิบัติทเี่ ป็ นเลิศเกีย่ วกับเป้าหมาย
ภารกิจ ปัญหาต่ างๆ การปฏิบัติงาน หรือสิ่ งทีส่ นใจร่ วมกัน
2 สนับสนุนด้ วยสภาวะแวดล้อมที่เป็ นการร่ วมมือกัน เช่ น เครือข่ ายองค์ ความรู้ และ
การประชุ มผู้เชี่ยวชาญ
3 เป็ นกลุ่มทีเ่ ป็ นการร่ วมมือกันของผู้ใช้ ต่างๆ ทีต่ ้ องแลกเปลีย่ นข้ อมูลในการ
ดาเนินการตามความสนใจ ภารกิจ กระบวนการในการบริหารจัดการ หรือ
เป้าหมายที่แบ่ งปันกัน
4 การสื่ อสารภายในประชาคมนักปฏิบัติ (CoP) ต้ องเป็ นไปตามแนวทางการรักษา
ความลับ จริยธรรม และหลักการที่สามารถใช้ ได้
องค์ ความรู้ กองทัพบกออนไลน์ (AKO)
• อานวยต่ อการแบ่ งปั นทรัพยากรองค์ ความรู้และ
สารสนเทศกองทัพบกอย่ างสูงสุดทั่วทัง้ องค์ กร
กองทัพบก
• ลดการลงทุนทรัพยากรเทคโนโลยีสารสนเทศที่
ซา้ ซ้ อน
• เป็ นช่ องทางเดียวของกองทัพบกที่อนุญาตให้ ผ้ ูใช้
ต่ าง ๆ ของ ทบ. เข้ าถึงระบบเครือข่ ายองค์ การ
กองทัพบกและช่ องทางย่ อยต่ าง ๆ
สรุป
• กาลังพลทุกนายต้ องมีความรู้ ในเป้าหมายและยุทธศาสตร์ การ
จัดการความรู้ กองทัพบก (AKM)
• ผู้บังคับบัญชาและ ผบ.หน่ วย ต้ องพัฒนาความริเริ่มของหน่ วย
เพือ่ สนับสนุนเป้าหมายและยุทธศาสตร์ การจัดการความรู้
• จุดสนใจหลักในทุกระดับหน่ วย
–ความสามารถในการเก็บและค้ นข้ อมูลทีถ่ ูกต้ อง ณ เวลาทีเ่ หมาะสม
และส่ งให้ ผ้ ูใช้ ที่เหมาะสม โดยเฉพาะการบริหารจัดการสารสนเทศ/
เทคโนโลยีสารสนเทศ ((IM)/IT ในประชาคมผู้ให้ บริการ
(Community of service providers)
ชุดจัดการความรู้ ของ ทบ.สหรัฐฯ
(FM 6-01.1)
ชุดจัดการความรู้
น.จัดการความรู้
ผช.น.จัดการ
ความรู้
ส.จัดการความรู้
ส.จัดการสาระ
พันธกิจของชุดจัดการความรู้
• เสนอแนะ ผบช.&ฝสธ.เกีย่ วกับแนวทาง KM
• พัฒนาวิธีการและกระบวนการทีส่ นับสนุนการเรียนรู้ทมี่ ีประสิ ทธิภาพและ
ประสิ ทธิผลของหน่ วยก่อน ระหว่ าง และหลังการปฏิบัติการ
• จัดชุ ดแก้ปัญหาทีส่ าคัญเกีย่ วกับการจัดการความรู้ โดยชุ ดนีจ้ ะเป็ นแกนของ
คณะทางานหลายพันธกิจทีจ่ ัดจาก ฝสธ.ทุกฝ่ าย ซึ่งชุ ดนีจ้ ะได้ รับการช่ วยเหลือ
ด้ วยระบบสารสนเทศ
• เสนอแนะโปรแกรมการใช้ , การดาเนินกรรมวิธี และการบริการต่ างๆ ที่จะบรรลุ
เรื่องต่ อไปนี้
– ให้ ขีดความสามารถสาหรับการปฏิบัติการ ณ ทีบ่ ังคับการทีม่ ปี ระสิ ทธิผล
– พร้ อมทีจ่ ะเข้ าใจได้
– ให้ ความรู้ ทถี่ ูกต้ องแก่ คนทีถ่ ูกต้ อง ณ เวลาทีเ่ หมาะสม
พันธกิจของชุดจัดการความรู้ (ต่ อ)
• บูรณาการกระบวนการจัดการความรู้เข้ ากับพันธกิจต่ างๆ ของหน่ วยระหว่ างทุก
ขั้นการเตรียมกาลังของกองทัพบก
• สร้ างและดารงโครงสร้ างเครือข่ ายความรู้ทเี่ ป็ นสั งคมและปฏิสัมพันธ์ ระหว่ าง
บุคคล รวมทั้งทางเทคนิค ซึ่งเครือข่ ายนีจ้ ะช่ วยให้ หน่ วยต่ างๆ ได้ แบ่ งปันสิ่ ง
ต่ างๆ ต่ อไปนีไ้ ด้ โดยรวดเร็ว คือ ยุทธวิธี เทคนิค และกระบวนการ, การ
สั งเกตการณ์ การปฏิบัติการ ความรู้ความเข้ าใจ และบทเรียนทีเ่ รียนรู้ , และผลผลิต
ความรู้ทปี่ รากฏทีส่ ามารถใช้ ได้ ซึ่งโครงสร้ างเครือข่ ายความรู้นีจ้ ะใช้ โครงสร้ าง
เครือข่ ายเทคนิคที่ ฝสส. กาหนด โดยจะเชื่อมโยงผู้เชี่ยวชาญเฉพาะต่ างๆ และช่ วย
ในการเรียนรู้เป็ นบุคคลและองค์ การ ทั้งนี้ ชุ ดจัดการความรู้นีจ้ ะส่ งความต้ องการ
ในการทบทวนการจัดการความรู้ของเครือข่ ายเทคนิคไปยัง ฝสส.
• แนะนาหน่ วยเกีย่ วกับการใช้ กระบวนการและเครื่องมือจัดการความรู้เพือ่ ให้ มี
ข่ าวสารสาคัญมากขึน้
พันธกิจของชุดจัดการความรู้ (ต่ อ)
• ประสานแหล่งความรู้ภายนอกและบูรณาการความรู้เหล่านีเ้ ข้ ากับเครือข่ ายความรู้
ขององค์ การ ประสานความต้ องการเครือข่ ายทางเทคนิคกับ ฝสส.
• ฝึ กหน่ วยให้ สามารถใช้ และปฏิบัติระบบความรู้การบัญชาการรบได้ อย่ างมี
ประสิ ทธิผล
• พัฒนาและดารงขีดความสามารถการปฏิบตั ิหน้ าทีเ่ สมือน ช่ วยในการดาเนินการ
การปฏิบัติหน้ าทีเ่ สมือน
• วิเคราะห์ เทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับขีดความสามารถในการจัดการความรู้
ใหม่ ๆ ทีไ่ ด้ รับการเสนอ และเสนอแนะการรับและบูรณาการเข้ ากับโครงสร้ าง
ระบบบัญชาการรบกองทัพบกของหน่ วย โดย ฝสส. ตามความเหมาะสม
• ช่ วยฝ่ ายเสนาธิการจัดการเกีย่ วกับภาพการปฏิบัติการทัว่ ไปและการสรุ ป
พันธกิจของชุดจัดการความรู้ (ต่ อ)
• ปรับแผนจัดการความรู้ของหน่ วยเพือ่ พัฒนาและแก้ไข รปจ. หน่ วย โดย
– เสนอแนะการแก้ ไขแผนจัดการความรู้ ตามความจาเป็ น
– ประสานแผนจัดการความรู้ เข้ ากับแผนจัดการข่ าวสารที่ ฝสส. จัดทา
– พัฒนากระบวนการจัดการไฟล์ และข้ อมูลทีไ่ ด้ รวมเอามาตรฐานใหม่ ๆ ทีไ่ ด้ ผลมากทีส่ ุ ด
เพือ่ ช่ วยในการค้ นหาและดึงขีดความสามารถต่ างๆ
• ประสาน ฝสส. สาหรับเครือข่ ายทางเทคนิค ฐานข้ อมูล และการสนับสนุนที่
เกีย่ วข้ องอืน่ ๆ
• ดาเนินการทบทวนหลังการปฏิบัติโดยสมบูรณ์ และบันทึกไว้ เป็ นหลักฐาน
นายทหารจัดการความรู้
• อานวยการปฏิบัตขิ องชุดจัดการความรู้
• ดาเนินการให้ ภายในหน่ วยได้ เข้ าใจกระบวนการและขั้นตอน
ต่ างๆ ในการจัดการความรู้
• แสดงความสาคัญกระบวนการและขั้นตอนการจัดการความรู้
สามารถพัฒนา
– ประสิ ทธิภาพ ความเข้ าใจทัว่ ไปในระหว่ างการฝึ ก และช่ วยเพิม่ ประสิทธิผล
ของการปฏิบัติในระหว่ างการปฏิบัติการได้ อย่ างไร โดยเฉพาะในสภาพทีม่ ี
เวลาจากัด
• นายทหารจัดการความรู้ รายงานตรงต่ อ เสธ.
นายทหารจัดการความรู้
• ช่ วยฝ่ ายเสนาธิการวิเคราะห์ ความรู้ภายในและภายนอกทีข่ าดหายไป สร้ าง
วิธีการต่ างๆ เพือ่ เชื่อมต่ อช่ องว่ างนี้
• เสนอแนะการสร้ างเครือข่ ายความรู้ขององค์ การและกาหนดตัววัดต่ างๆ เพือ่
ประเมินประสิ ทธิผล
• ทาแผนจัดการความรู้และปฏิบัติแผนนีผ้ ่านฝ่ ายเสนาธิการของหน่ วย ทาให้ มั่นใจ
ว่ าชุ ดจัดการความรู้ได้ สนับสนุนแผนนีอ้ ย่ างเต็มที่
• ประเมินการจัดการความรู้อย่ างต่ อเนื่องเมื่อใช้ ความพร้ อมของฝ่ ายเสนาธิการ
โครงสร้ างพืน้ ฐานของหน่ วย และสมรรถนะในการปฏิบัติของหน่ วย
• ให้ คาปรึกษาแก่ผู้บังคับบัญชาและฝ่ ายเสนาธิการเกีย่ วกับการบูรณาการ
กระบวนการและการปฏิบัติในการจัดการความรู้ทวั่ ทั้งองค์ การ
นายทหารจัดการความรู้ (ต่ อ)
• เฝ้ าติดตามแนวโน้ มการจัดการความรู้ทเี่ กิดขึน้ ใหม่ เพือ่ รวมเข้ ากับการปฏิบัติการ
ต่ างๆ ของหน่ วย
• เฝ้ าติดตามเครือข่ ายสั งคมทีเ่ ป็ นทางการและไม่ เป็ นทางการทีถ่ ่ ายทอดความรู้
(เช่ น ใครเป็ นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ, ใครทีต่ ิดต่ อกับผู้เชี่ยวชาญเฉพาะเหล่านี,้ และ
อะไรทีเ่ ชื่อมโยงผู้ค้นหากับผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ)
• อานวยต่ อการบรรลุซึ่งการสร้ างและการถ่ ายทอดความรู้เพิม่ ขึน้ ระหว่ างองค์การ
หาข้ อมูลย้ อนกลับเพือ่ ประเมินความก้าวหน้ าของการปฏิบัตติ ่ างๆ ในการแบ่ งปัน
ความรู้
• แสดงให้ ส่วนฝ่ ายเสนาธิการรู้ถึงวิธีพฒ
ั นาการแบ่ งปันความรู้ในเรื่องที่ตน
เชี่ยวชาญ
นายทหารจัดการความรู้ (ต่ อ)
• พัฒนานโยบายและกระบวนการจัดการความรู้ และทาให้ แน่ ใจว่ าได้ เผยแพร่ และปฏิบัติ
ตามทั่วทั้งหน่ วย
• พัฒนาวิธีและกระบวนการต่ างๆ ทีม่ ีประสิ ทธิผลในการจัดระเบียบ การใช้ และถ่ ายทอด
การสั งเกต ความรู้ ความเข้ าใจ และบทเรียนทีเ่ รียนรู้ จากการทบทวนหลังการปฏิบตั ิ เข้ า
กับการปฏิบตั ิการ, รปจ. และการฝึ กของหน่ วย
• กากับดูแลการวางแผนและการปฏิบตั กิ จิ กรรมจัดการความรู้ ต่างๆ ทัว่ ทั้งหน่ วยโดย
สื่ อสารกับนายทหารจัดการความรู้ ของหน่ วยอืน่ ๆ ทั้งทางดิง่ และทางระดับ
• จัดตั้งและเป็ นหัวหน้ าคณะทางานทีป่ ระกอบด้ วยผู้แทนจากฝ่ ายเสนาธิการต่ างๆ และ
นายทหารจัดการความรู้ จากหน่ วยรอง
• วางแผนการสร้ าง จัดการ และเฝ้ าติดตามการมีส่วนร่ วมเชิงรุกในเครือข่ ายความรู้
ภายในโครงสร้ างการจัดของหน่ วยเพือ่ อานวยต่ อการปฏิบตั ิการทีม่ ีความประสาน
สอดคล้ อง
นายทหารจัดการความรู้ (ต่ อ)
• ประสานและกากับดูแลการฝึ กการจัดการความรู้ของหน่ วยทีใ่ ช้ ทรัพยากรการฝึ ก
ระบบความรู้การบัญชาการรบ
• กากับดูแลการจัดการสาระของหน่ วย
• เป็ นหัวหน้ าในการออกแบบและสร้ างโครงสร้ างการจัดการความรู้ เข้ าใจพันธกิจ
ของระบบสารสนเทศของการจัดการความรู้และเครือข่ ายทางเทคนิคอืน่ ๆ และวิธี
ทีจ่ ะใช้ สิ่งเหล่านีใ้ ห้ ดีทสี่ ุ ดเพือ่ รวมเอาผลผลิตของการจัดการความรู้เข้ ากับภาพ
การปฏิบัติการทั่วไป
• ประสาน ฝสส. เพือ่ ทาให้ แน่ ใจว่ าเครือข่ ายทางเทคนิคของหน่ วยจะสนับสนุน
การสร้ าง การจัดระเบียบ การใช้ และการถ่ ายทอดความรู้ทวั่ ทั้งหน่ วย
• ช่ วยหน่ วยรองทีไ่ ม่ มีชุดจัดการความรู้ในการใช้ การจัดการความรู้
ผู้ช่วยนายทหารจัดการความรู้
• ดาเนินการให้ กาลังพลในชุดเข้ าใจเทคโนโลยีและกระบวนการ
จัดการความรู้
• รับผิดชอบความเข้ าใจในการจัดการความรู้ ในการปฏิบัติการของ
กองทัพบกและเครือข่ ายข่ าวสารสากล และช่ วยเหลือหน่ วยใน
การใช้ ขีดความสามารถของทรัพยากรเหล่ านี้
• ช่ วย ฝอ.๓/สธ.๓ และ ฝสส. จัดทาแผนผังกระบวนการและ
ระบบสารสนเทศสร้ างภาพการปฏิบัตกิ ารทัว่ ไป
ผู้ช่วยนายทหารจัดการความรู้
• ประสานและบูรณาการการสร้ างและและการจัดองค์ ประกอบของภาพการ
ปฏิบัติการทั่วไป
• ริเริ่ม ประสาน และดารงขีดความสามารถการปฏิบัติหน้ าทีเ่ สมือน
• ปฏิบัตินโยบายและแผนการจัดการความรู้ภายในชุ ดจัดการความรู้
• ปรับปรุงการแบ่ งปันความรู้และประสิ ทธิผลโดยรวมของหน่ วยโดยการประเมิน
แผนงานการจัดการความรู้ โครงสร้ างพืน้ ฐาน และความพร้ อมของหน่ วยอย่ าง
ต่ อเนื่อง
• พัฒนา, จัดระเบียบ, และกากับดูแลการดาเนินการจัดการสาระของหน่ วย
• ช่ วยฝ่ ายเสนาธิการวิเคราะห์ ความรู้เพือ่ ตอบความต้ องการข่ าวสารสาคัญของ
ผู้บังคับบัญชา และสร้ างคาตอบเพือ่ ปิ ดช่ องว่ างทีม่ ี
ผู้ช่วยนายทหารจัดการความรู้ (ต่ อ)
• ค้ นหาวิธีการต่ างๆ เพือ่ รวมเอาการเรียนรู้จากประสบการณ์ เข้ ากับการเรียนรู้ของ
องค์ การ
• สร้ างแผนผังเครือข่ ายการจัดการความรู้ของหน่ วยระหว่ างกาลังพลต่ างๆ พัฒนา
ตัววัดต่ างๆ ในการประเมินประสิ ทธิผลของการจัดการความรู้
• ระบุแนวโน้ มทีส่ าคัญในการปฏิบัติการ, การสั งเกต ความรู้ความเข้ าใจ และ
บทเรียนจากการเรียนรู้ , และการปฏิบัติที่สาคัญ ทาให้ มั่นใจว่ าได้ มีการเผยแพร่
ทั้งทางดิ่งและทางระดับ
• ทาให้ มั่นใจว่ าระบบต่ างๆ สาหรับการอานวยการคาขอข่ าวสารต่ างๆ ทางานอย่ าง
มีประสิ ทธิภาพ
• ประสาน ฝสส. เพือ่ ให้ แน่ ใจว่ ามีการเชื่อมต่ อกับเครือข่ ายข่ าวสารสากล และการ
ใช้ ขีดความสามารถของเครือข่ ายดังกล่าว
ผู้ช่วยนายทหารจัดการความรู้ (ต่ อ)
• กากับดูแลบทบาทและความรับผิดชอบทีเ่ กีย่ วกับการจัดการความรู้ทนี่ ายทหาร
จัดการความรู้อานวยการ
• อานวยการคณะทางานจัดการความรู้
• เฝ้ าติดตามฐานข้ อมูลและเว็บไซท์ ของหน่ วยเพือ่ พิจารณาความเหมาะสมของ
สาระและตัดไฟล์ที่ซ้าซ้ อน
• พัฒนาการฝึ กการจัดการความรู้ของหน่ วยและแผนงานการรับรอง
• โดยประสานกับ ฝสส. เสนอแนะการบูรณาการคนและกระบวนการจัดการ
ความรู้ทางเทคนิคเข้ ากับโครงสร้ างทางเทคนิคของระบบควบคุมบังคับบัญชา
เพือ่ ช่ วยในการไหลของข่ าวสาร
นายสิ บจัดการความรู้
• เป็ นนายสิบอาวุโสของชุดจัดการความรู้
• เสนอแนะนายทหารจัดการความรู้ เกี่ยวกับการปรั บปรุ ง
การสร้ างและถ่ ายทอดความรู้ ภายในฝ่ ายเสนาธิการ
• ช่ วยบูรณาการแนวคิดการฝึ กการจัดการความรู้ เข้ ากับกิจ
สาคัญตามภารกิจในการฝึ กตามวงรอบและกาลังพลแต่ ละ
บุคคลของหน่ วย
• กากับดูแลการฝึ กจัดการความรู้ และการออกใบ
ประกาศนียบัตร
นายสิ บจัดการความรู้
• ช่ วยฝ่ ายเสนาธิการต่ างๆ จัดทีต่ ้งั ในทีบ่ ังคับการเพือ่ อานวยต่ อการปฏิสัมพันธ์
ระหว่ างกันให้ ดีทสี่ ุ ด
• ประสานการแสดงภาพและเสี ยงทีเ่ หมาะสมของภาพการปฏิบัติการทั่วไป และ
ผลผลิตการจัดการความรู้ทสี่ าคัญต่ อการปฏิบัติการอืน่ ๆ ในทีบ่ ังคับการและพืน้ ที่
อืน่ ๆ
• เฝ้ าติดตามเว็บไซท์ การระดมความคิดและเครือข่ ายความรู้ต่างๆ และเสนอแนะ
ฝ่ ายเสนาธิการเกีย่ วกับสาระทีส่ าคัญ
• โดยประสานกับหน่ วยรักษาความปลอดภัย ระบุมุมมองของการจัดการความรู้ ใน
การรักษาความปลอดภัย
• ให้ คาแนะนาเกีย่ วกับการออกแบบเรื่องสรุป และบทความต่ างๆ
นายสิ บจัดการความรู้ (ต่ อ)
• ช่ วยออกแบบแม่ แบบ และรูปแบบสาหรับแสดงผลผลิตความรู้เพือ่ เพิม่ ความเป็ น
มาตรฐานและลดความซ้าซ้ อน
• ร่ วมในคณะทางานจัดการความรู้
• ทาแผนจัดการสาระของหน่ วยให้ สอดคล้องกับข้ อกาหนดของ กห. และได้ รับ
ความเข้ าใจอย่ างเต็มทีแ่ ละปฏิบัติทวั่ ทั้งหน่ วย
• ทบทวนวิธีจัดการไฟล์ของหน่ วย และให้ มีการแก้ไขตามจาเป็ น
• ดารงให้ ทนั ต่ อปัจจุบันและแนวโน้ มในอนาคตในการจัดการความรู้และการจัดการ
สาระ และบูรณาการเข้ ากับการปฏิบัติการของหน่ วยตามจาเป็ น
• กากับดูแลการฝึ กกระบวนการถ่ ายทอดความรู้
นายสิ บจัดการความรู้ (ต่ อ)
• เป็ นผู้เชี่ยวชาญของหน่ วยเกีย่ วกับการฝึ ก ออกแบบ และใช้ ระบบและเครื่องมือ
จัดการความรู้
• เป็ นผู้เชี่ยวชาญของหน่ วยในการออกแบบโครงสร้ างระบบสารสนเทศ
• ประสาน ฝอ๓/สธ.๓ และ ฝสส. เพือ่ รวมระบบ เครื่องมือจัดการความรู้ และ
โครงสร้ างระบบบัญชาการรบกองทัพบกเข้ ากับการออกแบบข้ อมูลนาเข้ าและการ
แสดงภาพการปฏิบัติการทั่วไป
• ประสานกับชุ ดเทคนิคของ ฝสส. เพือ่ กาหนดและดาเนินกิจกรรมการจัดการ
ความรู้
นายสิ บจัดการสาระ
• เป็ นผู้เชี่ยวชาญของหน่ วยในการจัดการสาระและการจัด
ให้ มีเพื่อการดึงไปใช้
• จัดให้ มีความรู้ ให้ แก่ กาลังพล ณ เวลาที่ต้องการ
• ช่ วย ฝสส. จัดการสาระดิจติ อลด้ วยเครื่ องมือที่
แลกเปลี่ยนความรู้ ระดมความคิด และเชื่อมโยงกับ
ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะต่ างๆ ทั่วองค์ การ
นายสิ บจัดการสาระ
• สนับสนุนการปฏิบัตติ ามนโยบายและกระบวนการจัดการความรู้ ของหน่ วย
• ค้ นหาและได้ มาซึ่งการสั งเกต ความรู้ ความเข้ าใจ และบทเรียนทีเ่ รียนรู้ จากแต่ ละบุคคลและ
หน่ วยอืน่ ๆ ด้ วยการร่ วมแสดงความเห็น และเว็บไซท์ เครือข่ ายการเชื่อมต่ อค้ นหา
อินเตอร์ เน็ตที่ไม่ มีการรักษาความปลอดภัย และเครือข่ ายการเชื่อมต่ อค้ นหาอินเตอร์ เน็ตที่มี
การรักษาความปลอดภัย
• อานวยต่ อการถ่ ายทอดความรู้ ระหว่ างหน่ วยและผู้นาหน่ วยต่ างๆ
• พัฒนาระเบียบการเรียกชื่อเอกสารที่ครอบคลุม, นโยบายการกาหนดชื่อข้ อมูล, และการจัด
ระเบียบข้ อมูลสาหรับหน่ วย
• ฝึ กกาลังพลของฝ่ ายเสนาธิการถึงวิธีได้ มาซึ่งความรู้ ทปี่ รากฏทีจ่ ัดเก็บไว้ ในเครือข่ ายความรู้ ,
ฐานข้ อมูล, และระบบสารสนเทศ
• ช่ วยตรวจฐานข้ อมูลและเว็บไซท์ ของหน่ วยเพือ่ พิจารณาความปลอดภัยและความตรง
ประเด็นของสาระ
นายสิ บจัดการสาระ (ต่ อ)
• ช่ วยนายสิบจัดการความรู้ ออกแบบเรื่องสรุ ป, บทความ, แม่ แบบ และผลผลิต
ความรู้ อ่ ืนๆ ที่เกิดขึน้
• ช่ วยนายทหารจัดการความรู้ และผู้ช่วยนายทหารจัดการความรู้จัดให้ มีความ
เชี่ยวชาญและการฝึ กการใช้ เครื่องมือ, กระบวนการ และระบบจัดการความรู้
• ดารงให้ ทนั ต่ อปั จจุบันและแนวโน้ มในอนาคตในการจัดการความรู้และการ
จัดการสาระ
• ประสาน ฝสส. (ผ่ านนายทหารจัดการความรู้ ) ในการใช้ มาตรฐานปั จจุบัน
เพื่อปรั บปรุ งการค้ นหาและการเรี ยกข้ อมูลข่ าวสารจากแหล่ งข้ อมูลต่ างๆ
• กากับดูแลและทาการฝึ กกระบวนการจัดการความรู้ รวมทัง้ กระบวนการ
จัดการสาระสาหรั บกาลังพลของฝ่ ายเสนาธิการ
• ประสานชุดเทคนิค ฝสส. เพื่อระบุและใช้ แนวทางการจัดการสาระที่ได้ ผล
ประเมิน
(Assess)
ออกแบบ
(Design)
เครือขายการระดมความคิ
ด
่
(Network Collaborate)
กระบวนการจัดการความรู้
รวมเขากั
้ บความรูเดิ
้ ม
(Integrate)
ปฏิบต
ั ิ
(Implement)
พัฒนา (Develop
นารอง
(Pilot)
่
ยุทธศาสตร ์ (Strategic) องคการ
(Enterprise)
์
การประเมิน (Assess)
• คือ การวิเคราะห์ (Analysis) ความต้ องการความรู้ของหน่ วย
– การวิเคราะห์ รายงาน (Report analysis)
– การวิเคราะห์ ระบบเทคนิค (Technical systems analysis),
– การวิเคราะห์ การจัดการสาระ (Content management
analysis)
การออกแบบ (Design)
• เป็ นการระบุผลผลิตหรือการบริการในการจัดการความรู้ ท่ สี ามารถตอบความต้ องการ
ข่ าวสารต่ างๆ ได้ อย่ างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล หรื อสนองความต้ องการ
ประเภทความรู้ เฉพาะหนึ่งๆ
– เครือข่ ายความรู้ (Knowledge network): ห้ องสนทนา (Chat room), กระดาน
โต้ ตอบ (White-boarding), การประชุม (Forum), ชุดเสมือนออนไลน์ (Online
virtual team)
– หน้ าจอเครือข่ ายทางยุทธวิธี (Tactical Web Portals)
– ระบบความรู้ การบัญชาการรบ (Battle Command Knowledge System)
– ประชาคมเสมือน (Virtual community): เครือข่ ายที่ไม่ เป็ นทางการ (Informal
Networks), ประชาคมผู้สนใจ (Communities of Interest), ศูนย์ ความรู้
(Knowledge Centers), ประชาคมนักปฏิบัติ (CoP) และการประชุมผู้เชี่ยวชาญของ
กองทัพบก (Army Professional Forums) (การประชุมของหน่ วย (Unit
forum), การประชุมผู้นาหน่ วย (Leader forum), และ การประชุมสายงาน
(Functional forum)), ประชาคมแห่ งความมุ่งหมาย (Communities of
Purpose) (การระดมความคิ ดพร้อมกัน (Synchronous collaboration), การระดม
ความคิ ดไม่พร้อมกัน (Asynchronous collaboration)
การพัฒนา (Develop)
• เป็ นขัน้ การสร้ างการดาเนินการจริงที่ได้ จากขัน้ การ
ประเมินและขัน้ ออกแบบ โดย
– กาหนดกรอบโครงสร้ างสังคมสาหรับประชาคมเสมือนที่ได้
ออกแบบไว้ ในขัน้ ก่ อนนีแ้ ละเชื่อมต่ อประชาคมเหล่ านีเ้ ข้ ากับ
เครือข่ ายเทคนิค
การทดสอบ (Pilot)
• คือ การทดสอบแนวทางดาเนินการกับหน่ วยเพื่อพิสูจน์ ว่า
สามารถดาเนินการได้ อาจประกอบด้ วย
– การปรั บปรุ งอย่ างต่ อเนื่องด้ วยการปรั บแก้ ความต้ องการใหม่ ๆ
– การฝึ ก (Training)
– การฝึ กสอน (Coaching)
– การช่ วยเหลือในการระดมความคิด (Collaborative
assistance
– การช่ วยเหลือด้ วยชุดเพื่อนช่ วยเพื่อน (Team-peer assistance)
การปฏิบัติ (Implement)
• เป็ นการดาเนินการตามคาตอบที่ได้ จากการจัดการความรู้ ท่ ี
สามารถใช้ ได้ และบูรณาการสิ่งดังกล่ าวเข้ ากับการปฏิบัตกิ ารและ
ระบบควบคุมบังคับบัญชาของหน่ วย กิจกรรมต่ างๆ อาจ
ประกอบด้ วย
– การปฏิบัตหิ น้ าที่เสมือน (Virtual Right-Seat Ride)
– การเรี ยนรู้ ก่ อน ระหว่ าง และหลังการปฏิบัตกิ าร
– การเล่ าเรื่ อง (Storytelling)
– การเรี ยนรู้ จากประสบการณ์ (Experiential learning
– การพัฒนาความเชี่ยวชาญ (Expertise development)
ถาม - ตอบ
นขต.ทบ.3-56