การจัดการความรู้ - กรมยุทธศึกษาทหารบก

Download Report

Transcript การจัดการความรู้ - กรมยุทธศึกษาทหารบก

การจัดการความรู้
Knowledge Management
พันเอก วิสันติ สระศรีดา
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
1
กาลามสูตร
1. อย่ ายึดถือโดยการฟั งกันตามมา
2. อย่ ายึดถือโดยการยึดถือสืบต่ อกันมา
3. อย่ ายึดถือโดยการเล่ าลือ
4. อย่ ายึดถือโดยการอ้ างตารา
5. อย่ ายึดถือโดยตรรกกะ
6. อย่ ายึดถือโดยการอนุมาน
7. อย่ ายึดถือโดยการคิดตรองตามแนวเหตุผล
8. อย่ ายึดถือเพราะเข้ ากันได้ กับทฤษฎีของตน
9. อย่ ายึดถือเพราะมองเห็นรูปลักษณะน่ าเชื่อ
10.อย่ ายึดถือเพราะนับถือว่ าท่ านเป็ นครู ของเรา
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
2
วัตถุประสงค์
• เพื่อให้ เข้ าใจหลักการและขัน้ ตอนการจัดการความรู้
• เป็ นแนวทางในการกาหนดเป้าหมายการจัดการความรู้
• เป็ นแนวทางในการกาหนดแผนงานการจัดการความรู้
ในหน่ วย
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
3
ขอบเขต
• หลักการเบือ้ งต้ นการจัดการความรู้
• แนวทางการดาเนินการจัดทาแผนการจัดการความรู้
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
4
หน่ วยของท่ าน เป็ นอย่ างนีห้ รือไม่
• ทาผิดซ้าซากในสิ่ งเดิม
• เมือ่ มีเจ้ าหน้ าทีย่ ้ าย/ลาออกไป ความรู้ กไ็ ปกับตัวด้ วย
ทาให้ หน่ วยขาดความรู้ น้ันไป
• เราพบความบกพร่ องเดิมๆซ้ากัน
• เรามี เรื่องทีท่ าได้ ดี หลายอย่ างในหน่ วย แต่ ไม่ มกี าร
จัดการและนามาใช้ ประโยชน์ (เราไม่ ร้ ู เรื่องเพือ่ น เพือ่ น
ไม่ ร้ ู เรื่องเรา)
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
5
พระราชกฤษฎีกาว่ าด้ วยหลักเกณฑ์
และวิธีการบริหารกิจการบ้ านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
หมวด 3 มาตรา 11 “ ส่ วนราชการมีหน้ าที่พัฒนาความรู้ ใน
ส่ วนราชการ เพื่อให้ มีลักษณะเป็ นองค์ การแห่ งการเรียนรู้
อย่ างสม่าเสมอ โดยต้ องรับรู้ข้อมูลข่ าวสารและสามารถ
ประมวลผลความรู้ในด้ านต่ างๆ เพื่อนามาประยุกต์ ใช้ ใน
การปฏิบัตริ าชการได้ อย่ างถูกต้ อง รวดเร็ว และเหมาะสม
ต่ อสถานการณ์ รวมทัง้ ต้ องส่ งเสริมและพัฒนาความรู้
ความสามารถ สร้ างวิสัยทัศน์ และปรับเปลี่ยนทัศนคติของ
ข้ าราชการในสังกัด ให้ เป็ นบุคลากรที่มีประสิทธิภาพและมี
การเรียนรู้ร่วมกัน...”
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
6
องค์ ประกอบผลักดันสู่ การเป็ นองค์ การแห่ งการเรียนรู้
@การปรั บโครงสร้ างองค์ การพืน้ ฐานเพื่อรองรั บบุคลากรให้ มีการ
แลกเปลีย่ นเรียนรู้ได้ สะดวก
@การปรับขั้นตอนการทางานให้ รวดเร็วและกระชั บ เพื่อเอื้อต่ อการ
แลกเปลีย่ นเรียนรู้ให้ รวดเร็ว สะดวก
@พัฒนาคนให้ มีขีด ความสามารถ มีระบบการยกย่ องชมเชย ให้
รางวัลทีเ่ อือ้ ต่ อการจัดการความรู้ มีวัฒนธฑรรมทางานเชิงรุ ก การ
แลกเปลีย่ น แบ่ งปันความรู้
@ปรั บกฎระเบียบและกฎหมายที่เป็ นอุปสรรคต่ อการแลกเปลี่ยน
เรียนรู้
คาสั่ งที่เกีย่ วข้ อง
@คาสั่ ง ทบ.(เฉพาะ)ที่ ๖๑๒/๕๕ ลง ๒๕ พ.ค.๕๕
-จก.กพ.ทบ. เป็ นประธานคณะกรรมการจัดการความรู้ของ ทบ.
@คาสั่ ง ยศ.ทบ.(เฉพาะ)ที่ ๓๖๕/๕๕ ลง๑๙ มิ.ย.๕๕
-รอง จก.ยศ.ทบ.(๑) เป็ นประธานคณะกรรมการจัดการความรู้ ของ
ยศ.ทบ.
Learning Organization
1.
2.
3.
4.
5.
Share vision
Team Learning
Personal Mastery
Mental Model
Systems Thinking
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
10
ความหมาย
• ความรู้ เป็ นข้ อเท็จจริง (Facts) ความจริง (Truth) กฎเกณฑ์
และข้ อมูลต่ างๆทีม่ นุษย์ ได้ รับและรวบรวมสะสมไว้ จากมวล
ประสบการณ์ ต่างๆ
• พจนานุกรม The Lexiticon Webster (Dictionary
Encyclopedia Edition 1,1977:531) “ ความรู้ ” เป็ นสิ่ งที่
เกีย่ วข้ องกับข้ อเท็จจริง กฎเกณฑ์ และโครงสร้ างที่เกิดขึน้
จากการศึกษา หรือ เกีย่ วกับสถานที่ สิ่ งของ หรือบุคคล ซึ่ง
ได้ จากการสั งเกตุ ประสบการณ์ หรือรายงาน การรับรู้
ข้ อเท็จจริงเหล่ านีต้ ้ องชัดเจนและต้ องอาศัยเวลา
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
11
ทีม่ าของความรู้
• การรับรู้ข้อเท็จจริง (Facts) ความจริง (Truth) กฎเกณฑ์ และข้ อมูลต่ างๆที่
เกิดขึน้ จากการศึกษา จากรายงาน ซึ่งพฤติกรรมเบือ้ งต้ นทีผ่ ู้เรียนสามารถจา
ได้ ระลึกได้ โดยได้ ยนิ การมองเห็น การสั งเกต
• ประสบการณ์ ทาง ธรรมชาติ (NATURAL SETTING) คือ เรียนรู้จากสภาพ
ธรรมชาติทอี่ ยู่ใกล้ๆตัว
• การเรียนรู้จาก สั งคม (SOCIETY SETTING) เช่ น จากการอ่าน หรือจาก
การเรียนการสอน (FORMAL INSTRUCTIONAL SETTING) คือ มี
ผู้แทนจากสถาบันจัดลาดับการเรียนรู้อย่ างมีจุดหมายและต่ อเนื่อง
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
12
ระดับของความรู้
เจมส์ ไบรอัน ควินน์
• Know-What เป็ นความรู้ เชิงทฤษฎีล้วน ๆ เปรี ยบเสมือนความรู้ของผูจ้ บ
ปริ ญญาตรี มาหมาด ๆ เมื่อนาความรู ้เหล่านี้ไปใช้งาน ก็จะได้ผลบ้าง ไม่ได้ผลบ้าง
• Know-How เป็ นความรู้ ทมี่ ที ้งั เชิงทฤษฎี และเชิงบริบท เปรี ยบเสมือนความรู้ของ
ผูจ้ บปริ ญญา และมีประสบการณ์การทางานระยะหนึ่ ง เช่น 2-3 ปี ก็จะมีความรู ้ใน
ลักษณะที่รู้จกั ปรับให้เข้ากับสภาพแวดล้อมหรื อบริ บท
• Know-Why เป็ นความรู้ ในระดับทีอ่ ธิบายเหตุผลได้ ว่ าทาไมความรู้ น้ัน ๆ จึงใช้
ได้ ผลใน บริ บทหนึ่ง แต่ใช้ไม่ได้ผลในอีกบริ บทหนึ่ ง
• Care-Why เป็ นความรู้ ในระดับคุณค่ า ความเชื่อ ซึ่งจะเป็ นแรงขับดันมาจาก
ภายในจิตใจ ให้ตอ้ งกระทาสิ่ งนั้น ๆ เมื่อเผชิญสถานการณ์
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
13
ระดับความรู้
•
•
•
•
•
•
จา Knowledge
เข้ าใจ Comprehension
ประยุกต์ ใช้ Application
วิเคราะห์ Analysis
สั งเคราะห์ Synthesis
ประเมิน Evaluation
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
Know What
Know How
Know Why
Care Why
14
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
15
การจัดการ
Management
คือ
การทาสิ่งที่เป็ นไปไม่ ได้ ให้ เป็ นไปได้
‘’Management makes the impossible
possible’’
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
16
Knowledge
(ความรู้ )
Explicit Knowledge
(ความรู้ ทชี่ ัดแจ้ ง)
21 พ.ค.2556
Tacit Knowledge
(ความรู้ ทฝี่ ังลึกในคน/ความรู้ โดยนัย )
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
17
Tacit Knowledge
(ความรู้ ทฝี่ ังลึกในคน/ความรู้ โดยนัย )
Explicit Knowledge
(ความรู้ ทชี่ ัดแจ้ ง)
ความรู้ทเี่ ป็ นเหตุและผลที่
สามารถบรรยาย/ถอดความ
ออกมาได้ ในรูปของทฤษฏี การ
แก้ปัญหา คู่มือ และฐานข้ อมูล
ความรู้ทสี่ ามารถอธิบายหรือ
เขียนออกมาได้ โดยง่ าย เช่ น
คู่มือการปฏิบัติงาน หรือ
วิธีการใช้ เครื่องมือต่ างๆ (ทุก
คนสามารถเข้ าถึง/ซื้อได้ )
21 พ.ค.2556
ความรู้ ทมี่ ีอยู่ในแต่ ละบุคคลทีไ่ ด้ มา
จากประสบการณ์ และความสามารถ
ส่ วนตัว ยากทีจ่ ะเขียนหรืออธิบาย
ออกมาได้ เช่ น ให้ บอกวิธีในการว่ าย
นา้ , วิธีการวาดรู ปให้ สวย, วิธีการ
ตอบสนองต่ อปัญหาเฉพาะหน้ าใดๆ
ทีเ่ กิดขึน้ ความรู้ ชนิดนีพ้ ฒ
ั นาและ
แบ่ งปันกันได้ และเป็ นความรู้ ทจี่ ะทา
ให้ เกิดความได้ เปรียบในการแข่ งขัน
ได้
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
18
ความรู้ ท่ ชี ัดแจ้ ง
(Explicit Knowledge)
อธิบายได้
แต่ ยังไม่ ถูกนาไปบันทึก
(1)
อธิบายได้
แต่ ไม่ อยากอธิบาย
ความรู้ท่ ฝี ั งอยู่ในคน
(Tacit Knowledge)
21 พ.ค.2556
9
อธิบายไม่ ได้
(2 )
(3 )
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
19
รูปแบบของความร้ ู
เอกสาร (Document)
กฎ ระเบียบ (Rule)
วิธีปฏิบัติงาน (Practice)
ระบบ (System)
ความรู้ ทชี่ ัดแจ้ ง
(Explicit Knowledge)
ทักษะ (Skill )
ประสบการณ์ (Experience)
ความคิด (Mind of individual )
พรสวรรค์ (Talent )
21 พ.ค.2556
ความรู้ ทฝี่ ังอยู่ในคน
(Tacit Knowledge)
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
20
ความหมายการจัดการความรู้
The World Bank : เป็ นการรวบรวมวิธีปฏิบต
ั ิขององค์กรและ
กระบวนการที่เกี่ยวข้ องกับ การสร้ าง การนามาใช้ และเผยแพร่ความรู้
และบริ บทต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับการดาเนินธุรกิจ
European Foundation for Quality Management(EFQM)
: วิธีการจัดการความรู้ เป็ นกลยุทธ์และกระบวนการในการ จาแนก จัดหา
และนาความรู้มาใช้ ประโยชน์ เพื่อช่วยให้ องค์กรประสบความสาเร็จตาม
เป้าหมายที่ตงไว้
ั้
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
22
ความหมายการจัดการความรู้
นพ.วิจารณ์ พานิช: กระบวนการที่ดาเนินการร่ วมกันโดย
ผู้ปฏิบตั งิ านในองค์ กรหรือหน่ วยงานย่ อยขององค์ กร เพื่อสร้ าง
และใช้ ความรู้ในการทางานให้ เกิดผลสัมฤทธิ์ดขี นึ ้ กว่ าเดิม
โดยมีเป้าหมายพัฒนางานและคน
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
23
ความหมายการจัดการความรู้
ก.พ.ร.:การรวบรวมองค์ ความรู้ ทมี่ ีอยู่ในส่ วนราชการ
ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร
มาพัฒนาให้ เป็ นระบบเพือ่ ให้ ทุกคนในองค์ การ
สามารถเข้ าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้ เป็ นผู้รู้
รวมทั้งปฏิบัติงานได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ
อันจะส่ งผลให้ องค์ การมีความสามารถในเชิงแข่ งขันสู งสุ ด
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
24
ความหมายการจัดการความร้ ู
• ความรู้ เป็ นผลมาจากการจัดระบบและตีความสารสนเทศ
(information) ตามบริบท และสารสนเทศก็มาจากการ
ประมวลข้ อมูล (data)
• ความรู้ จะไม่ มีประโยชน์ ถ้าไม่ นาไปสู่ การกระทาหรือการตัดสิ นใจ
• ความรู้ เป็ นทุนปัญญา หรือทุนความรู้ สาหรับใช้ สร้ างคุณค่ าและมูลค่ า
(value)
• การจัดการความรู้ เป็ นกระบวนการใช้ ทุนปัญญา นาไปสร้ างคุณค่ าและ
มูลค่ า ซึ่งอาจเป็ นมูลค่ าทางธุรกิจหรือคุณค่ าทางสั งคมก็ได้
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
25
ความหมายการจัดการความร้ ู
การจัดการความรู้ คือ การดึงเอาความรู้ ที่
กระจัดกระจาย ฝังอยู่ทวั่ ไปภายในองค์ กร
ออกมารวบรวม และแบ่ งกลุ่ม จัดเก็บให้ เป็ น
องค์ ความรู้ ขององค์ กร เพือ่ เป้ าหมายในการ
พัฒนาสู่ องค์ กรแห่ งการเรียนรู้ ต่อไป
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
26
ประโยชน์ ของการจัดการความรู้
เพิ่มศักยภาพในการตัดสิ นใจ
สร้างการยอมรับ
ประโยชน์ ทไี่ ด้ รับ
เกิดความยืดหยุน่
นวัตกรรม
เพิม่ ประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผล
พัฒนาคุณภาพ
ลดการทางานซ้ าซ้อน
ทีม่ า: The Cap Gemini
Ernst & Young
การกระจายอานาจ
21 พ.ค.2556
50%
60%
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
70%
สั ดส่ วนผู้เห็นด้ วย
27
90%
80%
เป้าหมายการจัดการความรู้
องค์ กร
การทางาน
คน
21 พ.ค.2556
บรรลุเป้าหมาย
มีประสิทธิภาพ
ประสิทธิผล
(บรรลุเป้าหมาย)
คิดเป็ น ทาเป็ น
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
คนและ
องค์ กร
เก่ งขึน้
เติบโตขึน้
อย่ างยั่งยืน
28
เป้าหมายการจัดการความรู้
• เพือ่ พัฒนางาน ให้มีคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ยงิ่ ขึ้น
• เพือ่ การพัฒนาคน คือ พัฒนาผูป้ ฏิบตั ิงาน ซึ่งในที่น้ ีคือ ข้าราชการทุก
ระดับ แต่ที่จะได้ประโยชน์มากที่สุด คือ ข้าราชการชั้นผูน้ อ้ ย และ
ระดับกลาง
• เพือ่ การพัฒนา “ฐานความรู้” ขององค์ กรหรือหน่ วยงาน เป็ นการ
เพิ่มพูน ทุนความรู ้หรื อทุนปัญญาขององค์กร ซึ่งจะช่วยทาให้องค์กรมี
ศักยภาพในการฟันฝ่ าความยากลาบากหรื อความไม่แน่นอนในอนาคต
ได้ดีข้ ึน
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
29
การจ ัดการความรู ้
การบริหารจัดการเพือ่ ให้ คน ทีต่ ้ องการใช้ ความรู้
ได้ รับความรู้ ที่ต้องการใช้
ในเวลาที่ต้องการ
เพือ่ ให้ บรรลุเป้าหมายการทางาน
Right Knowledge
Right People
Right Time
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
30
โดยสรุป การจ ัดการความรู ้
การบริหารจ ัดการความรูเ้ พือ
่ ให้ “คน” ทีต
่ อ
้ งการ
ความรู ้ Right People ได้ร ับ “ความรู”้ ที่
ต้องการ Right Knowledge ใน “เวลา” ที่
ต้องการ Right Time เพือ
่ ให้บรรลุเป้าหมายการ
ทางาน
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
31
การจัดการความรู้
ประเด็นพิจารณาการจัดการความรู้
• เวลา
• ใจ
• พืน้ ที่/เวที
• เทคโนโลยี
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
32
การจัดการ
ความรู้
ระดับปัจเจก
รู้ อะไร
1
ไม่ รู้ อะไร
3
รู้ ว่ า
เรี ยนร้ ู
ปฏิบัติการ
2
4
ไม่ รู้ ว่ า
21 พ.ค.2556
เปิ ดใจ
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
* โดย ดร. ประพนธ์ ผาสุ ขยืด สถาบันส่ งเสริมการจัดการความรู้เพือ่ สังคม (สคส.)
33
การจัดการความรู้ ในองค์ กร
7. การเรียนรู้
(Learning)
6. การแบ่ งปัน
แลกเปลีย่ นความรู้
(Knowledge Sharing)
5. การเข้ าถึงความรู้
(Knowledge Access)
4.
1.
1. การบ่ งชี้ความรู้
(Knowledge Identification)
สำรวจควำมรู้
ถ่ำยทอด
3. KM 2.
จัดเก็บ รวบรวม
สังเครำะห์ พัฒนำ
4. การประมวลและ
กลัน่ กรองความรู้
(Knowledge Codification
and Refinement)
3. การจั21ดพ.ค.2556
ความรู้ให้ เป็ นระบบ
(Knowledge Organization)
2. การสร้ างและแสวงหาความรู้
(Knowledge Creation and Acquisition)
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
34
แหล่ งความรู้
บุคลากรในองค์ กร
21 พ.ค.2556
องค์ กร
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
ลูกค้ า/ผู้ส่งมอบ/คู่ค้า
35
แหล่ งเก็บความรู้ในองค์ กร
(คลังความรู้ )
ฐานข้ อมูลความรู้ (Knowledge Base ,IT)
สมองของพนักงาน
เอกสาร
(Electronic)
12%
20%
42%
สมองของพนักงาน
เอกสาร (กระดาษ)
26%
เอกสาร (Electronic)
Knowledge Base (IT)
เอกสาร (กระดาษ)
Source: Survey of 400 Executives by Delphi
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
36
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
37
Socialization
การแบ่งปั นและสร้างความรู ้
จาก Tacit Knowledge ไปสู่
Tacit Knowledge
โดยแลกเปลี่ยนประสบการณ์ตรงของผูท้ ี่สื่อสาร
ระหว่างกัน
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
38
Externalization
การสร้างและแบ่งปั นความรู ้จากการแปลง
Tacit Knowledge เป็ น Explicit Knowledge
โดยเผยแพร่ ออกมาเป็ นลายลักษณ์อกั ษร
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
39
Combination
การแบ่งปั นและสร้างความรู ้
จาก Explicit Knowledge ไปสู่ Explicit
Knowledge
โดยรวบรวมความรู้ประเภท Explicit ที่เรี ยนรู้ มาสร้าง
เป็ นความรู้ประเภท Explicit ใหม่ๆ
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
40
Internalization
การแบ่งปั นและสร้างความรู ้
จาก Explicit Knowledge ไปสู่ Tacit
Knowledge
โดยมักจะเกิดจากการนาความรู้ที่เรี ยนรู้มาไปปฏิบตั ิจริ ง
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
41
วงจรความรู้ (Knowledge Spiral : SECI Model)
ควำมรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge)
ควำมรู้ที่ฝังอยู่ในคน
(Tacit Knowledge)
Socialization
Internalization
Externalization
ความรู้ท่ ชี ัดแจ้ ง
(Explicit Knowledge)
Combination
ควำมรู้ที่ชดั แจ้ง
(Explicit Knowledge)
( อ้ างอิงจาก : Nonaka & Takeuchi )
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
42
คุณค่ าของ “ความรู้ ”
•ความรู้เป็ นสินทรัพย์
•ใช้ แล้ วไม่ มีวันหมด
•ยิ่งใช้ ย่ งิ เพิ่ม
•ยิ่งใช้ มากเท่ าไร ยิ่งมีคุณค่ าเพิ่มมากขึน้
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
43
กระบวนการจ ัดการความรู ้
เราต้องการความรูอ
้ ะไร
เรามีความรูน
้ นหรื
ั้
อย ัง
ี้ วามรู ้
1.การกาหนดความรู/
้ บ่งชค
(Knowledge Identification)
ความรูน
้ นอยู
ั้
ท
่ ใี่ คร/อยูใ่ นรูปแบบอะไร
จะเอามาเก็บรวมก ันได้อย่างไร
2. การสร้างและแสวงหาความรู ้
(Knowledge Creation & Acquisition)
จะแบ่งประเภทห ัวข้ออะไรบ้าง
3. การจ ัดการความรูใ้ ห้เป็นระบบ
(Knowledge Organization)
จะทาให้เข้าใจง่ายและสมบูรณ์ได้อย่างไร
4. การประมวลและกลน
่ ั กรองความรู ้
(Knowledge Codification & Refinement)
จะนาความรูม
้ าใชง้ านได้งา่ ยหรือไม่
5. การเข้าถึงความรู ้
(Knowledge Access)
มีการแบ่งปันความรูก
้ ันหรือไม่
6. การแบ่งปันแลกเปลีย
่ นความรู ้
(Knowledge Sharing)
ความรูน
้ นท
ั้ าให้เกิดประโยชน์ก ับองค์การหรือไม่
7. การเรียนรู ้ (Learning)
ทาให้องค์การดีขน
ึ้ หรือไม่
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
44
กระบวนการจ ัดการความรู ้
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
การกาหนดความรูท
้ ต
ี่ อ
้ งการ
สร้างและแสวงหาความรู ้
จ ัดหมวดหมูค
่ วามรูใ้ ห้เป็นระบบ
จ ัดประมวล กลน
่ ั กรองความรู ้
การเข้าถึงความรู ้
กายแบ่งปัน/แลกเปลีย
่ นความรู ้
การเรียนรู ้
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
45
1 การกาหนดความรู ้
•
ั ัศน์/พ ันธกิจ / เป้าหมาย
ต้องมีวส
ิ ยท
•
ต้องถามว่า เพือ
่ ให้บรรลุเป้าหมาย
เราต้องรูอ
้ ะไร ขณะนีเ้ รามีความรู ้
อะไรบ้าง อยูใ่ นรูปแบบใด และอยูท
่ ี่
ใคร
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
46
2 การสร้างและแสวงหาความรู ้
•สร้างความรูใ้ หม่
•แสวงหาความรูจ
้ ากภายนอก
•ร ักษาความรูเ้ ก่า
•กาจ ัดความรูท
้ ใี่ ชไ้ ม่ได้แล้ว
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
47
3 การจ ัดความรูใ้ ห้เป็นระบบ
•วางโครงสร้างความรูเ้ พือ
่ เตรียมพร้อมสาหร ับการ
เก็บความรูอ
้ ย่างเป็นระบบในอนาคต
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
48
4 การประมวล
และการกลน
่ ั กรองความรู ้
•
ปร ับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน
•
้ าษาเดียวก ัน
ใชภ
•
้ หาให้สมบูรณ์
ปร ับปรุงเนือ
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
49
5 การเข้าถึงความรู ้
ื เวียน
• Push: การฝึ กอบรม, หน ังสอ
• Pull: Board, Web Board
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
50
6 การแบ่งปันความรู ้
Explicit Knowledge
•
เอกสาร
•
ฐานความรู ้
•
เทคโนโลยีสารสนเทศ
Tacit Knowledge
•
ทีมข้ามสายงาน
•
กิจกรรมกลุม
่ คุณภาพและนว ัตกรรม
•
ชุมชนแห่งการเรียนรู ้ (Cop)
้ ง
•
ระบบพีเ่ ลีย
ั
•
การสบเปลี
ย
่ นงาน
•
การยืมต
ัว
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
•
เวทีแลกเปลีย
่ นความรู ้
51
7 การเรียนรู ้
การเรียนรู ้
องค์ความรู ้
21 พ.ค.2556
(Learning)
นาไปใช ้
เกิดการเรียนรู ้
ได้ประสบการณ์ใหม่
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
52
การแลกเปลีย่ นเรียนรู้
กลุ่มพ่ อแม่ : ใช้ เวลาระหว่ างชมละครโทรทัศน์ เพือ่
แลกเปลีย่ นศิลปะการเลีย้ งลูก
กลุ่มศิลปิ น : จับกลุ่มตามร้ านกาแฟและสตูดโิ อ เพือ่
ถกเถียงกันถึงข้ อดีของสไตล์ หรือเทคนิคใหม่ ๆ
กลุ่มนางพยาบาล : พบปะกันช่ วงเวลาอาหารกลางวันและ
พูดคุยเกีย่ วกับอาการป่ วยของคนไข้ ในรู ปแบบต่ างๆ
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
53
การแลกเปลีย่ นเรียนรู้
กลุ่มมนุษย์ ถา้ : ล้อมวงรอบกองไฟ เพือ่ ถกเถียง
เกีย่ วกับยุทธวิธีในการล่ าสั ตว์ ลักษณะอาวุธทีใ่ ช้
รากไม้ แบบใดที่สามารถกินได้
กลุ่มแก๊ งกวนเมือง : เรียนรู้ ทจี่ ะอยู่รอดตามท้ อง
ถนน และรับมือกับโลกที่ไม่ ค่อยเป็ นมิตรกับพวกเค้ า
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
54
ทาอย่ างไรให้ กระบวนการจัดการความรู้ “มีชีวิต”
• รู้ ว่าจะทาอะไร
• ทาแล้ ว ตัวเอง ได้ ประโยชน์ อะไร
คน
คน
คน
คน
ต้ อง “อยาก” ทา
ต้ องมีทรั พยากรที่จาเป็ น (เครื่ องมือ ฯลฯ)
ต้ องรู้ ว่าทาอย่ างไร (ฝึ กอบรม, เรี ยนรู้ )
ต้ องประเมินได้ ว่าทาได้ ตามเป้าหมายหรื อ
ทาแล้ วได้ ประโยชน์ หรื อไม่
คน ต้ อง “อยาก” ทา และปรั บปรุ งอย่ างต่ อเนื่อง
(มีแรงจูงใจ)
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
56
ั
ความรูท
้ ช
ี่ ดแจ้
ง (Explicit Knowledge)


การจ ัดเก็บความรูแ
้ ละวิธป
ี ฏิบ ัติทเี่ ป็นเลิศในรูปของเอกสาร
สมุดหน้าเหลือง (Yellow Pages)

ฐานความรู ้ (Knowledge Bases)
ความรูท
้ ฝ
ี่ ง
ั อยูใ่ นคน (Tacit Knowledge)







การใชเ้ ทคนิคการเล่าเรือ
่ ง (Story Telling)
การจ ัดตงที
ั้ มข้ามสายงาน (Cross-functional team)
กิจกรรมกลุม
่ คุณภาพและนว ัตกรรม (Innovation & Quality Circles : IQCs)
ชุมชนน ักปฏิบ ัติ (Communities of Practice : CoP)
้ ง (Mentoring System)
ระบบพีเ่ ลีย
ั
การสบเปลี
ย
่ นงาน (Job Rotation) และการยืมต ัวบุคลากรมา
่ ยงาน
ชว
เวทีสาหร ับการแลกเปลีย
่ นเรียนรู ้ (Knowledge Forum)
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
57
ต ัวอย่างเครือ
่ งมือและกระบวนการจ ัดการความรู ้
•
•
•
•
•
•
•
•
ปั จจัยแห่ งความสาเร็จ
ผู้บริหาร
บรรยากาศและวัฒนธรรมองค์ กร
การสื่อสาร
เทคโนโลยีท่ เี ข้ ากับพฤติกรรมและการทางาน
การให้ ความรู้เรื่ องการจัดการความรู้และการใช้ เทคโนโลยี
แผนงานชัดเจน
การประเมินผลโดยใช้ ตัวชีว้ ัด
การสร้ างแรงจูงใจ
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
58
เทคนิค KM
เคารพความคิดเห็นคนอืน่
เสนอความคิดใดก็ได้
ฟังซึ่งกันและกัน
แบ่ งกันอภิปราย
ให้ ทุกคนมีส่วนร่ วม
เริ่มและจบตามเวลา
เข้ าร่ วมในทุกวาระการสั มมนา
พูดดังฟังชัดและช้ าๆ
พยายามหาโอกาสเรียนรู้จากผู้อนื่
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
59
สรุป:การจัดการความรู้
 กระบวนการจัดการข้ อมูลทีเ่ ป็ นความรู้ ให้ เป็ นระเบียบ
ครบถ้ วนตามที่ต้องการ ให้ ง่ายต่ อการค้ นหาและใช้
ประโยชน์
 ไม่ ม่ ุงกระบวนการแต่ ม่ ุงสู่ ผลสาเร็จของงาน
 ความรู้ ๒ ประเภท
- ความรู้ ทบี่ ันทึกเป็ นลายลักษณ์ อกั ษร
- ความรู้ ทมี่ อี ยู่ในตัวบุคคล
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
60
ปัญหา/บ่งการ
การจัดการความรู้
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
61
บ่ งการการฝึ กอบรม
กาหนดองค์ ความรู้ ทจี่ าเป็ นต่ อการปฏิบัตริ าชการ
ประเด็นยุทธศาสตร์ ของหน่ วย
ความรู้สาคัญต่ อองค์ กร
ปัญหาทีป่ ระสบในงาน
แต่ ละองค์ ความรู้ กาหนดตัวชี้วดั และเป้าหมายตัวชี้วดั
เลือกองค์ ความรู้ โดยระบุกจิ กรรมการจัดการความรู้ ท้งั ๗ ขั้นตอน
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
62
แนวทางการกาหนดขอบเขต KM และเป้าหมาย KM
1
พันธกิจ/วิสัยทัศน์
ประเด็นยุทธศาสตร์
(Work process) กระบวนงาน
(เป้าหมาย KM)
3
ความรู้ท่ สี าคัญต่ อองค์ กร
• ความรู้เกี่ยวกับลูกค้ า
กลยุทธ์
(ขอบเขต KM)
2
KM Focus Areas
• ความสัมพันธ์ กับผู้มีส่วนได้ เสียต่ างๆ
• ประสบการณ์ ความรู้ ท่ อี งค์ กรสั่งสม
• ความรู้ เกี่ยวกับกระบวนการ
• ความรู้ เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ และบริการ
• ความรู้ ท่ มี ีอยู่ในบุคลากร
•ฯลฯ
ปั ญหา
Desired State of KM Focus Areas
(แผนการจัดการความรู้ )
KM Action Plans
การเรี ยนรู้
(Learning)
การวั ด ผล
(M easurem ents)
การยกย่ องชมเชย
และการให้ รางวั ล
เป้ าหมาย
(Desired State)
(Recognition and Reward)
KM Process
Change Management Process
W o rld -C la s s K M
E n v iro n m e n t
กระบวนการ
และเครื่ องมื อ
(Process Tools)
บรรยายเสริ มความรู ้ ร.29
การสื่ อสาร
(Com m unication)
การเตรี ยมการและ
ปรั บเปลี่ ยนพ ฤติ กรรม
(Transition and Behavior
M anagem ent)
63
วิสัยทัศน์ ทบ.
กองทัพบกเป็ นกลไกด้ านความมั่นคงของรัฐทีส่ าคัญ
และมีศักยภาพ ในอันที่จะพิทักษ์ รักษาเอกราชและ
ความมั่นคงของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ประชาชนและผลประโยชน์ ของชาติ รวมทั้งการพัฒนา
ประเทศให้ มีความมั่นคง ยัง่ ยืนและเป็ นกองทัพที่มี
เกียรติและศักดิ์ศรี เป็ นที่ยอมรับ เชื่อมั่น ศรัทธา
ตลอดจนสามารถเป็ นที่พงึ่ ของประชาชนได้ เสมอ
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
64
พันธกิจ
การเตรียมกาลัง : จัดเตรี ยมและเสริ มสร้างกาลังทั้งปวงในส่ วนของ
กองทัพบก และช่วยเหลือสนับสนุนการจัดเตรี ยมกาลังทางบกของ
ส่ วนราชการอื่น ให้มีความพร้อมตั้งแต่ยามปกติ เพื่อให้มีความ
เพียงพอและพร้อมที่จะเผชิญภัยคุกคาม ทั้งจากภายในและภายนอก
ประเทศ รวมทั้งมี ขีดความสามารถที่จะปฏิบตั ิภารกิจทางทหารและ
ภารกิจทางทหารที่มิใช่สงครามได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ ด้วยการ
พัฒนาการเสริ มสร้างกาลังตามยุทธ ศาสตร์การป้ องกันประเทศ กห.
และแผนการพัฒนาเสริ มสร้างกาลังกองทัพ ทั้งในด้านโครงสร้าง
กาลัง ความพร้อมรบ ความต่อเนื่องและความ ทันสมัย
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
65
พันธกิจ
การใช้ กาลัง : ใช้กาลังที่ได้จดั เตรี ยมไว้หรื อที่จะระดมสรรพกาลัง เพื่อ
ป้ องกันราชอาณาจักร จากภัยคุกคามภายในและภายนอกประเทศ
การปกป้ องสถาบันพระมหากษัตริ ย ์ การคุม้ ครองรักษาผลประโยชน์
ของชาติ การรักษาความมัน่ คงภายใน การรักษาความสงบเรี ยบร้อย
ภายในประเทศ การช่วยพัฒนาประเทศ ตลอดจนการสนับสนุน
รัฐบาลและประชาชนในการแก้ไขปัญหาสาคัญของชาติในรู ปแบบ
ต่างๆ
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
66
ค่ านิยมองค์ กรของ ทบ.
เป็ นทหารอาชีพที่มีเกียรติ มีศักด์ ศรี สง่ างาม
น่ าเกรงขามและเป็ นที่ยอมรับศรัทธา และ
พึง่ พาของประชาชนได้ เสมอ
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
67
แผนปฏิบัติราชการ ทบ.
• ประเด็นยุทธศาสตร์
1.
2.
3.
4.
ประเด็นยุทธศาสตร์ การพิทกั ษ์ รักษาและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์
ประเด็นยุทธศาสตร์ การป้ องกันประเทศ
ประเด็นยุทธศาสตร์ การรักษาความมัน่ คงของรัฐ
ประเด็นยุทธศาสตร์ การสร้ างความร่ วมมือด้ านความมัน่ คงกับประเทศ
เพือ่ นบ้ าน และมิตรประเทศ
5. ประเด็นยุทธศาสตร์ การพัฒนาประเทศ
6. ประเด็นยุทธศาสตร์ การสนับสนุนงานอืน่ ทีส่ าคัญของชาติ
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
68
วิสัยทัศน์ การจัดการความรู้ ของ ทบ.
กองทัพบก
เป็ นองค์ กรแห่ งการเรียนรู้
ในการเตรียมกาลัง
และการใช้ กาลังทางบกในปี ๒๕๖๔
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
69
แผนงานการจัดการความรู้ ของ ทบ.
แผนงานที่ ๑ การบริหารจัดการและการสนับสนุนการเรียนรู้
แผนงานที่ ๒ การพัฒนากาลังพลให้ พร้ อมต่ อการเรียนรู้
แผนงานที่ ๓ การจัดการความรู้
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
70
แผนงานการบริหารจัดการและการสนับสนุนการเรียนรู้
กาหนดรูปแบบโครงสร้ างการบริหารจัดการองค์ความรู้ของ ทบ.
จัดตั้งเวปไซท์ ศูนย์ การเรียนรู้ ทบ.
ให้ มีคลังความรู้ของหน่ วยแยกตามประเภทองค์ ความรู้
พัฒนาระบบสารสนเทศในการจัดการความรู้
สื่ อสาร-ปชส.ความก้าวหน้ าในการดาเนินการการจัดการความรู้
เสริมสร้ างวัฒนธรรมการเรียนรู้เพือ่ พัฒนา ทบ.ให้ เป็ นองค์ กรแห่ งการเรียนรู้
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
71
แผนงานการพัฒนากาลังพลให้ พร้ อมต่ อการเรียนรู้
พัฒนากาลังพลให้ มีความรู้ความเข้ าใจและมีทศั นคติทดี่ ีต่อการ
จัดการความรู้
พัฒนาศักยภาพกาลังพลทีเ่ กีย่ วข้ องกับการจัดการความรู้ทุกระดับ
ให้ สามารถเป็ นวิทยากรต้ นแบบ
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
72
แผนงานการจัดการความรู้ ของ ทบ.
แผนการจัดการความรู้ของ ทบ.
การจัดการความรู้ให้ สอดคล้องกับแผนปฏิบัตริ าชการ ทบ.
สร้ างเครือข่ ายการปฏิบัติงานกับหน่ วยใน กห.และนอก กห.
การให้ ความรู้ผ่านสื่ อต่ างๆ
การพัฒนา/ขยายผล/ติดตามประเมินผลการจัดการความรู้
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
73
วิสัยทัศน์ กรมยุทธศึกษาทหารบก
• กรมยุทธศึกษาทหารบกมุ่งพัฒนาปรับปรุ ง
การฝึ ก ศึ ก ษา และ วิจัย พัฒนา ที่ เกี่ ยวกับ
การฝึ ก ศึ กษา เพื่ อ เตรี ยมก าลั ง ขอ ง
กองทัพบกให้ พร้ อมที่จะตอบสนองภารกิ จ
ของกองทัพบกให้ มีประสิ ทธิภาพ
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
74
ปรัชญากรมยุทธศึกษาทหารบก
• สร้ างทหารด้ วยการฝึ ก
• สร้ างขุนศึกด้ วยการศึกษา
• สร้ างผู้บังคับบัญชาด้ วยการพัฒนาคุณธรรม
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
75
คาขวัญกรมยุทธศึกษาทหารบก
• ฝึ กอย่ างที่จะรบ
• รบแล้ วต้ องชนะ
• ละลดความเสี ยหายจากผลข้ างเคียง
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
76
แบบฟอร์ม การจาแนกองค์ความรูท
้ จ
ี่ าเป็นต่อการผล ักด ันตามประเด็นยุทธศาสตร์ของสว่ นราชการ/จ ังหว ัด
ื่ สว่ นราชการ/จ ังหว ัด : …………………………………………………………………
ชอ
ประเด็น
ยุทธศาสตร์
ต ัวชวี้ ัด (KPI)
ตามคาร ับรอง
เป้าประสงค์
(Objective)
หน้าที่ : ….. / …..
เป้าหมายของ องค์ความรูท
้ จ
ี่ าเป็นต่อการปฏิบ ัติ
ราชการตามประเด็นยุทธศาสตร์
ต ัวชวี้ ัด
องค์ความรูท
้ จ
ี่ าเป็นต่อการปฏิบ ัติราชการตามประเด็นยุทธศาสตร์ทเี่ ลือกมาจ ัดทาแผนการจ ัดการความรู ้ คือ
แผนการจ ัดการ
ประเด็นยุทธศาสตร์
:
ความรูแ
้ ผนที่ 1
องค์ความรูท
้ จ
ี่ าเป็น
:
เหตุผลทีเ่ ลือกองค์ความรู ้ :
ต ัวชวี้ ัดตามคาร ับรองและเป้าหมายทีเ่ ลือกใชว้ ัดการทา KM :
แผนการจ ัดการ
ความรูแ
้ ผนที่ 2
ประเด็นยุทธศาสตร์
:
องค์ความรูท
้ จ
ี่ าเป็น
:
เหตุผลทีเ่ ลือกองค์ความรู ้ :
ต ัวชวี้ ัดตามคาร ับรองและเป้าหมายทีเ่ ลือกใชว้ ัดการทา KM :
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
77
ผูอ
้ นุม ัติ : …………………………………..………
ผูท
้ บทวน : ………………………………..………
ผูบ
้ ริหารสูงสุดด้านการจ ัดการความรู ้ (CKO)
ผูบ
้ ริหารสูงสุดของสว่ นราชการ (CEO)
ชื่อหน่ วยงาน…………………………………………………………………………………………………………..
เป้าหมาย KM (Desired State)……………………………………………………………………………………….. หน้ าที่ …./…..
หน่ วยที่วัดผลได้ เป็ นรู ปธรรม……………………………………………………………………………………………
ลา
ดับ
กิจกรรม
(KM Process)
1
การบ่ งชี้ความรู้
2
การสร้ างและแสวงหา
ความรู้
3
การจัดความรู้ให้ เป็ น
ระบบ
4
การประมวลและ
กลัน่ กรองความรู้
5
การเข้ าถึงความรู้
6
การแบ่ งปันแลกเปลีย่ น
ความรู้
7
การเรียนรู้
21 พ.ค.2556
วิธีการสู่
ความสาเร็จ
ระยะเวลา
ตัวชี้วดั
เป้ าหมาย
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
เครื่ องมือ/
อุปกรณ์
งบประมา
ณ
ผูร้ ับผิดชอ
บ
สถา
นะ
78
ผู้ทบทวน / ผู้อนุมัติ : ………………………………………… (CKO / ผู้บริหารระดับสู งสุ ด)
ต ัวอย่าง
แผนการจ ัดการความรู ้ (KM Action Plan) : กระบวนการจ ัดการความรู ้ (KM Process)
(หน้าที่ 1/…)
ื่ หน่วยงาน…………………………………………………………………………………………………………..
ชอ
เป้าหมาย KM (Desired State)………………………………………………………………………………………..
หน่วยทีว่ ัดผลได้เป็นรูปธรรม……………………………………………………………………………………………
ลา
ดั
บ
กิจกรรม
(KM
Process)
1
ี้ วามรู ้
การบ่งชค
2
การสร้างและ
แสวงหาความรู ้
3
การจ ัดความรูใ้ ห้
เป็นระบบ
4
การประมวลและ
กลน
่ ั กรองความรู ้
5
การเข้าถึงความรู ้
6
การแบ่งปัน
แลกเปลีย
่ น
ความรู ้
7
การเรียนรู ้ 21 พ.ค.2556
วิธีการสู่
ความสาเร็จ
ระยะเวลา ตัวชี้วดั เป้ าหมา เครื่องมือ/ งบประมา ผู้รับผิดช สถา
ย
อุปกรณ์
ณ
อบ
นะ
ให้ ระบุ
ให้ ระบุ ให้ ระบุค่า
ให้ ระบุ
ระยะเวลา ตัวชี้วดั เป้ าหมาย
รายละเอียด
ของการ ผลสาเร็จ ของ
กิจกรรมหรือสิ่ งที่
ดาเนิน ของแต่ ละ ผลสาเร็จ
องค์กรจะทา
กิจกรรม กิจกรรม ของแต่ ละ
เพือ่ ให้ บรรลุผลใน
ในแต่ ละ
กิจกรรม
แต่ ละขั้นตอน
ขั้นตอน
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
ให้ ระบุ
เครืองมือ/
อุปกรณ์ ที่
จาเป็ นต้ อง
ใช้ ในแต่ ละ
กิจกรรม
ให้ ระบุ
งบประมาณ
ค่าใช้ จ่าย
ของแต่ ละ
กิจกรรม
ใช้ แสดง
ความ
คืบหน้ า
ของ
ผลงาน
79
21 พ.ค.2556
กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารบก
80