แลกเปลี่ยนเรียนรู้การศูนย์ตรัง_13_-15_ก.พ.ชะอำ_Final

Download Report

Transcript แลกเปลี่ยนเรียนรู้การศูนย์ตรัง_13_-15_ก.พ.ชะอำ_Final

ตรัง:การพัฒนาและจัดตั้งศูนย์ การเรียนรู้ ด้าน
สุ ขภาพ (ด้ านสุ ขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรม
สุ ขภาพ)
ศูนย์ การเรี ยนร้ ู สุขภาพ
ความเป็ นมา
รู้จักเริ่มครัง้ แรก ปลายปี 2549 เวทีรับใบรับรองมาตรฐาน
งานสุขศึกษา โรงแรมมารวยการ์ เด็น กรุ งเทพ
อจ.ดวงมาลย์ : “การพัฒนางานด้ านเทคโนโลยีและการ
สื่อสารสุขภาพ” เป้าหมาย
1.พัฒนาความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพของตนเอง
ครอบครัว ชุมชน
2.สนับสนุนการสร้ างสังคมแห่ งการเรียนรู้
และปั จจัยสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต
3.พัฒนาและเปิ ดโอกาสให้ ประชาชนและชุมชนได้ ใช้
ประโยชน์ จากแหล่ งเรียนรู้ท่ วั ไป
ศูนย์ การเรี ยนร้ ู สุขภาพ
แผนพัฒนาสุขภาพแห่ งชาติ ฉบับที่ 11 (2555 – 2559)
- ส่ งเสริมให้ องค์ กรและสื่อทุกประเภทเป็ นแหล่ งการเรี ยนรู้
อย่ างสร้ างสรรค์
- เสริมสร้ างและพัฒนาแหล่ งเรียนรู้ทงั ้ ในระดับท้ องถิ่น
ชุมชน และประเทศ
วิสัยทัศน์
ศูนย์ การเรียนรู้สุขภาพ
มุ่งมั ่นให้เป็ นแหล่งการเรียนรูด้ า้ นสุขภาพ
ด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสม
และเป็ นแกนนาเครือข่าย
การเรียนรูร้ ว่ มกันในพื้นที่
เพื่อการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ของประชาชน
พันธกิจ
ส่ งเสริมและพัฒนาหน่ วยงาน/ชุมชนให้ เป็ นแหล่ ง
การเรี ยนรู้ ด้านสุขภาพ
พัฒนาระบบการจัดการและบริการความรู้ โดยใช้
เทคโนโลยีท่ เี หมาะสม
สร้ างระบบบริหารจัดการการเรี ยนรู้ โดยใช้ การ
บริหารแบบมีส่วนร่ วม และการเรี ยนรู้ ร่วมกัน
จังหวัด เริ่มต้ นอย่ างไร
บันทึกสรุ ปรายงานการเข้ าประชุมและเสนอ
แนวทางต่ อยอดการพัฒนางานจากสิ่งใหม่ ท่ ไี ด้ ร้ ู
สร้ างการยอมรั บจากนพ.สสจเชิงนโยบายขับเคลื่อน
ส่ งเสริมและพัฒนาหน่ วยงาน/ชุมชนให้ เป็ นแหล่ ง
การเรี ยนรู้ ด้านสุขภาพ
วางแผนระบบการจัดการ 4 Mและตัง้ เป้าหมาย :
ตัวเอง....ทบทวนเอกสาร/หาพืน้ ที่/ประสานอจ.
ความสัมพันธ์ศูนย์การเรียนรู ้ กับ การจัดการความรู ้
ห้องสมุด/มุมความรู ้
Explicit Knowledge
สื่อต่าง ๆ
ฐานข้อมูลสารสนเทศ
ศูนย์ประสาน
แกนนาสุขภาพ
ศูนย์
การเรียนรู ้
การจัดการความรู ้
1. การบ่งชี้ความรู ้
2. การสร้างและ
แสวงหาความรู ้
3. การจัดการความรู ้
ให้เป็ นระบบ
4. การประมวลและ
กลั ่นกรองความรู ้
จัดกิจกรรมการเรียนรู ้
5. การเข้าถึงความรู ้
จัดกิจกรรม
แลกเปลี่ยนเรียนรู ้
6. การแบ่งปั น
แลกเปลี่ยนความรู ้
7. การเรียนรู ้
(ประชาชนกลุม่ เป้าหมาย)
เศรษฐกิจพอเพียง
Tacit Knowledge
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 11
ศูนย์ การเรียนรู้สุขภาพกับมาตรฐานงาน
ศูนย์ การเรี ยนรู้ สุขภาพ
HLC
ทาอะไร
HA HPH
HEdA HCA
ทาอย่ างไร
ผลผลิต
HA HPH
HEdA HCA
การขับเคลือ่ นความคิดสู่ การปฏิบัติ ระดับจังววัด








ปี 2550 : โครงการพัฒนาและจัดตั้งศูนย์การเรี ยนรู ้ดา้ นสุ ขศึกษาและ
พัฒนาพฤติกรรมสุ ขภาพจังหวัดตรัง...
งบนอกแผนยุทธศาตร์ .......89,000 บาท
เป้ าหมาย ต่อยอด...สถานบริ การที่ผา่ นการรับรองมาตรฐานงาน
สุ ขศึกษา 2549 ครอบคลุมทั้ง 3 ระดับ จานวน 3 แห่ง
(รพศตรัง/รพชสิ เกา/PCU กะลาเส)
ทาอะไร ตามแผนระบบการจัดการ:เติมความรู ้..ลงช่วยเหลือ..
ประเมิน...รายงานผลประชาชนได้อะไรแบบบูรณาการ
การขับเคลือ่ นระดับจังววัด







ปี 2550 - 2553 :โชคดีสุดๆๆ(โครต..โชคดีอย่างไม่คิดไม่ฝัน)
: 2 เด้ง
จากกองสุ ขศึกษา โดยอจ.ดวงมาลย์.....“เด้งแห่งความภูมิใจ”
1.ปี 2550 – 2551 สร้างต้นแบบศูนย์ภาคละ 1 จังหวัด
“ตรัง” ระดับจังหวัด“รพศ.ตรัง”
2.ปี 2551 – 2553 ขยายการสร้างต้นแบบระดับอาเภอ/
พื้นที่ “ CUP อาเภอรัษฎา 7 แห่ง
จากจังววัด สู่ พนื้ ที่
เด้งที่ 2 “ ดีใจ ”
ปี 2552 – 2555 เป็ นที่ยอมรับ และประกาศ เป็ นนโยบาย
และยุทธศาสตร์จงั หวัด
ประเด็นตัวชี้วดั
“การบริ หารจัดการพัฒนาคุณภาพบริ การ”
งบประมาณ
750,000/89,000 /200,000/
102,480 บาท/ปี 50-55....ตามลาดับ
ปี 2556
อยูร่ ะหว่างรับจัดสรรงบ
พัฒนาการกลไกการขับเคลือ่ นจากจังววัด สู่ พนื้ ที่
ปี 2550 – ปัจจุบัน
ปี 2550 “โครงการพัฒนาและจัดตั้งศูนย์การเรี ยนรู ้
ด้านสุ ขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุ ขภาพ”
ปี 2551 “โครงการยกระดับการพัฒนาศูนย์ฯ”
ปี 2552 “โครงการบูรณาการส่ งเสริ มพัฒนาคุณภาพ
บริ การตามมาตรฐานงานสุ ขศึกษา”
ปี 2553 - 54“โครงการขยายผลความครอบคลุมพื้นที่
พัฒนาและจัดตั้งศูนย์ฯ สู่ชุมชน”
ปี 2554 – 55 โดรงการประเมินประสิ ทธิภาพการฯ
สถานบริการเป้ าวมาย ทาอย่ างไร
“ 7 ขั้นพัฒนา 8 ระบบศูนย์ ฯ ”
@ ประกาศนโยบาย และสร้างทีมงาน :แต่งตั้งคะทางาน/กรรมการ
เป็ นทีมแบบสหวิชาชีพ
@ ดาเนินการตามระบบ ตั้งแต่ ระบบที่ 1 – 8 ในปัจจุบนั ปี 2555
(จากเดิม ต้นแบบเริ่ มต้น 6 ระบบ) ดังนี้
ระบบศูนย์ การเรียนรู้ สุขภาพในโรงพยาบาลชุมชน
โรงพยาบาลส่ งเสริมสุ ขภาพตาบล ศูนย์ สุขภาพชุมชน
1.ระบบการจัดตัง้ และพัฒนาศูนย์ การเรียนรู้ฯ
ระบบ
ศูนย์ การ
เรียนรู้
สุ ขภาพ
ใน รพช.
PCU
และสอ.
2.ระบบการวางแผนงานศูนย์ การเรียนรู้ ฯ
3.ระบบการพัฒนามุมความรู้ สุขภาพ
4.ระบบการจัดหาและผลิตสื่อสุขภาพ
5.ระบบการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้สุขภาพ
6.ระบบการพัฒนาฐานข้ อมูลความรู้สุขภาพ
7.ระบบการพัฒนาฐานข้ อมูลสารสนเทศ
เพื่อการจัดการสุขภาพ
8.ระบบการประเมินผลศูนย์ การเรียนรู้ฯ
ข้ อมูล
ข่ าวสาร
ความรู้
ที่จาเป็ น
ต่ อ
การพัฒนา
พฤติกรรม
สุขภาพ
ของ
ประชาชน
เป้าหมาย
ปชช.เกิดการ
เรียนรู้
ปชช.มี
พฤติกรรม
สุขภาพที่
ถูกต้ อง
ผลผลิต ระบบการพัฒนามุมความรู้ สุขภาพ
ระบบการพัฒนามุมความรู้ สุขภาพ
สอบ.คลองมวน จ.ตรั ง
ระบบการพัฒนามุมความรู้ สุขภาพ
สอต.เขาไพร ตรั ง
ระบบการพัฒนามุมความรู้ สุขภาพ
สอ.หนองบัว ตรั ง
ระบบการพัฒนามุมความรู้ สุขภาพ
ระบบการพัฒนาฐานข้ อมูลความรู้ สุขภาพ
ระบบการพัฒนาฐานข้ อมูลความรู้ สุขภาพ
ปัจจัยความสาเร็จ
ผู้บริหารให้ ความสาคัญมีนโยบายแผนยุทธศาสตร์ ชัดเจนสู่พนื ้ ที่
กระบวนการจัดการเรียนรู้ – ศึกษาดูงานหน่ วยบริการ
สาธารณสุขที่ประสบผลสาเร็จในและต่ างจังหวัด
- ใช้ งบจังหวัดนาไปเข้ าร่ วมประชุม/อบรมตามวาระ
ของกองสุขศึกษา,เวทีวชิ าการสุขศึกษาชาติสนับสนุนต่ อเนื่อง
- เกาะติดเครื อข่ ายทุกระดับ
ทุกช่ องทางการสื่อสาร
ปัจจัยความสาเร็จ
ระบบการติดตาม ควบกุมกากับ ประเมินอย่ างเป็ นระบบและต่ อเนื่อง
ที่สาคัญ “วลังความสาเร็จ” ทาอย่ างไร...ใว้ โตขึน้ และยัง่ ยืน
ยกระดับวิทยะฐานะเป็ นวิทยากรกระบวนการ 4 ผลผลิต
1. วิทยากรพัฒนาหมู่บ้านปรั บเปลี่ยนพฤติกรรมฯ
2. วิทยากรพัฒนาศูนย์ การเรี ยนรู้ ด้านสุขภาพ
3. วิทยากรพัฒนาคุณภาพมาตรฐานงานสุขศึกษา
4. วิทยากรส่ งเสริมโรงเรี ยนสุขภาพตามแนวทาง
สุขบัญญัตแิ ห่ งชาติ
- ใช้ กลยุทธการประชาสัมพันธ์
เพิ่มจุดขายขยายเครื อข่ าย
ผลงานความภาคภูมใิ จ
3.เกิดศูนย์ การเรี ยนรู้ ด้านสุขภาพต้ นแบบระดับจังหวัดและต้ นแบบ
ภาคใต้ ปี 2550-2553 จานวน 8 แห่ ง
4. ปี 2555 ขยายการพัฒนาและจัดตัง้ ศูนย์ เรี ยนรู้ ฯสู่พนื ้ ที่
หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 146 แห่ ง โรงเรียนสุขบัญญัตติ ันแบบ 2
แห่ ง
5. ปี 2556 เป้าหมายขยายพืน้ ที่ครอบคลุม สถานบริการ 134 แห่ ง
ต้ นแบบ 1 แห่ ง (รพช.กันตัง)
ประโยชน์ ทไี่ ด้ รับจากการพัฒนาศูนย์
1.โดยตรงต่อประชาชนและชุมชน สอดคล้อง
นโยบายรัฐ ปี 56 การสร้าง “ความฉลาด
รอบรู้ดา้ นสุ ขภาพ” มุ่งเป้ าหมายปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมสุ ขภาพทั้งระดับบุคคล
ครอบครัว ชุมชน
ประโยชน์ ทไี่ ด้ รับจากการพัฒนาศูนย์
2.โดยตรงต่อสถานบริ การ สอดคล้อง
เชื่อมโยงกับ นโยบาย พัฒนาคุณภาพบริ การ
ตามมาตรฐานงานสาธารณสุ ขทุกระดับ
:HA/PCA/Hed(สุ ขศึกษา...เต็มๆๆๆ)
ความเชื่อมโยงการดาเนินงานสุ ขศึกษากับมาตรฐานงานสุ ขศึกษา
1.
นโยบาย
2.
ทรัพยากร
3.ฐาน
ข้ อมูล
5.จัด
กิจกรรม
4.
แผนงาน
6.ติดตาม
สนับสนุน
31
8.เฝ้ าระวัง
พฤติกรรม
สุ ขภาพ
KPI
ดาเนินการ
10.
ผลลัพธ์
7.ประเมินผล
9.งาน
วิจยั