PowerPoint Template - E-Learning ในโครงการชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self

Download Report

Transcript PowerPoint Template - E-Learning ในโครงการชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self

รองศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุ ข
[email protected]
http://www.prachyanun.com
[email protected]
LOGO
http://www.prachyanun.com
Contents
[email protected]
1
วิธีการประเมินสื่ ออิเล็กทรอนิกส์
2
สื่ ออิเล็กทรอนิกส์แบบเว็บไซต์
3
สื่ ออิเล็กทรอนิกส์แบบออฟไลน์
4
สื่ ออิเล็กทรอนิกส์แบบออนไลน์
LOGO
www.themegallery.com
http://www.prachyanun.com
สื่ ออิเล็กทรอนิกส์
สื่ อแบบเว็บไซต์
สื่ อแบบออฟไลน์
สื่ อแบบออนไลน์
[email protected]
LOGO
www.themegallery.com
http://www.prachyanun.com
วิธีการประเมินสื่ อ
การประเมินสื่อโดยผู้เชี่ยวชาญ
การประเมินสื่อโดยผู้ใช้ งาน
การประเมินสื่อด้วยตนเอง
การหาประสิทธิภาพสื่อ
[email protected]
LOGO
www.themegallery.com
http://www.prachyanun.com
ประเภทการประเมิน
 การประเมินระหว่างเรี ยน ( Formative Evaluation)
แบบฝึ กหัดระหว่างเรี ยน
การสังเกตุ การสัมภาษณ์
 การประเมินสรุ ป (Summative Evaluation)
แบบทดสอบท้ายบทเรี ยน
แบบวัดความพึงพอใจ
[email protected]
LOGO
www.themegallery.com
http://www.prachyanun.com
วิธีการประเมินสื่ ออิเล็กทรอนิกส์
 การประเมินด้วยข้อสอบ (Multiple choice) เป็ น
การทาข้อสอบแบบเลือกตอบ
 การอภิปรายออนไลน์ (Online Discussion) เป็ น
การสังเกต และสัมภาษณ์
 การบันทึกผลการปฏิบตั ิงาน (E-portfolio) เป็ นการ
จับเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ผล
 การประเมินด้วยแบบสอบถาม (Questionnaire) เป็ น
การตอบคาถามแล้วมาประเมิน
[email protected]
LOGO
http://www.prachyanun.com
การประเมินสื่ อโดยผู้เชี่ยวชาญ
 IOC : Index of Item Objective Congruence
 การประเมินความเหมาะสมมีเกณฑ์ในการพิจารณาดังนี้
+1
หมายถึง สื่ อมีความเหมาะสมกับจุดประสงค์การจัดทา
 0 หมายถึง ไม่แน่ใจว่าสื่ อมีความเหมาะสมกับจุดประสงค์การ
จัดทา
 -1 หมายถึง สื่ อไม่มีความเหมาะสมกับจุดประสงค์การจัดทา
 หากข้อใดถามในข้อใดที่ท่านพิจารณาแล้วเห็นว่าไม่มีความเหมาะสม
หรื อสมควรปรับปรุ งแก้ไขขอความกรุ ณาเสนอแนะไว้ขา้ งท้าย เพื่อเป็ น
แนวทางในการพัฒนาเครื่ องมือให้มีประสิ ทธิภาพต่อไป
[email protected]
LOGO
www.themegallery.com
http://www.prachyanun.com
การประเมินสื่ อโดยผ้ ูใช้ งาน
 การประเมินความพึงพอใจ
ระดับความคิดเห็น
ข้ อที่
รายการประเมิน
5
4
3
2
1
1. ด้ านตัวอักษร
1.1
ขนาดตัวอักษรขัดเจน อ่านง่าย
1.2
ชนิดของตัวอักษรมีความเหมาะสมกับเนื้อหา
1.3
สี ของตัวอักษรมีความเหมาะสมกับสี พ้นื หลัง
[email protected]
LOGO
www.themegallery.com
http://www.prachyanun.com
แบบประเมินสื่ อเว็บไซต์ (Everheart, 1996)
 1.
 2.
 3.
 4.
 5.
 6.
 7.
 8.
 9.
ความทันสมัย (Currency)
เนื้อหาและข้อมูล (Content and Information)
ความน่าเชื่อถือ (Authority)
การเชื่อมโยงข้อมูล (Navigation)
การปฏิบตั ิจริ ง (Experience)
ความเป็ นมัลติมีเดีย (Multimedia)
การให้ขอ้ มูล (treatment)
การเข้าถึงข้อมูล (Access)
ความหลากหลายของข้อมูล (Miscellaneous)
[email protected]
LOGO
www.themegallery.com
http://www.prachyanun.com
แบบประเมินคุณภาพโปรแกรมสาหรับผู้เชี่ยวชาญ
 การประเมินระบบด้าน
Function Requirement Test
 การประเมินระบบด้าน Function Test
 การประเมินระบบด้าน Usability Test
 การประเมินระบบด้าน Security Test
[email protected]
LOGO
www.themegallery.com
http://www.prachyanun.com
แบบประเมินสื่ ออิเล็กทรอนิกส์
 1. เนื้อหา (Content)
 2. การออกแบบระบบการเรี ยนการสอน
(Instructional Design)
 3. การออกแบบหน้าจอ
(Screen Design)
 4. เทคนิค (Technique)
[email protected]
LOGO
www.themegallery.com
http://www.prachyanun.com
ด้ านเนือ้ หา
 1.1
โครงสร้างเนื้อหาชัดเจนมีความสัมพันธ์
ต่อเนื่อง
 1.2 เนื้อหาที่นาเสนอตรงและครอบคลุมตาม
จุดประสงค์ (Objective)
 1.3 ใช้ภาษาถูกต้องเหมาะสม (รวมข้อความ
และเสี ยงบรรยาย)
 1.4 เนื้อหามีความเหมาะสมกับระดับผูเ้ รี ยน
[email protected]
LOGO
www.themegallery.com
http://www.prachyanun.com
การออกแบบระบบการเรียนการสอน (Instructional Design)
 2.1 กาหนดจุดประสงค์ (Objective) และระดับผูเ้ รี ยนชัดเจน
 2.2 การออกแบบเป็ นระบบนาเสนอถูกต้องตามลาดับขั้นของ
ประเภท
 สื่ อนั้นๆ
 2.3 กลยุทธการนาเสนอดึงดูดความสนใจ
 2.4 มีความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบโปรแกรม
 2.5 มีปฏิสมั พันธ์กบั ผูเ้ รี ยนอย่างเหมาะสม
 2.6 การออกแบบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล
[email protected]
http://www.prachyanun.com
www.themegallery.com
LOGO
การออกแบบการเรียนการสอน (ต่ อ)
 2.7
ให้โอกาสผูเ้ รี ยนควบคุมลาดับการเรี ยนรู้อย่าง
เหมาะสม
 2.8
มีแบบฝึ กปฏิบตั ิหรื อแบบฝึ กหัดและการ
ประเมินผลที่ครอบคลุม จุดประสงค์
 2.9
มีการป้ อนกลับ (feedback) เพื่อเสริ มแรง
อย่างเหมาะสม
 2.10
ส่ งเสริ มให้ผเู้ รี ยนรู้จกั คิด วิเคราะห์
 2.11
เอกสารคู่มือการใช้โปรแกรมเหมาะสม
ชัดเจน
LOGO
[email protected]
www.themegallery.com
http://www.prachyanun.com
การออกแบบหน้ าจอ (Screen Design)
 3.1 การจัดวางองค์ประกอบได้สัดส่ วน สวยงาม ง่ ายต่ อการใช้
 3.2 รูปแบบตัวอักษรมีขนาด สี ชัดเจน อ่านง่ าย และเหมาะสมกับ
ผู้เรียน
 3.3 การเลือกใช้ สีมีความเหมาะสมและกลมกลืน
 3.4 การสื่อความหมายสอดคล้องกับแนวของเนือ้ หา (Theme)
 3.5 ปุ่ ม (Button) สัญรูป (Icon) ข้ อความหรือแถบ
ข้ อความหรือรู ปภาพชัดเจน เหมาะสมและถูกต้ อง สื่ อสารกับผู้ใช้ ได้
อย่ างเหมาะสม
[email protected]
LOGO
www.themegallery.com
http://www.prachyanun.com
เทคนิค
 4.1
สามารถใช้ กบั เครื่องคอมพิวเตอร์ ใดๆ ทีม่ ีคุณสมบัติ
ขั้นตา่ ตามที่ ผู้พฒ
ั นากาหนด โดยไม่ มีปัญหา
 4.2มีระบบการเข้ าสู่ โปรแกรมโดยอัตโนมัติ (Autorun)
หรือมีระบบ การติดตั้งโปรแกรม (Installation)
 4.3 การแสดงผลภาษาไทยถูกต้ อง
 4.4 การเชื่อมโยง (link) ไปยังจุดต่ างๆ และไฟล์ต่างๆ
ถูกต้ อง
 4.5 ภาพและเสียงทีใ่ ช้ ประกอบแสดงผลได้ถูกต้ อง รวดเร็ว
[email protected]
LOGO
www.themegallery.com
http://www.prachyanun.com
การสร้ างแบบทดสอบ
 แบบทดสอบก่อนเรียน
 แบบทดสอบระหว่างเรียน (แบบฝึ กหัด)
 แบบทดสอบหลังเรียน
 แบบทดสอบครบทุกบท/ ครอบคลุมวัตถุประสงค์
[email protected]
LOGO
http://www.prachyanun.com
การวิเคราะห์ ข้อสอบปรนัย
 เทคนิค 25 %
 กลุ่มคะแนนสู ง 25 %
 กลุ่มคะแนนตา่ 25 %
 คะแนนกลาง ๆ ตัดทิง้ ทั้งหมด
 ค่าความยากง่าย (P) อยู่ระหว่าง 0.2- 0.8
 ค่าอานาจจาแนก (D) ตั้งแต่ 0.25 ขึน้ ไป
 ค่าความเชื่อมั่น 0.8 ขึน้ ไป
[email protected]
LOGO
http://www.prachyanun.com
การพัฒนาสื่ ออิเล็กทรอนิกส์
 Tryout แบบทดสอบ
 One to One
 Small Group
 Large Group / Filed Study
 การหาประสิทธิภาพ 80/80
[email protected]
LOGO
http://www.prachyanun.com
One to one
 การทดลองแบบหนึ่งต่อหนึ่ง
 ทดลองให้ นักเรียนหนึ่งคนเข้าเรียนรายวิชาใน eLearning
 สังเกตปัญหาในการเรียน
 สัมภาษณ์การเข้าใช้ ระบบ e-Learning
 หาข้อขัดข้องทาการแก้ไข
[email protected]
LOGO
http://www.prachyanun.com
Small Group
 การทดลองกลุ่มเล็ก 3 คน
 ทดลองให้ นักเรียนสามคนเข้ าเรียนในรายวิชา eLearning
 สังเกตพฤติกรรมและปัญหาในการเข้ าเรียน
 สัมภาษณ์ ปัญหาในการเข้ าเรียนทั้งสามคน นามาวิเคราะห์
ปัญหา
 ปรับแก้ไขข้ อบกพร่ องที่เกิดขึน้
[email protected]
LOGO
http://www.prachyanun.com
Large Group
 การทดลองกลุ่มใหญ่ 30 คน
 ทดลองให้ นักเรียน 9-30 คนเข้ าเรียนในรายวิชา eLearning
 สั งเกตพฤติกรรมและปัญหาในการเข้ าเรียน
 สั มภาษณ์ ปัญหาในการเข้ าเรียนทั้งสามคน นามาวิเคราะห์
ปัญหา
 ปรับแก้ไขข้ อบกพร่ องทีเ่ กิดขึน้
[email protected]
LOGO
http://www.prachyanun.com
ตัวอย่ างแบบประเมิน
ระดับความคิดเห็น
ด้ านการประเมิน
ดีมาก
ดี
5
4
ปาน
กลาง
3
พอใช้
2
ควร
ปรับปรุง
1
ข้ อเสนอแนะ
ในการปรับปรุ ง
1. ด้ านตัวอักษร (Text)
2. ด้ านภาพนิ่ง (Image)
3. ด้ านภาพเคลือ่ นไหว (Animation)
4. ด้ านเสี ยง (Audio)
5. ด้ านปฏิสัมพันธ์ (Interactive)
[email protected]
LOGO
http://www.prachyanun.com
การหาประสิ ทธิภาพสื่ ออิเล็กทรอนิกส์
E1/E2 : 80/80
E1 หมายถึง ค่ าร้ อยละของคะแนนเฉลีย่ ของนักศึกษาทีท่ า
แบบทดสอบระหว่ างเรียนแต่ ละหน่ วย
E2 หมายถึง ค่ าร้ อยละของคะแนนเฉลีย่ ของนักศึกษาที่ทา
แบบทดสอบหลังการเรียนเมื่อเรียนครบทุกหน่ วย
[email protected]
LOGO
http://www.prachyanun.com
การวิเคราะห์ หาประสิทธิผล
E post – Epre > 60
E post = ร้ อยละของคะแนนทีไ่ ด้ จากการทาแบบทดสอบหลังเรียนทั้งวิชา
E pre = ร้ อยละของคะแนนทีไ่ ด้ จากการทาแบบทดสอบก่อนเรียนทั้งวิชา
[email protected]
LOGO
http://www.prachyanun.com
คาถาม ???
[email protected]
LOGO
www.themegallery.com
http://www.prachyanun.com
รองศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุ ข
ภาควิชาครุศาสตร์ เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์ อุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
081-7037515
[email protected]
http://www.prachyanun.com
LOGO