วัยรุ่น 82_192_5 - ศูนย์สุขภาพจิตที่ 10

Download Report

Transcript วัยรุ่น 82_192_5 - ศูนย์สุขภาพจิตที่ 10

โครงการบูรณาการระบบสุขภาพใจเพื่อเด็กไทยวัยรุ่นปี ที่ 2 และตัวชี้วดั
“กลุ่มวัยรุ่น”
ในฐานะกรมเจ้าภาพ
สถานการณ์และสภาพปัญหา
• อัตราการคลอดในหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิงอายุ 15- 19 ปี พันคน
ภาพรวมของประเทศ ปี 2555 = 53.80 ปี 2556 ลดลง = 51.2
• การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในวัยรุ่น 15 - 24 ปี เพิ่มขึน้ จากร้อยละ 21.6
เป็ นร้อยละ 23.7 ในพ.ศ. 2554 หรือเพิ่มขึน้ ร้อยละ 9.5 อายุเฉลี่ยที่ดื่มสุรา
= 20.3 ปี และมีสดั ส่วนการดื่มหนักมากกว่ากลุ่มอายุอื่นๆ
• ความชุกของการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นเป็ นร้อยละ 22.4 โดยวัยรุ่นชายสูบบุหรี่
สูงกว่าเพศหญิง 17.2 เท่า (ร้อยละ 39.5 และ 2.3 ตามลาดับ) อายุเฉลี่ยที่เริ่ม
สูบบุหรี่เท่ากับ 15.3 ปี และเกือบครึ่งหนึ่ ง สูบบุหรี่ทกุ วันหรือเกือบทุกวัน
บูรณาการงบประมาณขาลงปี 58 สตรีและเด็ก
มาตรการ
เป้ าหมาย
1.กฎหมาย:
บุหรี่ แอลกอฮอล์
2.โรงเรียน :
ทักษะชีวิต – เพศศึกษา
คัดกรองช่วยเหลือกลุ่มเสี่ยง
3.โรงพยาบาล:
บริ การเป็ นมิ ตร
การคุมกาเนิ ดในแม่วยั รุ่น
4.ชุมชน:
พืน้ ที่เยาวชน
บริ การเชิ งรุก
โรงเรียนพ่อแม่
5.บูรณาการ: DHS
• ลดการดื่มสุรา และ
การใช้สารเสพติด
• ลดการตัง้ ครรภ์ซา้
ในวัยรุ่น
วิธีการวัด
งบประมาณ
• สารวจพฤติกรรม
เสี่ยงในกลุ่มวัยรุ่น
(BSS) ปี ละ 1 ครัง้
• กฎหมาย 8.57 ลบ.
• รายงานทะเบียน
ราษฎร์ (การเกิด)
ปี ละ 1 ครัง้
• โรงพยาบาล 7.77 ลบ.
• โรงเรียน 14.07 ลบ.
• ชุมชน 3.40 ลบ.
• DHS 22.33 ลบ.
รวม 56.14 ลบ.
เครือ่ งมือ คู่มือ แนวทาง คาแนะนา
เครื่องมือของกรม / หน่ วยงานกลาง
1. คู่มือ / แนวทางการดาเนินงาน
ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
2. มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
3. มาตรฐานคลินิกวัยรุ่น
(ฉบับปรับปรุง)
4. คู่มือการดาเนินงานสุขภาพวัยรุ่น
แบบบูรณาการ
5. คู่มือแนวปฏิบตั ิ การดูแลแม่วยั รุ่น
6. คู่มือส่งเสริมสุขภาพเยาวชนใน
ชุมชน
แหล่งสืบค้น
1. สานักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่ม
แอลกอฮอล์
กรมควบคุมโรค
(www.thaiantialcohol.com)
2. สานักอนามัยการเจริญพันธุ์
กรมอนามัย
(http://rh.anamai.moph.go.th )
3. สานักส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิต
กรมสุขภาพจิต
(www.sorporsor.com)
โครงการบูรณาการระบบสุขภาพใจเพื่อเด็กไทยวัยรุ่น ปี ที่ 2
วัตถุประสงค์
4.1
4.2
4.3
4.4
4.5
เพือ่ พัฒนาองค์ความรู้ / นวัตกรรมทีเ่ หมาะสมกับกลุ่มวัยรุ่น สาหรับสนับสนุ นการดาเนินงานในพื้นที่
เพือ่ พัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุข บุคลากรทางการศึกษาทีป่ ฏิบตั งิ านกับวัยรุ่น และพ่อแม่ผู้ปกครอง
เพือ่ สนับสนุ นการพัฒนาระบบบริการสุขภาพทัง้ เชิงรับและเชิงรุกทีม่ คี ณ
ุ ภาพตามมาตรฐาน เหมาะสมกับวัยรุ่นทุกกลุ่ม
เพือ่ สร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายวัยรุ่นสุขภาพดีในระดับอาเภอ
เพือ่ ปรับปรุงฐานข้อมูลสุขภาพจิตวัยรุ่น
ตัวชี้วดั ความสาเร็จของโครงการ ใน 1 ปี
ตัวชี้วดั ระดับ Output
1. ระดับความสาเร็จในการพัฒนา รพช. ให้มบี ริการดูแลด้านสังคมจิตใจทีม่ คี ุณภาพและเชือ่ มโยงกับระบบบริการตามวัย
2. ระดับความสาเร็จของการผลักดันให้โรงเรียนมีการสอนเรือ่ งเพศศึกษา / พฤติกรรมเสีย่ งในโรงเรียนตามเกณฑ์
ตัวชี้วดั ระดับ Outcome
1.ร้อยละ 80 ของบุคลากรเครือข่ายมีความรูแ้ ละทักษะในการดูแล ป้องกันแก้ไขพฤติกรรมเสีย่ งกลุม่ วัยรุน่
ทีไ่ ด้รบั จากการถ่ายทอด
ตัวชี้วดั
KPI กระทรวง
1. อัตราการคลอดมีชพี ในหญิงอายุ15-19 ปี (ไม่เกิน50ต่อประชากรหญิงอายุ15-19พันคน)
2. ความชุกของผูบ้ ริโภคเครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์ในประชากรอายุ 15-19 ปี (ไม่เกินร้อยละ13)
- ฐานข้อมูลการ
เกิ ดมีชีพ
BSS
KPI ระดับเขตสุขภาพ
1. ร้อยละของการตัง้ ครรภ์ซ้าในวัยรุน่ อายุ15-19ปี (ไม่เกินร้อยละ10)
2. ร้อยละของเด็กและเยาวชนอายุ 15-24ปี ทีม่ กี ารป้องกันตนเอง โดยใช้ถุงยางอนามัยเมือ่ มีเพศสัมพันธ์ครัง้ ล่าสุด (ร้อยละ 67)
3. ร้อยละของผูส้ บู บุหรีใ่ นวัยรุน่ อายุ 15-18ปี ไม่เกินร้อยละ10
KPIระดับจังหวัด
- สารวจ
- สารวจ
1. สัดส่วนของสถานศึกษาทีไ่ ม่มกี ารกระทาผิดกฎหมายควบคุมเครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์ทงั ้ ในและรอบสถานศึกษา (ในสถานศึกษาร้อยละ 90
นอกสถานศึกษาร้อยละ 50)
2. ร้อยละของโรงเรียนทีม่ กี ารสอนเรือ่ งเพศศึกษา / พฤติกรรมเสีย่ งในโรงเรียนตามเกณฑ์ (ปี 2558 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
ปี 2559ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50)
KPI ระดับกรมสุขภาพจิ ต
1. ระดับความสาเร็จในการพัฒนา รพช. ให้มบี ริการดูแลด้านสังคมจิตใจทีม่ คี ุณภาพและเชื่อมโยงกับระบบบริการตามวัย
2. ระดับความสาเร็จของการผลักดันให้โรงเรียนมีการสอนเรื่องเพศศึกษา / พฤติกรรมเสีย่ งในโรงเรียนตามเกณฑ์
(ปี 2558 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ปี 2559 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50)
3.ร้อยละ 80 ของบุคลากรเครือข่ายมีความรูแ้ ละทักษะในการดูแล ป้องกันแก้ไขพฤติกรรมเสีย่ งกลุ่มวัยรุน่ ทีไ่ ด้รบั จากการถ่ายทอด
- สารวจ
การขับเคลื่อนนโยบายการดาเนินงานสุขภาพจิต ประจาปี 2558
โครงการบูรณาการระบบสุขภาพใจเพื่อเด็กไทยวัยรุ่น ปี ที่ 2
มาตรการหลัก
กิจกรรมหลัก
1.จัดบริการทีเ่ ป็ นมิตร
สอดคล้องกับความ
ต้องการและบริบท
ของวัยรุน่
องค์ความรูเ้ พือ่ สนับสนุ นการดาเนินงานในพืน้ ที่
1.1. ผลิตคูม่ อื การดาเนินงานสุขภาพวัยรุน่ แบบ
บูรณาการ (ฉบับเดิม)
1.2 พัฒนาหลักสูตร Teen Manager
1.3 ทดลองใช้และผลิตหลักสูตร Teen Manager
1.4 พัฒนาชุดสื่อหลักสูตรการอบรมเรียนรูด้ ว้ ย
ตนเองสาหรับบุคลากร สธ ทีป่ ฏิบตั งิ านเกี่ยวกับ
วัยรุน่ (Training Online)
1.5 พัฒนาศักยภาพบุคลากรทีป่ ฏิบตั งิ านการ
ส่งเสริมและดูแลสุขภาพวัยรุน่
1.6 จัดอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการทา
จิตบาบัดวัยรุน่ แบบปรับพฤติกรรมและความคิด
(CBT)
เป้ าหมาย
1. ระดับความสาเร็จในการพัฒนา รพช.
ให้มบี ริการดูแลด้านสังคมจิตใจทีม่ ี
คุณภาพและเชื่อมโยงกับระบบบริการ
ตามวัย
2. ร้อยละ 80 ของบุคลากรเครือข่ายมี
ความรูแ้ ละทักษะในการดูแล ป้องกัน
แก้ไขพฤติกรรมเสีย่ งกลุม่ วัยรุ่นที่
ได้รบั จากการถ่ายทอด
การขับเคลื่อนนโยบายการดาเนินงานสุขภาพจิต ประจาปี 2558
โครงการบูรณาการระบบสุขภาพใจเพื่อเด็กไทยวัยรุ่น ปี ที่ 2
มาตรการหลัก
2.จัดบริการเชิงรุก
สูช่ ุมชน
3.จัดบริการเชิงรุก
สูส่ ถานศึกษาใน
ระดับมัธยมศึกษา
อาชีวศึกษา
อุดมศึกษา
กิจกรรมหลัก
เป้ าหมาย
พืน้ ทีส่ ร้างสรรค์สาหรับเยาวชน และพืน้ ทีอ่ อนไลน์
2.1 ประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารเพือ่ ผลิตคูม่ อื ส่งเสริม
สุขภาพเยาวชนในชุมชน (กลุม่ วัยรุน่ )
2.2 ผลิตคูม่ อื ส่งเสริมสุขภาพเยาวชนในชุมชน
2.3 พัฒนาชุดสื่อ New Media
- ทักษะชีวติ วัยรุน่
- Parent Education สาหรับประชาชน
เพศศึกษารอบด้าน
3.1 สนับสนุ นให้ รพช. ดาเนินงานร่วมกับ
โรงเรียนให้มกี ารสอนเรื่องเพศศึกษา /
พฤติกรรมเสีย่ งในโรงเรียน
3.2 พัฒนาคูม่ อื พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์
ในวัยรุน่
1. ระดับความสาเร็จของการผลักดันให้
โรงเรียนมีการสอนเรื่องเพศศึกษา /
พฤติกรรมเสีย่ งในโรงเรียนตามเกณฑ์
2. ร้อยละ 80 ของบุคลากรเครือข่ายมี
ความรูแ้ ละทักษะในการดูแล ป้องกันแก้ไข
พฤติกรรมเสีย่ งกลุม่ วัยรุน่ ทีไ่ ด้รบั จากการ
ถ่ายทอด
การขับเคลื่อนนโยบายการดาเนินงานสุขภาพจิต ประจาปี 2558
โครงการบูรณาการระบบสุขภาพใจเพื่อเด็กไทยวัยรุ่น ปี ที่ 2
มาตรการหลัก
4. การพัฒนาระบบ
การบริหารจัดการ
เพือ่ สนับสนุนการ
ดาเนินงานส่งเสริม
สุขภาพและป้องกัน
โรคในกลุ่มวัยรุน่
กิจกรรมหลัก
4.1 ชีแ้ จงแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายการ
ดาเนินงานสุขภาพจิตในกลุม่ วัยรุน่
(บูรณาการกับทุกโครงการทีช่ แ้ี จงโดยส่วนกลาง)
4.2 การประชุมเพือ่ สรุปผลการดาเนินงานและการ
ถอดบทเรียนในกลุม่ วัยรุน่
4.3 การปรับปรุงฐานข้อมูลสุขภาพจิตวัยรุน่
4.4 การนิเทศติดตามผลการดาเนินงานวัยรุน่
ในเขตสุขภาพทีร่ บั ผิดชอบ
4.5 การนิเทศงานเชิงวิชาการในกลุม่ วัยรุน่ ใน
เขตสุขภาพทีร่ บั ผิดชอบ
เป้ าหมาย
1. ระดับความสาเร็จในการพัฒนา รพช. ให้
มีบริการดูแลด้านสังคมจิตใจทีม่ คี ุณภาพ
และเชื่อมโยงกับระบบบริการตามวัย
2. ระดับความสาเร็จของการผลักดันให้
โรงเรียนมีการสอนเรื่องเพศศึกษา /
พฤติกรรมเสีย่ งในโรงเรียนตามเกณฑ์
กิจกรรมขับเคลื่อนนโยบายการดาเนินงานสุขภาพจิต ประจาปี 2558
โครงการบูรณาการระบบสุขภาพใจเพื่อเด็กไทยวัยรุ่น ปี ที่ 2
หน่ วยดาเนิ นงาน
กิ จกรรม
ส่วนกลาง
โดย
1. ชีแ้ จงแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายการดาเนินงานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยรุ่น
(บูรณาการกับทุกโครงการทีช่ แ้ี จงโดยส่วนกลาง)
สานักส่งเสริมและ
พัฒนาสุขภาพจิต
1. ประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารเพื่อผลิตคู่มอื ส่งเสริมสุขภาพเยาวชนในชุมชน
(สพส.)
2. ผลิตคู่มอื ส่งเสริมสุขภาพเยาวชนในชุมชน
3. ผลิตคู่มอื การดาเนินงานสุขภาพวัยรุ่นแบบบูรณาการ (ฉบับเดิม)
4. พัฒนาหลักสูตร Teen Manager
5. ทดลองใช้และผลิตหลักสูตร Teen Manager
6. พัฒนาคู่มอื พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ในวัยรุน่
7. ประชุมเพื่อสรุปผลการดาเนินงานและการถอดบทเรียนในกลุ่มวัยรุน่
กิจกรรมการขับเคลื่อนนโยบายการดาเนินงานสุขภาพจิต ประจาปี 2558
โครงการบูรณาการระบบสุขภาพใจเพื่อเด็กไทยวัยรุ่น ปี ที่ 2
หน่ วยดาเนินงาน
สถาบันสุขภาพจิต
เด็กและวัยรุ่น
ราชนครินทร์
กิจกรรม
1. พัฒนาชุดสื่อ New Media
- ทักษะชีวติ วัยรุน่
- Parent Education สาหรับประชาชน
2. พัฒนาชุดสื่อหลักสูตรการอบรมเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง สาหรับบุคลากรสาธารณสุข
ทีป่ ฏิบตั งิ านเกีย่ วกับวัยรุน่ (Training Online)
3. พัฒนาศักยภาพบุคลากรทีป่ ฏิบตั งิ านการส่งเสริมและดูแลสุขภาพวัยรุ่น
4.จัดอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการทาจิตบาบัดวัยรุ่นแบบปรับพฤติกรรมและ
ความคิด (CBT)
5. การปรับปรุงฐานข้อมูลสุขภาพจิตวัยรุ่น
กิจกรรมการขับเคลื่อนนโยบายการดาเนินงานสุขภาพจิต ประจาปี 2558
โครงการบูรณาการระบบสุขภาพใจเพื่อเด็กไทยวัยรุ่น ปี ที่ 2
หน่ วยดาเนินงาน
ศูนย์สขุ ภาพจิต
กิจกรรม
1. สนับสนุ นให้ รพช.ดาเนินงานร่วมกับโรงเรียนให้มกี ารสอนเรื่อง
เพศศึกษา / พฤติกรรมเสีย่ งในโรงเรียน
2. การนิเทศติดตามผลการทางานในเขตสุขภาพทีร่ บั ผิดชอบ
รพ.จิตเวช
ทุกแห่ง
1. การนิเทศงานเชิงวิชาการในกลุม่ วัยรุน่ ในเขตสุขภาพทีร่ บั ผิดชอบ
กรอบติดตามผลการดาเนินงานตามตัวชี้วดั โครงการ
ตัวชี้วดั ความสาเร็จของ
โครงการใน 1 ปี
กิ จกรรมที่ตอบสนองตัวชี้วดั
1.ระดับความสาเร็จของการ
ผลักดันให้โรงเรียนมีการสอน
เรือ่ งเพศศึกษา /พฤติ กรรม
เสี่ยงในโรงเรียนตามเกณฑ์
1. สนับสนุนให้รพช.ดาเนินงานร่วมกับ
โรงเรียนให้มกี ารสอนเรือ่ งเพศศึกษา /
พฤติกรรมเสีย่ งในโรงเรียน
2. ร้อยละ 80 ของบุคลากร
เครือข่ายมีความรูแ้ ละทักษะ
ในการดูแล ป้ องกันแก้ไข
พฤติ กรรมเสี่ยงกลุ่ม
1.พัฒนาชุดสื่อหลักสูตรการอบรม
เรียนรูด้ ว้ ยตนเองสาหรับบุคลกร
สาธารณสุขทีป่ ฏิบตั งิ านเกีย่ วกับวัยรุน่
(Training Online)
วัยรุน่ ที่ได้รบั จากการ
ถ่ายทอด
3. ระดับความสาเร็จในการ
พัฒนา รพช. ให้มีบริการดูแล
ด้านสังคมจิ ตใจที่มีคณ
ุ ภาพ
และเชื่อมโยงกับระบบบริการ
ตามวัย
ผูใ้ ห้ข้อมูล
ตามตัวชี้วดั
เครื่องมือที่ใช้การ
ติ ดตามผลงานตาม
ตัวชี้วดั
ผูจ้ ดั เก็บ
ข้อมูล
ผูร้ ายงานผล
บุคลากรใน รพศ./
รพท./รพช.
แบบสารวจ จานวน
โรงเรียนทีส่ อนเรือ่ ง
เพศศึกษา/พฤติกรรม
เสีย่ งในโรงเรียน
ศูนย์
สุขภาพจิต
12 เขตฯ
สถาบัน
สุขภาพจิตเด็ก
และวัยรุน่ ฯ
บุคลากรทีผ่ ่านการ
อบรม Online
แบบประเมินผล
(Online)
สถาบัน
สุขภาพจิตเด็ก
และวัยรุ่นฯ
สถาบัน
สุขภาพจิตเด็ก
และวัยรุน่ ฯ
2.พัฒนาศักยภาพบุคลากรทีป่ ฏิบตั งิ าน บุคลากรทีผ่ ่านการ
การส่งเสริมและดูแลสุขภาพวัยรุ่น
อบรมการส่งเสริม
และดูแลสุขภาพ
วัยรุน่
แบบประเมินผล
ก่อน - หลังการอบรม
สถาบัน
สุขภาพจิตเด็ก
และวัยรุ่นฯ
สถาบัน
สุขภาพจิตเด็ก
และวัยรุน่ ฯ
1.องค์ความรูเ้ พื่อสนับสนุนการ
บุคลากรใน รพช./
ดาเนินงานในพืน้ ที่
บุคลากร สธ. ทีผ่ ่าน
2.พัฒนาศักยภาพบุคลากรทีป่ ฏิบตั งิ าน การอบรม
การส่งเสริมและดูแลสุขภาพวัยรุ่น
แบบประเมินฯ
ศูนย์
สพส.
สุขภาพจิต12
เขตฯ
( กิจกรรมบูรณาการ : รร.ส่งเสริมสุขภาพ)
แบบบันทึกรายชื่อ รพช. และโรงเรียนเป้ าหมายในพืน้ ที่
เขตสุขภาพที่.......................................
จังหวัด
1.จังหวัด............
รพช.
1. รพ ...........
โรงเรียน
1.โรงเรียน............
2.โรงเรียน............
3.โรงเรียน............
2. รพ ...........
1.โรงเรียน............
2.โรงเรียน............
กิ จกรรม
ตามแผนการเรียน
กิจกรรมเสริม
กิจกรรม รร.
การสอน
หลักสูตร
ร่วมกับเครือข่าย
สาธารณสุข
แบบฟอร์ม Sch 1
หมายแหตุ
อื่นๆ