MI health behaviour - แผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต

Download Report

Transcript MI health behaviour - แผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต

Steve Rollnick, Professor of
Healthcare Communication,
Department of General Practice,
University of Cardiff
Distinguished Professor of
Psychology and Psychiatry
University of New Mexico
Albuquerque, NM
William R. Miller, Ph.D
ดร. ดรุ ณี ภู่ขาว
B.Sc. (Nursing), MS (Mental health),MN (Mental Health), PhD (Addiction Studies)
ภาควิชาสั งคมและสุ ขภาพ คณะสั งคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
1
วงจร/ระยะการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม
1.เมินเฉย /ยังไม่ได้คดิ
7.กลับไปมีพฤติกรรม
เสี่ ยงซ้าเหมือนก่อน
2.ลังเล /ชั่งใจ
Contemplati
on
6.กลับไปมีพฤติกรรมเสี่ ยง
ซ้า 1-2 ครั้ง
4. ลงมือกระทา
5.เปลีย่ นแปลงได้ อย่ างถาวร
3. ตัดสิ นใจ/
เตรียมพร้ อม
ดร. ดรุ ณี ภู่ขาว ภาควิชาสังคมและสุขภาพ คณะสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิ ดล [email protected]
โมเดลข้ามทฤษฏี (Transtheoretical
Model)
เมินเฉย/ยังไม่ได้ คิด
(Pre- contemplation)
- คิดว่าตนไม่มีความจาเป็ นที่จะต้องเปลี่ยนแปลง
- คิดว่าตนถูกบังคับ กดดันให้เปลี่ยนแปลงจากพ่อแม่
ญาติพี่นอ้ ง เจ้านาย หรื อผูท้ ี่มีอานาจเหนือกว่า
- ไม่ตระหนักว่าตนมีปัญหาใดๆที่ส่งผลให้ตนต้อง
เปลี่ยนแปลง
4
 สวัสดีคะป้า......ดิฉนั ชือ่ ....ป้ามาทีน่ ีม่ อี ะไรให้ชว่ ยไหมคะ
 เอ้อ ทีม่ านีก่ ็ เพราะลูกสาว ไม่ได้เป็ นอะไรมากหรอก ความจริง การมาหาหมอนี ่
ไม่ได้เป็นสิง่ ทีฉ่ นั อยากจะมาเลย
 ?????
 หมอรู้ไหม คนรอบข้างป้ านะ ทาให้เรื่องป้ ามันใหญ่โดยไม่จาเป็ น กะอีแค่
ตามใจปากบ้าง ไรบ้าง ไม่ว่าใครที่อายุร่นุ ราวคราวเดียวกับป้ า ก็ปล่อยตัว
ตามใจปากกันทัง้ นัน้ แหละ
 ????
ลังเล (Contemplation)
- ลังเลไม่แน่ใจว่าตนจะ
เปลี่ยนแปลงดีหรื ออยูอ่ ย่างเดิมดี
- กาลังหาข้อมูลต่างๆเพื่อที่จะ
ประเมินหรื อเข้าใจพฤติกรรมของ
ตัวเอง
6
ตัดสิ นใจ/ เตรียมพร้ อม
- ตัดสิ นใจและพร้อมที่จะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตนเอง โดยมี
กาหนดระยะเวลาที่แน่นอน
- เช่น ฉันจะเริ่ มลงมือที่จะเปลี่ยนแปลงภายใน 1 เดือน
- อาจจะมีแผนการที่กว้างๆ แต่ยงั ไม่ทราบชัดเจนถึง
รายละเอียดแผน หรื อเทคนิควิธีที่จะใช้เปลี่ยนแปลง เช่น
มีแผนที่จะไปปรึ กษาหมอ พยาบาล ซื้อหนังสื อที่ช่วยให้
เราเปลี่ยนแปลง
7
ระยะลงมือปฏิบัติ (Action)
เริ่มลงมือเปลีย่ นแปลง ลงมือ
ศึกษาหาข้ อมูลเพือ่ ทีจ่ ะมีแผน
ขั้นตอน กลวิธีทจี่ ะช่ วยให้
ตนเองเปลีย่ นแปลง ไปจนถึง
เริ่มเปลีย่ นแปลง แต่ ระยะเวลา
ในการเปลีย่ นแปลงยังไม่ ถึง 6
เดือน
8
ระยะคงสภาพ (Maintenance)
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้ดงั ที่ต้งั ใจไว้
อย่างน้อย 6 เดือน
9
Lapse กลับไปมีพฤติกรรมเดิมๆ ซ้า 1-2 ครั้ง
Relapse กลับไปมีพฤติกรรมเดิมๆ เต็มรูปแบบ
เหมือนทีเ่ คยเป็ นมา
10
ขัน
้ เผลอกลับไปดืม
่ 1-2 ครัง้ (Lapse)
 หลังจากผูป
้ ่ วยเสร็จสิ้นการเข้ารับการบาบัดรักษา มีความคิดเชื่อมันว่
่ า
ตนควบคุมตนเองได้ ควบคุมให้หยุดดื่ม หรือควบคุมให้ดื่มในปริมาณ
และความถี่ที่ตนกาหนดไว้ได้
 งานวิจยั ในผูท
้ ี่มีพฤติกรรมเสพติด พบสถานการณ์เสี่ยง 3 ประเภทที่ นาไปสู่ 75%
ของการกลับไปมีพฤติกรรมเสพติดซา้
o
o
o
อารมณ์ทางลบ
ขัดแย้งในสัมพันธภาพส่วนบุคคล
แรงกดดันจากสังคม (ตรงและอ้อม) – อารมณ์ทางบวก
ขัน
้ กลับสู่พฤติกรรมเดิม
Relapse
 การกลับไปมีพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์เหมือนเดิมที่เคยเป็ นมา
 เป็ นกระบวนการที่เป็ นพลวัตร (dynamic process) ซึ่งเป็ นธรรมชาติ
ของการเปลี่ยนผ่านจากพฤติกรรม 1 ไปสู่พฤติกรรม 2
 การเปลี่ยนแปลงเป็ นกระบวนการที่เกิดขึน
้ เป็ นวงจร ผูป้ ่ วยส่วนใหญ่มกั จะไม่
ประสบความสาเร็จในการเปลี่ยนแปลงจากความพยายาม
เพียง 1 ครัง้
 การกลับไปดื่มซา้ เป็ นเรื่องปกติ ซึ่งสามารถเกิดขึน
้ ได้ในวงจรการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรม
But we usually target
people here…
Most
people
are
here…
คงสภาพ
ลงมือกระทา
ตัดสิ นใจเตรียมพร้ อม
ลังเล
เมินเฉย
ดร. ดรุ ณี ภู่ขาว ภาควิชาสังคมและสุขภาพ คณะสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิ ดล [email protected]
ดร. ดรุ ณี ภู่ขาว ภาควิชาสังคมและสุขภาพ คณะสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิ ดล [email protected]
ข้ อคิดที่ได้ จากวงจรการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ทึกทักหรือคาดเดาว่าผูป
้ ่ วยทุกคนต้องการที่จะ
เปลี่ยนแปลง?
แรงจูงใจของบุคคลเป็ นสิ่งที่ขึน
้ ๆลงๆ
การลังเลใจที่จะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเป็ นเรื่องธรรมดา
การออกแบบการช่ วยเหลือควรคานึ งถึงความพร้อมของ
ผู้รับบริการที่จะทาการเปลี่ยนแปลง
ผู้รับบริการและญาติอาจจะอยู่ในระยะต่างๆของการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่แตกต่างกัน
คนทัวไปพบว่
่
าผ่านวงจรนี้ 3-4ครัง้ กว่าจะเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมได้สาเร็จ
ตัวอย่ างการประเมินระยะการเปลีย่ นแปลง
1. ถ้าแบ่งระดับของความสาคัญในการที่จะต้อง
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในขณะนี้ จาก 0-100
(โดยที่ 0 คือไม่สาคัญเลยที่ท่านจะต้อง
เปลี่ยนแปลง และ 100 คือ เป็ นสิ่ งสาคัญมากที่
ท่านจะต้องเปลี่ยนแปลง)
ดร. ดรุ ณี ภู่ขาว ภาควิชาสังคมและสุขภาพ คณะสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิ ดล [email protected]
ดร. ดรุ ณี ภู่ขาว ภาควิชาสังคมและสุขภาพ คณะสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิ ดล [email protected]
ภาระหน้าทีข
่ องผู้บาบัด และวิธก
ี ารตางๆ
ทีใ่ ช้ในการส่งเสริมให้
่
บุคคลเกิดการเปลีย
่ นแปลงทีส
่ อดคลองกั
บแตละขั
น
้ ตอน
้
่
เมินเฉย
1. ให้ความเห็ นใจ
เข้าใจ
(Empathic
Understanding)
2. สร้างความตระหนัก
แลกเปลีย
่ นขอมู
้ ล
ทางเลือก
8 วิธีการทีใ่ ช้ กบั ผ้ รู ั บบริ การทีอ่ ย่ ใู นระยะเมินเฉย
 1.สร้างสัมพันธภาพ (rapport) โดยใช้ ชุดทักษะสื่อ
ความเห็นอกเห็นใจ(Empathy) – ทักษะการฟังแบบโดนใจ
(Reflective listening)
 2.แสดงความเคารพ (respect) ต่อความเป็ นตัวของตัวเอง
(Autonomy) ผูป้ ่ วย โดยยอมรับผูป้ ่ วยตามระยะการ
เปลี่ยนแปลงที่มีอยู่ในขณะนัน้ และให้อิสระในการเลือก
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามที่คิดว่าเหมาะกับตัวเอง
 3.หลีกเลี่ยงการใช้คาตาหนิ กล่าวว่า หรือทาตัวเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญ
บอกให้ผปู้ ่ วยทาตาม (กับดักการสื่อสาร)
8 วิธีการทีใ่ ช้ กบั ผ้ รู ั บบริ การทีอ่ ย่ ใู นระยะเมินเฉย
4. ดึงความกังวลหรือปัญหาของผูป้ ่ วยออกมาให้รบั รู้ กระตุ้นให้เกิด
คาพูดจูงใจตนเอง (self-motivational
statements) ด้วยคาถามต่อไปนี้ :
o “คุณกังวลเรือ่ งอะไรอยู่บา้ ง”
o “คุณคิดว่าจะเกิดอะไรขึ้น หากคุณไม่ปรับเปลีย่ นพฤติกรรม”
o “คุณทายังไงเพือ่ หยุดตัวคุณเองไม่ให้ทาในสิง่ ทีค่ ณ
ุ อยากทา”
o “คุณกังวลเกีย่ วกับพฤติกรรม.....ของคุณยังไงบ้าง”
o “คุณวาดภาพว่าจะเกิดอะไรขึ้นกับคุณ”
8 วิธีการทีใ่ ช้ กบั ผ้ รู ั บบริ การทีอ่ ย่ ใู นระยะเมินเฉย
5. ใช้ความกังวลเพื่อให้ผป้ ู ่ วยหาข้อมูลเพิ่มเติม (เช่น ผลการให้ข้อมูลย้อนกลับ
(feedback) จากการประเมิน) หากผูป้ ่ วยไม่มีความกังวลหรือมีเพียง
เล็กน้ อยให้บอกว่า “คุณอาจจะพูดถูกว่าไม่ค่อยน่ ากังวลเท่าไรในเรือ่ งการดืม่
ของคุณ แต่กบ็ อกได้ยากหากยังไม่ทราบข้อเท็จจริงทัง้ หมด”
5.1 หากผูป้ ่ วยยังไม่ค่อยอยากจะรู้ข้อมูลและปฏิเสธ ให้เปลี่ยนเป็ นใช้วิธีท้า
ทาย (paradoxical strategy) โดยยังไม่ยอมบอกข้อมูลผูป้ ่ วยจนกว่า
ผูป้ ่ วยจะสนใจ
“อาจจะยังไม่มีประโยชน์ กบั คุณมากเท่าไร ทีค่ ณ
ุ จะทราบข้อมูลนี้ หากคุณยัง
....”
5.2 หากผูป้ ่ วยพร้อม ให้แสดงข้อมูลสะท้อนกลับ (feedback) จากผล
การประเมิน การสัมภาษณ์ แสดงให้เห็นสิ่งที่ผป้ ู ่ วยมีปัญหาจากการใช้สาร
เสพติด แทนที่จะบอกว่าสงสัยว่าผูป้ ่ วยจะมีปัญหา
5.3 ดึงความสนใจผูป้ ่ วยต่อผลการให้ข้อมูลย้อนกลับ (feedback)
“คุณคิดจะทายังไง” หลัก POC sandwich
8 วิธีการทีใ่ ช้ กบั ผ้ รู ั บบริ การทีอ่ ย่ ใู นระยะเมินเฉย
6. สรุปสถานการณ์ตามมุมมองของผูป้ ่ วย
7. ช่วยให้ผป้ ู ่ วยรู้ว่า “จะทายังไงต่อ (next step)”
8. กรณี ผู ร้ ั บบริการยืนกรานทีจ่ ะไม่เปลี่ยนแปลง
Invite the door open
 สวัสดีคะป้า......ดิฉนั ชือ่ ....ป้ามาทีน่ ีม่ อี ะไรให้ชว่ ยไหมคะ
 เอ้อ ทีม่ านีก่ ็ เพราะลูกสาว ไม่ได้เป็ นอะไรมากหรอก ความจริง การมา
หาหมอนี ่ ไม่ได้เป็ นสิง่ ทีฉ่ นั อยากจะมาเลย
 ?????
 ป้ามาทีน่ ี ่ เพราะลูกสาว
 ใช่
 ฟงั ดู ดูเหมือนลูกของป้ากังวลอะไร หรือเป็ นห่วงอะไรบางอย่าง
เกีย่ วกับตัวป้า ป้าพอเล่าให้ฟงั ได้ไหมคะ ว่ามันเกิดอะไรขึน้
หมอรู้ไหม คนรอบข้างป้ านะ ทาให้เรื่องป้ ามันใหญ่
โดยไม่จาเป็ น กะอีแค่ ตามใจปากบ้าง ไรบ้าง ไม่ว่า
ใครที่อายุร่นุ ราวคราวเดียวกับป้ า ก็ปล่อยตัว
ตามใจปากกันทัง้ นัน้ แหละ
 .......ดูเหมือนป้ ากาลังปฏิเสธว่าตัวเองมีปัญหานะคะ
 .......แบบนี้ แหละคะ พบได้ในคนที่ไม่อยากแก้ปัญหา
 ........ลักษณะ รูปแบบการกินของป้ า ไม่ได้เป็ นเรือ่ ง
ผิดปกติ หรือเป็ นเรือ่ งราวใหญ่โต
 .........ลักษณะการรับประทานอาหารของป้ าเหมือนกับคน
ที่อายุรนุ่ ราวคราวเดียวกัน
 ..........ดูเหมือนคนรอบข้างป้ ากาลังทาให้ป้าหงุดหงิด ไม่
สบายใจ
ภาระหน้าทีข
่ องผู้บาบัด และวิธก
ี ารตางๆ
ทีใ่ ช้ในการส่งเสริมให้
่
บุคคลเกิดการเปลีย
่ นแปลงทีส
่ อดคลองกั
บแตละขั
น
้ ตอน
้
่
ลังเล
ใช้วิธก
ี ารเพิม
่ แรงจูงใจภายใน
เช่น ตรวจสอบขอดี
้ ขอเสี
้ ย
(pros/cons) ของพฤติกรรม
เพือ
่ ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถชัง่
น้าหนักขอดี
้ ขอเสี
้ ยได้
กระตุ้นให้ลังเล (Develop
Discrepancy)
ความหมาย:
 การกระตุนให
้
้ผู้ป่วยเกิดความรูสึ้ กลังเล/
่ นกาลังประพฤติ
ขัดแย้งในพฤติกรรมทีต
(Increased awareness of a
discrepancy between where they
are and where they want to be
relative to substance use)
วัตถุประสงค:์ ขยายมุมมองความเขาใจใน
้
พฤติกรรมทีก
่ าลังประพฤติ
กระตุ้นให้ลังเล (Develop
Discrepancy)
 วิเคราะหข
ขอเสี
้
้ ย
์ อดี
 มุมมองส่วนบุคคลตอพฤติ
กรรมทีต
่ นประพฤติ
่
ในอดีต (ความคิด ความรูสึ้ ก) (Highlighting
contradiction and inconsistencies in the
client's behavior or stated goals, values
and self perceptions)
 การใช้กระบวนการแลกเปลีย
่ นขอมู
้ ลแบบ
Sandwich แทนทีจ
่ ะใช้วิธก
ี ารบอกหรือแนะนา
ขอมู
่
้ ลอยางตรงไปตรงมา
PAR ครัง้ ที่ 2: แบบฟอร์ม #2
เครือ
่ งมือ: ข้อดี และข้อเสี ย
Ronald Murphy, Ph.D.
Bowdoin College
Craig Rosen, Ph.D.
National Center For PTSD
Education Division,
& Stanford University School
of Medicine
ขัน
้ ลังเลใจ (Contemplation
stage)
ข้อดีของพฤติกรรม
(ดานหั
ว)
้
ข้อเสี ยของพฤติกรรม
(ดานก
อย)
้
้
Decisional Balance
ดิฉันอยากทาความเข้ าใจชีวติ คุณให้ มากกว่ านี้ ลองเล่ าให้ ฟังได้
ไหมคะ ว่ าชีวติ ตอนนี้เป็ นอย่ างไร คุณทาอะไรบ้ างในแต่ ละวัน
ดูเหมือนคุณก็ใช้ ชีวติ เหมือนคนธรรมดาทั่วไป แล้ วที่คณ
ุ พูดถึง.....
นั้น เข้ ามามีส่วนเกีย่ วข้ องกับชีวติ คุณอย่ างไรคะ
Pros ข้อดีของ.........
เคยคุยกับคนหลายคน หรือแม้แต่กบั ตัว
ดิฉันเอง ดิฉันมีข้อสังเกตว่า คนเรานัน้ ถ้า
อะไรทีม่ นั มีข้อดีกบั เรา ไม่ว่าจะเป็ น
ประโยชน์ ต่างๆ ทีอ่ าจจะเกิดขึ้น ทาสิง่ นี้
แล้วมีความสุข....ทาสิง่ นี้ แล้วจะทาให้
เราไม่ได้
ทาสิง่ บางอย่างทีเ่ ราไม่อยากทา ....แล้วเรา
มักจะทาสิง่ นัน้ อย่างต่อเนื อ่ ง...ดิฉันเลยมี
ข้อสังเกตว่าการทีค่ ณ
ุ ยังคงมีรปู ร่างแบบนี้
นน.ตัวเท่านี้ ...คงจะมีผลดีบางประการกับ
ชีวิตของคุณ อยากให้คณ
ุ เล่าให้ฟังหน่ อย
ได้
ไหมคะ
Cons ข้อเสี ยของ....การ......
•1.ใช้ไม้บรรทัดความสาคัญต่อการเปลีย่ นแปลง
2. ถามตรงๆถึงผลเสีย
3.ให้มองย้อนเหตุการณ์ในอดีต
- เปรียบเทียบช่ วงอดีตก่อนที่จะมีปัญหากับ
ปัจจุบันที่มีปัญหา
สุ รายาเสพติดทาให้ ชีวิตปป.อย่ างไร
4.ให้มองเหตุการณ์ในอนาคต
ถ้าท่านไม่กระทาการเปลี่ยนแปลงใดๆ
ท่านคิดว่าอะไรจะเกิดขึ้นบ้าง
ท่านคิดว่าตัวท่านจะเป็ นอย่างไรในช่วง ...ปี
นับแต่นี้ไป ท่านหวังว่าอะไรจะเปลี่ยนแปลง
ไปบ้าง และ (การสูบบุหรี่) จะเข้ากันได้กบั
ชีวิตในช่วงที่ท่านคาดหวังไว้หรือไม่
อย่างไร
•5 .สารวจเป้าหมายและค่านิยม
•6. การแลกเปลีย่ นข้อมูลแบบแซนด์วชิ
การกระตุน้ ให้ลงั เล develop discrepancy
จากคาคะแนน
0 ถึง 10 เป็ นสิ่ งสาคัญตอท
่
่ านมาก
่
น้อยอยางไรที
จ
่ ะ ...........
่
และทาไมทานจึ
งให้คาคะแนนตั
วเองที่ .... และ
่
่
ทาไมไมใช
่ ่ อยูที
่ ่ 0
ขัน
้ ลังเลใจ (Contemplation stage)
ข้อดีของการ
เปลีย
่ นแปลง
 อยากเปลีย
่ นแปลง
 ประโยชนที
่ ะ
์ จ
เกิดขึน
้ จากปป.
พฤติกรรม/การ
หยุดดืม
่
 อาจเกิดผลเสี ยที่
ตามมาหากไมหยุ
่ ด
ดืม
่
ข้อเสี ยของการ
เปลีย
่ นแปลง
 ไมอยาก
่
เปลีย
่ นแปลง
Decisional Balance
ภาระหน้าทีข
่ องผู้บาบัด และวิธก
ี ารตางๆ
ทีใ่ ช้ในการส่งเสริมให้
่
บุคคลเกิดการเปลีย
่ นแปลงทีส
่ อดคลองกั
บแตละขั
น
้ ตอน
้
่
ขัน
้ ตัดสิ นใจ/
เตรียมพรอม
้
(Determinati
on/Preparati
on)
- Recognize change talk
Reflection&ถามรายละเอียด
Elaboration
ถามถึงตัวอย่าง
-Reflection&Affirmation
ข้อความจูงใจตนเอง
Self-Motivational Statement (SMS)
 การตระหนักในปัญหา (Problem Recognition)
“ ผมเพิง่ จะรูว้ า่ ผมมีปญ
ั หา ”
 ความกังวลกับปัญหา (Concern)
“ ผมกังวลกับมันจริงๆ ”
 ความตัง้ ใจทีจ่ ะเปลีย
่ นแปลง (Intention to Change)
“ คงต้องหยุดแล้ว ผมต้องทาอะไรซักอย่าง ”
 มองทางบวกสาหรับการเปลีย
่ นแปลง (Optimism for
Change)
ผมมั่นใจว่าผมทาได้ ”
“
Where is motivational change
talk/ SMS
เอ้อ ผมก็ยงั ไม่ดีขึน้ ง่ายสาหรับหมอที่จะบอก
ว่าให้ผม ทาโน่ นนี่ นัน่ แต่มนั ยาก ตัวผมก็อยาก
ดีขึน้ แม้นแต่แม่กไ็ ม่สามารถโน้ มน้ าวให้ผม
เป็ นคนไข้ที่สมบูรณ์แบบ perfect ตัวหมอ
เองก็เหมือนกัน
where is motivational change
talk/ SMS
Client: เอ้อ ผมก็ยงั ไม่ดีขึน้ ง่ายสาหรับหมอที่จะบอกว่าให้ผม
ทาโน่ นนี่ นัน่ แต่มนั ยาก ตัวผมก็อยากดีขึน้ แม้นแต่แม่กไ็ ม่
สามารถจูงใจให้ผมเป็ นคนไข้ที่สมบูรณ์แบบ (perfect )ตัว
หมอเองก็เหมือนกัน
 Therapist: คุณไม่ชอบให้ใครมากดดันคุณ และคุณ
ต้องการหาทางออกด้วยตัวของคุณเองทีจ่ ะทาให้ตวั เองดีข้ ึน

เรามักถูก ฝึ ก ให้มอง เฉพาะ ปัญหา แต่ไม่ได้ถูกฝึ ก ให้มองโอกาส...ที่จะทางานกับจุดเด่นกับ ผูร้ บั บริการ
การกระตุ้นให้เกิดบทสนทนาทีเ่ กีย
่ วกับ
การเปลีย
่ นแปลงตนเอง (Recognizing
and reinforce change talk)
 ถามตรงๆเพือ
่ ให้ไดค
้ าตอบ โดยใช้คาถามเปิ ด
เพือ
่ ทีจ
่ ะให้บุคคลเอยถึ
่ ง ความปรารถนา
ความสามารถ เหตุผล ความตองการ
้
อะไรจะเป็ นหนทางทีด
่ ส
ี าหรับทานในการ
่
......?
ถ้าทานตั
ดสิ นใจทีจ
่ ะทา........ทานจะท
า
่
่
อยางไร?
่
อะไรจะเป็ นขอดี
ี่ ะเกิดขึน
้ ถาท
้ ทจ
้ าน
่
...............?
ทาไมทานถึ
งตองการที
จ
่ ะ
่
้
การกระตุ้นให้เกิดบทสนทนาทีเ่ กีย
่ วกับการ
เปลีย
่ นแปลงตนเอง (Recognizing and
reinforce change talk)
 ความสมดุล: สิ่ งดีๆอะไรบางที
จ
่ ะเกิดขึน
้ เกีย
่ วกับ..และ
้
สิ่ งไมดี
จ
่ ะเกิดขึน
้ เกีย
่ วกับ..?
่ ใดๆบางที
้

ไม้บรรทัดแห่งความมัน
่ ใจ
จากคาคะแนน
0 ถึง 10 ทานมั
น
่ ใจมาก
่
่
น้อยอยางไรที
จ
่ ะสามารถกระทา ....
่

และทาไมทานจึ
งให้คาคะแนนตั
วเองที่ .... และ
่
่
ทาไมไมใช
่ ่ อยูที
่ ่ 0 (คาตอบทีไ่ ดคื
้ อบทสนทนาทีเ่ อย
่
ถึงความสามารถทีจ
่ ะเปลีย
่ นแปลง)

ภาระหน้าทีข
่ องผู้บาบัด และวิธก
ี ารตางๆ
ทีใ่ ช้ในการส่งเสริมให้
่
บุคคลเกิดการเปลีย
่ นแปลงทีส
่ อดคลองกั
บแตละขั
น
้ ตอน
้
่
ช่วยกาหนด
ขัน
้ ตอนวิธก
ี ารปฏิบต
ั ิ
ขัน
้ ตัดสิ นใจ/
เตรียมพรอม
้
(Determinati
on/Preparati
on)
ค้นหา ช่วยคิดถึงวิธก
ี ารทีจ
่ ะ
ทาให้ผู้ป่วยสามารถทาไดตาม
้
ความตองการหรื
อเป้าหมาย
้
โดยวิธก
ี ารทีไ่ มเป็
่ นอันตราย
หรือสนับสนุ นแหลงช
่ ่ วยเหลือ
ภาระหน้าทีข
่ องผู้บาบัด และวิธก
ี ารตางๆ
ทีใ่ ช้ในการส่งเสริมให้
่
บุคคลเกิดการเปลีย
่ นแปลงทีส
่ อดคลองกั
บแตละขั
น
้ ตอน
้
่
ขัน
้ ลงมือปฏิบต
ั ิ
(Action)
ช่วยให้เดินไปทีละ
ขัน
้ ผานทางเลื
อกทีม
่ ี
่
ให้ เลือกขัน
้ ตอน
วิธก
ี าร พร้อมแผน
เพือ
่ การปฏิบต
ั ิ
ภาระหน้าทีข
่ องผู้บาบัด และวิธก
ี ารตางๆ
ทีใ่ ช้ในการส่งเสริมให้
่
บุคคลเกิดการเปลีย
่ นแปลงทีส
่ อดคลองกั
บแตละขั
น
้ ตอน
้
่
ขัน
้ คงพฤติกรรม
ใหม่
(Maintenance)
ช่วยพัฒนากลวิธ ี
และทักษะใหมใน
่
การป้องกันการกลับ
สู่พฤติกรรมเดิม
(prevent relapse
ภาระหน้าทีข
่ องผู้บาบัด และวิธก
ี ารตางๆ
ทีใ่ ช้ในการส่งเสริมให้
่
บุคคลเกิดการเปลีย
่ นแปลงทีส
่ อดคลองกั
บแตละขั
น
้ ตอน
้
่
ขัน
้ เผลอกลับไป
ดืม
่ (Lapse)
• ลดผลทีเ่ กิดจากความคิดที่
เกีย
่ วของกั
บการทาไมได
้
่ ้
ตามเป้าหมาย (goal
violation effects)
• ความรูสึ้ กไรความสามารถ
้
(Low self-efficacy)
• ปรับความคิดใหมว่ าการเผลอไปมี
พฤติกรรมเสี่ ยงนั้น ไมใช
่
่ ่ ความ
ลมเหลว
แตเป็
้
่ นโอกาสในการเรียนรู้
• ประสบการณครั
ึ้ กวาเดิ
้ กตนเองแงมุ
่ มใดไดดี
้ ขน
่ ม และ
์ ง้ นี้ ทาให้เรารูจั
ยา้ วาสิ
่ ก
ี วาในครั
ง้ หน้า
่ ่ งนี้อาจนาไปสู่กลยุทธ ์ การจัดการกับปัญหาทีด
่
• ช่วยกันพิจารณาวาความส
าเร็จทีเ่ กิดขึน
้ จริงๆ คืออะไร เช่น ต้องสู้
่
กับอาการลงแดง และหยุดไดถึ
้ ง 2 อาทิตย ์
• เน้นยา้ วาขั
้ เผลอกลับไป lapse เป็ นเรือ
่ งทีพ
่ บไดเสมอๆ
หลายๆ คน
่ น
้
ต้องใช้ระยะเวลานานกวาจะส
าเร็จ
่
ภาระหน้าทีข
่ องผู้บาบัด และวิธก
ี ารตางๆ
ทีใ่ ช้ในการส่งเสริมให้
่
บุคคลเกิดการเปลีย
่ นแปลงทีส
่ อดคลองกั
บแตละขั
น
้ ตอน
้
่
ขัน
้ กลับสู่พฤติกรรมเดิม
(Relapse)
กระตุนให
้
้กลับเขาสู
้ ่ วงจรการ
ปรับเปลีย
่ นพฤติกรรมใหม่
โดยไมต
ด หรือท้อแท้
่ องหยุ
้
• สนับสนุ นให้กลับสู่กระบวนการเปลีย
่ นแปลงอีกครัง้
• ตรวจสอบตาชัง่ การตัดสิ นใจข้อดีข้อเสี ยอีกครัง้
• เน้ นการยอมรับ ตัว เองและเข้ าใจว่าการเผลอดืม
่ เป็ นส่ วนหนึ่ ง ของ
กระบวนการปรับเปลีย
่ นพฤติกรรมของคนส่วนใหญ่
• อธิบายทฤษฎีการเปลีย
่ นแปลงแบบ spiral
(“ถอยกลัง 2 ก้ าว
เดินหน้า 3 ก้าว”)
• เน้ นให้ เห็ น ว่า relapse
เป็ นโอกาสการเรีย นรู้ที่ส าคัญ เพื่อ
ตรวจสอบดูวาแผนที
จ
่ ะต้องทาควรเป็ นอยางไร
่
่
ภาระหน้าทีข
่ องผู้บาบัด และวิธก
ี ารตางๆ
ทีใ่ ช้ในการส่งเสริมให้
่
บุคคลเกิดการเปลีย
่ นแปลงทีส
่ อดคลองกั
บแตละขั
น
้ ตอน
้
่
1ขัน
้ เมินเฉย
(precontemplation)
2.ขัน
้ ลังเลใจ
(Contemplation)
3.ขัน
้ ตัดสิ นใจ
(Determination)
4.ขัน
้ ลงมือกระทา
(Action)
5. ขัน
้ คงพฤติกรรม
ใหม่ (Maintenance)
6. ขัน
้ กลับสู่พฤติกรรม
เดิม (Relapse)
1.1 ให้ความเห็นใจเขาใจ
้
(Empathic Understanding) & กลิง้
ไปกับแรงตาน
(ถาพบ)
้
้
1.2 สร้างความตระหนัก
โดยแลกเปลีย
่ นขอมู
้ ลทางเลือก
2.ข้อดีและขอเสี
้ ย
3. ฟัง change talk สะท้อนกลับไป
กระตุนให
้
้ตัดสิ นใจ & ช่วยกาหนด
ขัน
้ ตอนวิธก
ี ารปฏิบต
ั ิ
4.ช่วยให้เดินไปทีละขัน
้ ผานทางเลื
อก
่
ทีม
่ ใี ห้ เลือกขัน
้ ตอนวิธก
ี าร พร้อม
แผนเพือ
่ การปฏิบต
ั ิ
5.ป้องกันการกลับไปมีพฤติกรรมเดิมซา้
6. กระตุนให
้
้กลับเขาสู
้ ่ วงจรการ
ปรับเปลีย
่ นพฤติกรรมใหม่ โดยเน้นให้
เห็ นวา่ relapse เป็ นโอกาสการเรียนรู้
คาถาม ข้อสงสัย ?
ดร. ดรุ ณี ภู่ขาว ภาควิชาสังคมและสุขภาพ คณะสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิ ดล [email protected]