ภาพนิ่ง 1

Download Report

Transcript ภาพนิ่ง 1

กลอนเตือนใจวัยซนคนยุคเน็ต 1
เด็กยุคใหม่ ใสซื่อ ไม่ถือเคล็ด
จะเล่นเน็ต คราใด จาไว้หนา
เขียนหนังสื อ สื่ อสาร จานรรจา
ต้องรู ้ค่า ภาษาไทย ที่ใช้กนั
เขียนถึงใคร ให้ใช้คา ที่ควรคู่
ส่ งถึงครู ผูป้ กครอง ต้องคัดสรร
ส่ งถึงเพื่อน อาจใช้คา ที่คุน้ กัน
รู ้เท่าทัน ว่าคาไหน ใช้กบั เกลอ
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้ อนิ เทอร์ เน็ต
จริ ยธรรม หมายถึง หลักศีลธรรมจรรยาที่กาหนดขึ้นเพื่อใช้
เป็ นแนวทางปฏิบตั ิ หรื อควบคุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และ
สารสนเทศ ซึ่งเมื่อพิจารณาจริ ยธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและคอมพิวเตอร์แล้ว สามารถสรุ ปได้ 4 ประเด็น ได้แก่
ข้ อดีของอินเทอร์ เน็ต
ข้ อดีของอินเทอร์ เน็ต
1. ทาให้เกิดความสะดวกสบายในการติดต่อสื่ อสารกันไม่วา่ จะ
อยูท่ ี่ใดก็สามารถสื่ อสารกันได้
2. ประหยัดเวลาในการติดต่อสื่ อสาร
3. ประหยัดค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน
4. ทาให้เกิดการพัฒนาความรู ้ให้ทนั สมัยอยูต่ ลอดเวลา เพราะบน
อินเทอร์เน็ตจะมีความรู ้ที่ทนั สมัยให้เราค้นหาอยูต่ ลอด
ข้ อเสี ยของอินเทอร์ เน็ต
ข้ อเสี ยของอินเทอร์ เน็ต
1. ทาให้เกิดการล่อลวงมากขึ้นเนื่องจากการสนทนากับคนที่
ไม่รู้จกั
2. มีสื่อลามกอนาจารเพิม่ มากขึ้น
3. อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาจเกิดขึ้นถ้ามีระบบรักษา
ความปลอดภัยที่ไม่ดีนกั
4. มีการติดไวรัสคอมพิวเตอร์ได้ง่าย
5. เด็กนักเรี ยนจะเสี ยเวลากับการเล่นเกมส์ออนไลน์มากไป
ส่ งผลให้การเรี ยนตกต่าลง
จรรยาบรรณการใช้ เครือข่ ายสั งคมออนไลน์
จรรยาบรรณการใช้ เครือข่ ายสั งคมออนไลน์
1. ให้ระมัดระวังการละเมิดหรื อสร้างความเสี ยหายให้ผอู ้ ื่น
2. ให้แหล่งที่มาของข้อความ ควรอ้างอิงแหล่งข่าวได้
3. ไม่กระทาการรบกวนผูอ้ ื่นด้วยการโฆษณาเกินความจาเป็ น
4. ดูแลและแก้ไขหากตกเป็ นเหยือ่ จากโปรแกรมอันไม่พึงประสงค์
เพื่อป้ องกันมิให้คนอื่นเป็ นเหยือ่
บัญญัติ 10 ประการ
1. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทาร้ายหรื อละเมิดผูอ้ ื่น
2. ต้องไม่รบกวนการทางานของผูอ้ ื่น
3. ต้องไม่สอดแนม แก้ไข หรื อเปิ ดดูแฟ้ มข้อมูลของผูอ้ ื่น
4. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร
5. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็ นเท็จ
6. ต้องมีจรรยาบรรณการใช้เครื อข่ายสังคมออนไลน์
7. ให้ระมัดระวังในการละเมิดหรื อสร้างความเสี ยหายให้ผอู ้ ื่น
8. ให้แหล่งที่มาของข้อความ ควรอ้างอิงแหล่งข่าวได้
9. ไม่กระทาการรบกวนผูอ้ ื่นด้วยการโฆษณาเกินความจาเป็ น
10. ดูแลและแก้ไขหากตกเป็ นเหยือ่ จากโปรแกรมอันไม่พึงประสงค์
เพื่อป้ องกันมิให้คนอื่นเป็ นเหยือ่
ผลกระทบการใช้ อนิ เทอร์ เน็ต
1. โทษของอินเทอร์ เน็ต
โทษของอินเทอร์เน็ต มีหลากหลายลักษณะ ทั้งที่เป็ นแหล่งข้อมูลที่
เสี ยหาย, ข้อมูลไม่ดี ไม่ถูกต้อง, แหล่งประกาศซื้อขายของผิดกฏหมาย,
ขายบริ การทางเพศ ที่รวมและกระจายของไวรัสคอมพิวเตอร์ต่างๆ
• อินเทอร์เน็ตเป็ นระบบอิสระ ไม่มีเจ้าของ ทาให้การควบคุมกระทา
ได้ยาก
• มีขอ้ มูลที่มีผลเสี ยเผยแพร่ อยูป่ ริ มาณมาก
• ไม่มีระบบจัดการข้อมูลที่ดี ทาให้การค้นหากระทาได้ไม่ดีเท่าที่ควร
• เติบโตเร็ วเกินไป
ผลกระทบการใช้ อนิ เทอร์ เน็ต (ต่อ)
• ข้อมูลบางอย่างอาจไม่จริ ง
• ถ้าเล่นอินเทอร์เน็ตมากเกินไปอาจเสี ยการเรี ยนได้
• ข้อมูลบางอย่างก็ไม่เหมาะกับเด็กๆ
•เป็ นสถานที่ที่ใช้ติดต่อสื่ อสาร เพื่อก่อเหตุร้าย เช่น การวาง
ระเบิด หรื อล่อลวงผูอ้ ื่นไปกระทาชาเรา
•ทาให้เสี ยสุ ขภาพ เวลาที่ใช้อินเตอร์เน็ตเป็ นเวลานานๆ โดย
ไม่ได้ขยับเคลื่อนไหว
ผลกระทบการใช้ อนิ เทอร์ เน็ต (ต่อ)
2. โรคติดอินเทอร์ เน็ต
โรคติดอินเทอร์เน็ต (Webaholic) เป็ นอาการทางจิตประเภทหนึ่ง ซึ่ง
นักจิตวิทยาชื่อ Kimberly S Young ได้ศึกษาและวิเคราะห์ไว้วา่ บุคคลใดที่
มีอาการดังต่อไปนี้ อย่างน้อย 4 ประการ เป็ นเวลาไม่นอ้ ยกว่า 1 ปี แสดงว่า
เป็ นอาการติดอินเทอร์เน็ต
ข้ อดีและข้ อเสี ยของโครงสร้ างแบบสั มพันธ์ คือ สามารถ
เทอร์กการทาง
เน็ต (ต่อ)
สร้างตารางข้นผลกระทบการใช้
มาใหม่โดยอาศัอยนิ หลั
คณิ ตศาสตร์และค้นหาว่าข้อมูลในฐานข้อมูลมีขอ้ มูล
ร่ วมกับตารางที่สร้างขึ้นมาใหม่หรื อไม่ ถ้ามีกใ็ ห้
ประมวลผลโดยการอ่านเพิ่มเติมปรับปรุ งหรื อยกเลิก
รายการ ข้อเสี ย คือ การศึกษาวิธีการเขียนโปรแกรม
และใช้ฐานข้อมูลจะต้องอิงหลักทฤษฏีทางคณิ ตสา
ศตร์จึงทาให้การศึกษาเพิม่ เติมของผูใ้ ช้ ยากแก่การ
เข้าใจ แต่ในปัจจุบนั มีโปรแกรมการสร้างฐานข้อมูล
หลายโปรแกรมที่พยายามทาให้การเรี ยนรู ้และการ
ผลกระทบการใช้ อนิ เทอร์ เน็ต (ต่อ)
•รู ้สึกหมกมุ่นกับอินเทอร์เน็ต แม้ในเวลาที่ไม่ได้ต่อเข้าระบบ
อินเทอร์เน็ต
•มีความต้องการใช้อินเทอร์เน็ตเป็ นเวลานานขึ้นอยูเ่ รื่ อยๆ ไม่สามารถ
ควบคุมการใช้อินเทอร์เน็ตได้
•รู ้สึกหงุดหงิดเมื่อใช้อินเทอร์เน็ตน้อยลง หรื อหยุดใช้
•คิดว่าเมื่อใช้อินเทอร์เน็ตแล้ว ทาให้ตนเองรู ้สึกดีข้ ึน
•ใช้อินเทอร์เน็ตในการหลีกเลี่ยงปัญหา
•หลอกคนในครอบครัว หรื อเพื่อน เรื่ องการใช้อินเทอร์เน็ตของตนเอง
•มีอาการผิดปกติเมื่อเลิกใช้อินเทอร์เน็ต เช่น หดหู่ กระวนกระวาย
ผลกระทบการใช้ อนิ เทอร์ เน็ต (ต่อ)
3. อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
• Hacker & Cracker อาชญากรที่ได้รับการยอมรับว่ามีผลกระทบ
ต่อสังคมไอทีเป็ นอย่างยิง่
•บุคลากรในองค์กร หน่วยงานใดที่ไล่พนักงานออกจากงานอาจ
สร้างความไม่พึงพอใจให้กบั พนักงานจนมาก่อปัญหาอาชญากรรมได้
เช่นกัน
•Buffer overflow เป็ นรู ปแบบการโจมตีที่ง่ายที่สุด แต่ทาอันตราย
ให้กบั ระบบได้มากที่สุด โดยอาชญากรจะอาศัยช่อง โหว่ของ
ระบบปฏิบตั ิการ และขีดจากัดของทรัพยากรระบบมาใช้ในการจู่โจม
ผู้ใช้ อนิ เทอร์ เน็ตควรจะรู้ และยึดถือปฏิบัติ ดังนี้
1. ไม่บอกข้อมูลส่ วนตัว เช่น ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชื่อ โรงเรี ยน
ของตนให้แก่บุคคลอื่นที่รู้จกั กันทางอินเทอร์เน็ต โดยไม่ได้รับ
อนุญาตจากผูป้ กครองก่อน
2. หากพบข้อความหรื อรู ปภาพใดๆ บนอินเทอร์เน็ตที่มี
ลักษณะหยาบคายหรื อไม่เหมาะสม ควรแจ้งให้ผปู ้ กครองทราบ
ทันที
3. ไม่ควรไปพบบุคคลใดก็ตามที่รู้จกั กันทางอินเทอร์เน็ตโดย
ไม่ได้รับอนุญาตจาก ผูป้ กครองก่อน และหากผูป้ กครองอนุญาต ก็
ควรไปพร้อมกับผูป้ กครอง โดยควรไปพบกันในที่สาธารณะ
ผู้ใช้ อนิ เทอร์ เน็ตควรจะรู้ และยึดถือปฏิบัติ ดังนี้
4. ไม่ส่งรู ปหรื อสิ่ งใดๆ ให้บุคคลที่รู้จกั ทางอินเทอร์เน็ต โดยมิได้รับ
อนุญาตจากผูป้ กครองก่อน
5. ไม่ตอบคาถามหรื อต่อความกับผูท้ ี่สื่อข้อความหยาบคาย และต้อง
แจ้งให้ผปู ้ กครองทราบทันที
6. ควรเคารพต่อข้อต่อลงในการใช้อินเทอร์เน็ตที่ให้ไว้กบั ผูป้ กครอง
เช่น กาหนดระยะเวลาในการใช้อินเทอร์เน็ต เว็บไซต์ที่ผปู ้ กครอง
อนุญาตให้เข้าได้
แบบฝึ กหัดเรื่องคุณธรรมและจริยธรรมในการใช้ อนิ เทอร์ เน็ต
1. จรรยาบรรณการใช้เครื อข่ายสังคมออนไลน์มีอะไรบ้าง
2. บัญญัติ 10 ประการ ในการใช้อินเทอร์เน็ต มีอะไรบ้าง
3. ผลกระทบของการใช้อินเทอร์เน็ตมีอะไรบ้าง
4. โรคติดอินเทอร์ เน็ตมีอาการอย่างไร
5. จงบอกข้อดีของอินเทอร์เน็ตมา 5 ข้อ
6. จงบอกข้อเสี ยของอินเทอร์เน็ตมา 5 ข้อ