การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

Download Report

Transcript การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

การวัดและประเมิน
การเรียนรู ้
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบั ง
กรอบการบรรยาย
1. แนวคิดเกีย่ วกับการวัดผล
2. การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ /
PISA
3. พฤติกรรมด้านพุทธิ พิสยั
4. การวางแผนการสร้ างแบบทดสอบ
5. เทคนิคการเขียนข้ อสอบแบบเลือกตอบ
6. การปฏิบัติการเขียนข้ อสอบ
7. การหาคุณภาพของข้ อสอบ/แบบทดสอบ
องค์ประกอบ
ของการจัดการศึกษา
O - Objective
L – Learning
Experience
E - Evaluation
การวัดและประเมินผล
การเรียนรู ้
E – Evaluation
A – Assessment
การวัดและประเมินผลการเรียนรู ้
แบ่ งออกเป็ น 4 ระดับ
1. การประเมินระดับชัน้ เรียน
2. การประเมิน
4. การประเมินระดับชาติ
ระดับสถานศึกษา
3. การประเมินระดับ
เขตพื้นที่การศึกษา
การประเมินระดับชาติ
วิธีการ
ประเมินตามมาตรฐานการเรียนรูต้ ามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
การทดสอบทางการศึกษาระดั บชาติ
ขั้ นพื้นฐาน (O-NET)
โดย
ดร.ผดุงชั ย ภู่พัฒน์
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ขัน้ พืน้ ฐาน
O-NET ( Ordinary National Educational Test )
O-NET ( Ordinary National Educational Test )
คือ การสอบความรูร้ วบยอดปลายช่วงชัน้ (6 ภาคเรียน)
ของนักเรี ยนชัน้ ป.6 ม.3 และ ม.6 ตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้
ของหลัก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้น พื้ น ฐาน ทัง้ 8 กลุ่ ม
สาระการเรี ยนรู ้ โดย สทศ. จัดสอบให้ก บั นัก เรี ยนที่ ก าลัง
จะจบชัน้ ป.6 ม.3 และ ม.6 นักเรียนแต่ละคนสามารถสอบได้
1 ครัง้
O-NET ( Ordinary National Educational Test )
ระดับชัน้ ป.6 ใช้หลักสูตร ปี พ.ศ. 2551
ระดับชัน้ ม.3 และ ม.6 ใช้หลักสูตร
ปี พ.ศ. 2551
รู ปแบบข้ อสอบของ สทศ.
รูปแบบข้อสอบ O-NET ของ สทศ. มี 4 รูปแบบ
1. ปรนัย 4 – 5 ตัวเลือก เลือก 1 คาตอบ
2. ปรนัยหลายหมวด เลือกตอบจากแต่ละหมวด
ที่เชื่อมโยงกัน
3. ปรนัยหลายตัวเลือก หลายคาตอบ
4. เติมค่าหรือตัวเลข เช่น คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
ตัวอย่างรู ปแบบข้อสอบ
แบบที่ 1 ปรนัย 4 ตัวเลือก เลือก 1 คาตอบ
Direction : Identify the incorrect part of each
sentence
Example :
The man sits in the first row is busy drawing
A
B
C
a picture of the visiting lecturer.
D
ตัวอย่างการตอบ
แบบที่ 1
Choice
Item No.
1
2
3
4
1
2
3
4


  
   
  
5
6
7
8








 
 
 
 
แบบที่ 2 ปรนัยหลายหมวด เลือกตอบจากแต่ละ
หมวดที่เชื่อมโยงกัน
ตัวอย่าง :
อ่านข้อความหรื อบทประพันธ์ตอ่ ไปนี้ แล้วเลือกคาตอบที่
เกี่ยวข้องกับข้อความหรื อบทประพันธ์ ที่กาหนดจากหมวด
คาตอบ ก ข และ ค ให้ถูกต้องครบทัง้ 3 หมวด(หมวดละ 1
คาตอบ) จึงจะได้คะแนน
ตัวอย่างรูปแบบข้อสอบ
จะพูดจาปราศรัยกับใครนัน้
ไม่ควรพูดอื้ออึงขึ้นมึงกู
แม้จะเรียนวิชาทางค้าขาย
จึงซื้อง่ายขายดีมีกาไร
เป็ นมนุษย์สุดนิ ยมเพียงลมปาก
แม้นพูดดีมีคนเขาเมตตา
อย่าตะคัน้ ตะคอกให้เคืองหู
คนจะหลู่ล่วงลามไม่ขามใจ
อย่าปากร้ายพูดจาอัชฌาสัย
ด้วยเขาไม่เคืองจิตระอิดระอา
จะได้ยากโหยหิวเพราะชิวหา
จะพูดจาจงพิเคราะห์ให้เหมาะความ
ตัวอย่างรู ปแบบข้อสอบ
แบบที่ 2
ก
ข
1. กลอนแปด
2. กลอนสั กวา
3. กลอนเสภา
4. กาพย์ ยานี 11
1. คาชี้แจง
2. คาสั่ งสอน
3. คาแนะนา
4. คาอธิบาย
คำตอบ
124
ค
1. ปากหอยปากปู
2. ปากเป็ นชักยนต์
3. ปากไม่ สิ้นกลิน่ นา้ นม
4. ปากเป็ นเอกเลขเป็ นโท
ตัวอย่างการตอบ
แบบที่ 2
ข้อที่





แบบที่ 3 ปรนัยหลายตัวเลือก หลายคาตอบ
ตัวอย่าง :
จากโจทย์ให้ระบายคาตอบที่ถูกต้อง 2 คาตอบ
จาก 6 ตัวเลือก ที่กาหนดให้
1. ข้อใดไม่ถูก ต้องเกี่ยวกับการรักษาทรัพยากร
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
1. นากาละมังไปปะรูรวั ่
2. ปิ ดไฟเมื่อออกจากห้อง
3. รวบรวมถุงพลาสติกไปทาลาย
4. นายางรถยนต์ที่ไม่ใช้แล้วมาทาเป็ นถังขยะ
5. ทากระปุกออมสินจากเศษกระดาษหนังสือพิมพ์
6. ส่งเสริมให้ใช้โฟมทากระทงเพื่อความสะดวกในการจัดเก็บ
จากลาคลอง
คาตอบ ข้อ 3 และ 6
ตัวอย่างการตอบ
แบบที่ 3
ข้ อที่
1
2
3
4




แบบที่ 4 เติมค่าหรื อตัวเลข เช่น คณิ ตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
ตัวอย่าง :
จากโจทย์จงเขียนและระบายคาตอบในกระดาษคาตอบ
1. 36.50 – 25.94 = ………
คาตอบ
10.56
ตัวอย่างการตอบ
แบบที่ 4
ข้อ 1




















1
0




















.
5
6




















การวัดและประเมินผล
ตามแนวทางของ PISA
โครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ
(Programme for International
Student Assessment)
เป็ นโครงการที่ริเริ่มโดยองค์การเพื่อ
ความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ
OECD (Organization for Economic
Co-operation and development)
จุดม่ ุงหมายของ PISA
ตรวจสอบว่าเยาวชนวัยจบการศึกษาหรือ
วัยอายุ 15 ปี ของประเทศต่างๆ มีศกั ยภาพหรือ
ความสามารถพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการดารงชีวิต
ในโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่เพียงใด
ผลการประเมิน PISA
อยู่ในระดับที่ยงั ไม่น่าพึงพอใจ
ปี 2555 เวียดนามกับมาเลเซีย
เข้าร่วมโครงการด้วย
ผลกระทบของการสอบ PISA
1. ส่งผลต่อภาพลักษณ์ของประเทศไทย
2. ใช้เป็ นเกณฑ์หนึ่ งในการจัดลาดับ
ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
3. ใช้เป็ นเกณฑ์หนึ่ งในการพิจารณาความ
น่ าลงทุน
นโยบายส่ งเสริมให้ โรงเรียนจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนที่เน้ นการพัฒนากระบวน
การคิดและกระบวนการแก้ ปัญหาให้ มากขึน้
ใช้เป็ นตัวบ่งชี้ความสาเร็จของ
การจัดการศึกษา
ปี 2561 ผลสั มฤทธิ์ทางการศึกษา
ด้ านคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
เพิม่ ขึน้ ไม่ ต่ากว่ าค่ าเฉลีย่ นานาชาติ
(ผลการสอบ PISA)
ความรูแ้ ละทักษะที่จาเป็ นสาหรับ
การเรียนรูต้ ลอดชีวิตและเป็ นตัวชี้วดั
ศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ
ได้แก่การรูเ้ รื่อง (Literacy) 3 ด้าน
1. การอ่าน 2. คณิ ตศาสตร์ 3. วิทยาศาสตร์
รูปแบบของข้ อสอบ
1. แบบเลือกตอบ
2. เลือกตอบแบบเชิงซ้อนหรือ
คาถามหลายคาถามต่อเนื่ องกัน
(Complex multiple-choice)
3. เขียนตอบ
สสวัวั สดี