งานนำเสนอ PowerPoint

Download Report

Transcript งานนำเสนอ PowerPoint

www.themegallery.com
การจัดสอบ O-NET
ระดับชัน้ ป.6 และ ม.3 ปี การศึกษา 2555
LOGO
“เป็ นไปด้ วยความเรี ยบร้ อย โปร่งใสและ
ยุติธรรม
เป็ นตามมาตรฐานการบริ หารการทดสอบ”
ผลคะแนนเชื่อถือได้
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ขันพื
้ ้นฐาน ปี การศึกษา2555
กําหนดการสอบ O-NET
ระดับชัน้ ป.6: วันเสาร์ ที่ 2 กุมภาพันธ์2556
ระดับชัน้ ม.3
: วันเสาร์ ที่ 2 กุมภาพันธ์
วันอาทิตย์ ที่ 3 กุมภาพันธ์
2556
2556
ตารางสอบ O-NET ระดับชัน้ ป.6
วัน-เดือน-ปี ส 2 ก.พ. 56
เวลาสอบ
รหัสวิชา
08.30-09.20 น.
64
09.20-10.10 น.
62
10.30-11.20 น.
11.20-12.10 น.
61
63
13.10-14.00 น.
65
14.20-14.50 น.
14.50-15.20 น.
15.20-15.50 น.
66
67
68
วิชาที่สอบ
คณิตศาสตร์
สังคมศึกษา ฯ
พัก 20 นาที
ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ
พัก1 ชัว่ โมง
วิทยาศาสตร์
พัก20 นาที
สุขศึกษาและพลศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ
เวลาสอบ
50 นาที
50 นาที
50 นาที
50 นาที
50 นาที
30 นาที
30 นาที
30 นาที
ตารางสอบ O-NET ระดับชัน้ ม.3
วัน-เดือน-ปี
เวลาสอบ
ส 2 ก.พ. 56 08.30 - 10.00 น.
10.30 - 12.00 น.
13.00 - 14.30 น.
อา 3 ก.พ. 56 08.30 - 10.00 น.
10.30 - 12.00 น.
13.00 - 13.40 น.
13.40 - 14.20 น.
14.20 - 15.00 น.
รหัสวิชา
94
วิชาที่สอบ
คณิตศาสตร์
พัก 30 นาที
91
ภาษาไทย
พัก 1 ชัว่ โมง
93
ภาษาอังกฤษ
95
วิทยาศาสตร์
พัก 30 นาที
92 สังคมศึกษา ฯ
พัก 1 ชัว่ โมง
96
สุขศึกษาฯ
97
ศิลปะ
98 การงานอาชีพฯ
เวลาสอบ
90 นาที
90 นาที
90 นาที
90 นาที
90 นาที
40 นาที
40 นาที
40 นาที
จํานวนแบบทดสอบ O-NET
แบบทดสอบ O-NET ป.6 และ ม.3 มี 6 ฉบับ
ครอบคลุม 8 กลุม่ สาระการเรี ยนรู้
ฉบับที่ รหัสวิชา ป.6
รหัสวิชา ม.3
วิชาที่สอบ
1
61
91
2
62
92
ภาษาไทย
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
3
63
93
ภาษาอังกฤษ
4
64
94
คณิตศาสตร์
5
65
95
วิทยาศาสตร์
6
66
67
68
96
97
98
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
จํานวนกระดาษคําตอบ ระดับชัน้ ป.6
ปี การศึกษา 2555 กําหนดให้ ใช้ กระดาษคําตอบ 4 แผ่น
เช่นเดียวกับปี การศึกษาที่ผา่ นมา โดยวิชาที่สอบต่อเนื่องจะใช้
กระดาษคําตอบเพียงแผ่นเดียวร่วมกัน ดังนี ้
แผ่นที่
รหัสวิชา
1
64
62
2
61
63
3
65
4
66
67
68
วิชาที่สอบ
คณิตศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ
วิทยาศาสตร์
สุขศึกษาและพลศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
จํานวนกระดาษคําตอบ ระดับชัน้ ม.3
กําหนดให้ ใช้ กระดาษคําตอบ 1 แผ่นต่อ 1 วิชา
ยกเว้ นชุดวิชาสุขศึกษาฯ ศิลปะ และการงานอาชีพฯ
กระดาษคําตอบ 1 แผ่น ใช้ ตอบทัง3
้ วิชา
ตัวอย่างรูปแบบแบบทดสอบ
แบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก 1 คําตอบที่ถกู ที่สดุ (4 ตัวเลือก 1 คําตอบ)
ตัวอย่างรูปแบบแบบทดสอบ
แบบเลือกตอบ 5 ตัวเลือก 2 คําตอบที่ถกู ต้ อง (5 ตัวเลือก 2 คําตอบ)
ตัวอย่างรูปแบบแบบทดสอบ
แบบเลือกตอบจากแต่ละหมวดที่สมั พันธ์กนั
แบบระบายคําตอบที่เป็ นค่า/ตัวเลข
ลักษณะของกระดาษคําตอบ
กระดาษคําตอบมี 2 ประเภท
1. กระดาษคําตอบของผู้เข้ าสอบที่ได้ ระบุข้อมูล ชื่อ- สกุล
รหัสเลขประจําตัวประชาชน เลขที่นั ่่ งสอบ รหัสชุด วิชาที่
สอบ วันที่สอบ และสถานที่สอบไว้ แล้ ว
ลักษณะของกระดาษคําตอบ (ต่อ)
2. กระดาษคําตอบสํารอง ใช้ กรณีกระดาษคําตอบ ไม่
ตรงกับผู้เข้ าสอบหรื อชํารุด หรื อมีผ้ เู ข้ าสอบกรณี พิเศษ
อุปกรณ์ที่ใช้ ในการทําข้ อสอบ
ปากกา
ยางลบ
ดินสอ 2B
บัตรประจําตัวประชาชน
บัตรประจําตัวนักเรี ยน
หรื อหลักฐานอย่างอื่นที่
สามารถใช้ แสดงตัวตน
ของนักเรี ยน
การจัดสนามสอบ
การจัดสนามสอบขอให้ เป็ นอํานาจหน้ าที่ของศูนย์สอบใน การ
พิจารณาความเหมาะสมของการเลือกโรงเรี ยนในการ เป็ น
สนามสอบ โดยพิจารณาจาก
1. ระยะทางจากโรงเรี ยนไปยังสนามสอบ ไม่ห่างไกล
สามารถเดินทางได้ สะดวก โดยเฉพาะสนามสอบ O-NET
ระดับชัน้ ป.6 ใช้ หลักการ 1 กลุม่ เครื อข่าย ต่อ 1 สนามสอบ
ระดับชัน้ ม.3 ใช้ หลักการ 1 อําเภอ ต่อ 1 สนามสอบ
การจัดสนามสอบ
2. โรงเรี ยนที่เป็ นสนามสอบควรมีความพร้ อมในเรื่ องของ
สถานที่และศักยภาพในการดําเนินการจัดสอบ
3. การจัดโรงเรี ยนลงสนามสอบควรให้ ใน 1 สนามสอบ มี หลาย
โรงเรี ยนสอบที่เดียวกัน เพื่อความโปร่งใสในการจัด สอบ
การแจกแบบทดสอบและกระดาษคําตอบ
ต้ องแจกกระดาษคําตอบก่อน ให้ ตรงกับรายชื่อผู้เข้ าสอบ ใน
สทศ.2
แจกแบบทดสอบเมื่อถึงเวลากําหนดตามตารางสอบ
การแจกเรี ยงตามลําดับเลขที่นงั่ สอบของผู้เข้ าสอบจาก คนที่
1-30 ตามผังที่นั งสอบเป็ นรูปตัว U อย่างเคร่งครัด
การเก็บแบบทดสอบและกระดาษคําตอบ
 เมื่อหมดเวลาสอบกรรมการคุมสอบต้ องเก็บ
กระดาษคําตอบทุกแผ่นและแบบทดสอบทุกฉบับกลับคืน
สทศ.
 เก็บกระดาษคําตอบเรี ยงตามลําดับเลขที่นั งสอบ (ทังคน
้ เข้ า
สอบและขาดสอบรวมกัน) จากผู้เข้ าสอบคนที่ 1 ถึง คนที่ 30
ตามผังที่นั งสอบเป็ นรูปตัว U อย่างเคร่งครัด
ข้ อสําคัญของการเก็บแบบทดสอบและกระดาษคําตอบ
 แบบทดสอบถือเป็ นเอกสารลับทางราชการและเป็ น สมบัติ
ของสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การ
มหาชน) ห้ ามนําไปเผยแพร่ เมื่อสอบเสร็จให้ สนามสอบเก็บ
รวบรวมส่งคืนศูนย์สอบให้ ครบทุกฉบับ
 กระดาษคําตอบ ขอให้ กรรมการคุมสอบรักษา ผลประโยชน์
ให้ กบั ผู้เข้ าสอบ โดยการเก็บกระดาษคําตอบ ให้ ครบถ้ วนทุก
แผ่นส่งคืน สทศ.
การเพิ่ม - ลดข้ อมูล
การเพิ่มรายชื่อนักเรี ยน (ผู้เข้ าสอบกรณีพิเศษคิดค่าสถิติ)
กรณีที่ 1 (ช่วงวันที่ 1 ต.ค.55 -10 ม.ค.56)
โรงเรี ยนแจ้ งเพิ่ม ลด นักเรี ยนเป็ นรายบุคคล ให้ โรงเรี ยน
สามารถส่งข้ อมูลรายชื่อนักเรี ยนที่ตกหล่นเป็ นรายบุคคล ผ่าน
ทางระบบ O-NET โดย สทศ. ประกาศรายชื่อและ เลขที่นั่ ง
สอบ วันที่ 15 ม.ค. 56 รายชื่อนักเรี ยนที่แจ้ งเพิ่ม ในช่วงเวลา
นี ้จะไม่ปรากฏบนใบเซ็นชื่อผู้เข้ าสอบ
(สทศ.2) และบนกระดาษคําตอบแบบลงข้ อมูล .
เป็ นผู้เข้ าสอบกรณีพิเศษและคิดค่าสถิติให้
การเพิ่มรายชื่อนักเรี ยน (ผู้เข้ าสอบกรณีพิเศษแต่ไม่คิดค่าสถิติ)
กรณีที่ 2 หลังวันประกาศเลขที่นงั่ สอบรอบ2(15ม.ค.56)
ให้ โรงเรี ยนแจ้ งขออนุญาตจากศูนย์สอบ หากศูนย์สอบ
พิจารณาแล้ วว่าจํานวนข้ อสอบและกระดาษคําตอบเพียงพอ จึง
อนุญาตให้ เข้ าสอบเป็ นกรณีพิเศษแต่นกั เรี ยนเหล่านี ้
จะไม่มีรายชื่อในใบเซ็นชื่อ(สทศ.2) ต้ องใช้ กระดาษคําตอบ
และแบบทดสอบสํารอง และนักเรี ยนที่ถกู แจ้ งเพิ่มรายชื่อ ในช่วง
เวลานี ้จะไม่มีการนําคะแนนของนักเรี ยนไปคิดค่าสถิติ ระดับ
โรงเรี ยน แต่มีคา่ คะแนนรายบุคคล
สนามสอบไม่ต้องกรอกเลขที่นงั่ สอบ
การเพิ่มรายชื่อนักเรี ยน
(ผู้เข้ าสอบกรณีพิเศษไม่คิดค่าสถิติ)
กรณีที่ 3 ในวันสอบ หากสนามสอบพบว่ามีนกั เรี ยนที่ไม่มีเลขที่นงั่
สอบเข้ ามา สอบ ต้ องตรวจสอบว่าเป็ นนักเรี ยนระดับชันนั
้ นจริ
้ ง
และแจ้ งขออนุมตั ิจากศูนย์สอบ โดยต้ องพิจารณาจากจํานวน
แบบทดสอบสํารองและกระดาษคําตอบสํารองว่าเพียงพอ
หรื อไม่ หากมีจํานวนเพียงพอ ศูนย์สอบจึงอนุมตั ใิ ห้ เข้ า
สอบเป็ นกรณีพิเศษได้
สนามสอบไม่ต้องกรอกเลขที่นงั่ สอบ
การเพิ่มรายชื่อนักเรี ยน (ผู้เข้ าสอบกรณีพิเศษ)
กรรมการคุมสอบต้ องเขียนชื่อผู้เข้ าสอบและให้ ผ้ เู ข้ าสอบ ลง
ลายมือชื่อใน สทศ.3 (ใบเซ็นชื่อผู้เข้ าสอบกรณีพิเศษ) และผู้เข้ า
สอบต้ องใช้ แบบทดสอบและกระดาษคําตอบ สํารอง ทังนี
้ ้ในกรณี
เพิ่มชื่อหลังวันที่ 10 ม.ค. 56 ช่อง เลขที่นงั่ สอบให้ เว้ นไว้ ไม่ต้อง
กรอกและไม่ต้องระบายเพื่อ สทศ. จะได้ ออกเลขที่นงั่ สอบให้ ใน
ภายหลัง และนักเรี ยน ที่ถกู แจ้ งเพิ่มรายชื่อในช่วงเวลานี ้จะไม่มี
การนําคะแนน ของนักเรี ยนไปคิดค่าสถิติระดับโรงเรี ยน
แต่มีคา่ คะแนน รายบุคคล
การแจ้ งลดข้ อมูล
 กรณีที่โรงเรี ยนแจ้ งลดรายชื่อเนื่องจากมีการย้ ายโรงเรี ยน หรื อ
ลาออก ช่วงวันที่ 1 ต.ค. 55 -10 ม.ค. 56 สทศ.จะ ดําเนินการ
อนุมตั ิการลดรายชื่อนักเรี ยนคนดังกล่าวให้ ใน ระบบ แต่รายชื่อ
ยังคงอยูใ่ นส่วนของใบเซ็นชื่อ (สทศ.2) และกระดาษคําตอบ ซึง่
นักเรี ยนที่แจ้ งลดรายชื่อจะไม่นํา คะแนนไปคิดค่าสถิติใน
โรงเรี ยนนัน้
การสอบรอบพิเศษ
 สําหรับผู้เกิดเหตุสดุ วิสยั ในวันสอบ ซึง่ ต้ องมีข้อมูล เหตุ
สุดวิสยั จากสนามสอบ และผู้สมัครสอบรอบพิเศษ ต้ องมี
หลักฐานประกอบตามข้ อกําหนดของ สทศ.  การพิจารณาให้
จัดสอบรอบพิเศษต้ องผ่านมติของคณะ กรรมการบริ หารสถาบัน
ฯ
 สถานที่สอบตามประกาศของ สทศ.
หากสนามสอบใดทุจริ ต หรื อส่อในทางทุจริ ต
สทศ. จะไม่ประกาศผลคะแนนสอบในสนามสอบนัน้
และแจ้ งให้ หน่วยงานต้ นสังกัดทราบต่อไป
หากการวิเคราะห์คา่ คะแนนของโรงเรี ยนมีความ
ผิดปกติ สทศ. จะรายงานไปยังหน่วยงานต้ น
สังกัด และ สมศ.
www.themegallery.com
LOGO
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)