บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐาน

Download Report

Transcript บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐาน

กำรศึกษำ
ตำแหน่ ง
น.ธ.เอก ป.ธ. ๔
ศน.บ. รัฐศำสตร์กำรปกครอง
ศษ.ม. กำรบริหำรกำรศึกษำ
ปร.ด. กำรบริหำรกำรศึกษำ
เจ้ำอำวำสวัดหนองสวง
เจ้ำคณะอำเภอหนองกุงศรี (ธ.)
อำจำรย์ประจำวิทยำลัยฯ
หัวหน้ ำฝ่ ำยบริหำร
พระครูสุธวี รสาร (ดร.)(อุธ ฐิตปญฺโญ)
Tel.๐๙๑-๘๖๕๒๗๕๔
E mail : [email protected]
web: http://www.kammatthan.com
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
1
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
2
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
กามฉันท์ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ วิจกิ จิ ฉา
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
3
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
ระงับนิวรณ์ ๕
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
14/11/56
กำมฉันท์
พยำบำท
ถีนมิทธะ
อุทธัจจกุกกุจจะ
วิจิกิจฉำ
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
4
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
ระงับนิวรณ์ ๕
๑.กำมฉันท์
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
5
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
ระงับนิวรณ์ ๕
๑. กำมฉันท์ พอใจในกามคุณ ๕ ด้วยอานาจของกิเลสกาม
แก้ด้วย การเจริญอสุภกรรมฐาน พิจารณาซากศพ ๙ ชนิด เจริญกาย
คตาสติ พิจารณาร่างกายทีม่ ชี วี ติ ให้เป็ นของน่าเกลียด
เปรียบเหมือน คนเป็นไข้ หนาว ๆ ร้อน ๆ อยูไ่ ม่เป็นสุข
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
6
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
ระงับนิวรณ์ ๕
๒.พยำบำท
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
7
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
ระงับนิวรณ์ ๕
๒. พยำบำท โกรธจัดด้วยกาลังโทสะอย่างแรง อาฆาตพยาบาท คิดจอง
ล้างจองผลาญผูอ้ ่นื มักโกรธง่ายโมโหร้าย
แก้ด้วย การแผ่พรมหวิหาร ๓ คือ เมตตา กรุณา มุทติ า อบรมจิตให้
คิดในเรือ่ งความรัก ความเมตตาสงสาร ยินดีเมือ่ ผูอ้ ่นื ได้ดี
เปรียบเหมือน คนเป็นโรค มักหายารักษาตลอดเวลา โดยไม่รู้
สาเหตุของโรค
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
8
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
ระงับนิวรณ์ ๕
๓.ถีนมิทธะ
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
9
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
ระงับนิวรณ์ ๕
๓. ถีนมิทธะ หดหูท่ อ้ แท้ และเคลิบเคลิม้ เศร้าซึมแห่งจิต คนผูม้ ถี นี
มิทธะเป็ นเจ้าเรือน มักย่อท้อในกิจการงานทีต่ อ้ งทา
แก้ด้วย การเจริญอนุสสติกรรมฐาน พิจารณาความดีของตน หรือ
คุณพระรัตนตรัย เป็ นต้น เพือ่ ให้เกิดความมานะบากบัน่ อดทนต่อการ
ทากิจการงานทีท่ า
เปรียบเหมือน คนติดคุก ท้อแท้ อ่อนแอ สิน้ หวังในชีวติ คิดว่าตน
ไร้คุณค่า
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
10
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
ระงับนิวรณ์ ๕
๔.อุทธัจจกุกกุจจะ
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
11
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
ระงับนิวรณ์ ๕
๔. อุทธัจจกุกกุจจะ ฟุ้งซ่าน อึดอัด กลัดกลุม้ วิตกกังวล และราคาญ
ใจ ไม่เป็ นปกติสขุ คนเหล่านี้ มักมีจติ ใจไม่มนคง
ั่
ขาดความมันใจ
่
แก้ด้วย การเพ่งกสิณเพือ่ ให้ใจแน่วแน่ดว้ ยอารมณ์เดียว หรือเจริญ
มรณสติให้เกิดความสังเวช
เปรียบเหมือน คนรับใช้ เกิดความกังวลตลอดเวลาเพราะการรอคอย
เจ้านาย ไม่รจู้ ะไปมาเวลาไหน
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
12
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
ระงับนิวรณ์ ๕
๕.วิจิกิจฉำ
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
13
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
ระงับนิวรณ์ ๕
๕. วิจิกิจฉำ ลังเลสงสัยตัดสินใจไม่ได้
แก้ด้วย การเจริญธาตุกรรมฐาน หรือวิปสั สนากรรมฐาน เพือ่ กาหนด
รูเ้ ท่าทันสภาวธรรมตามทีเ่ ป็ นจริง
เปรียบเหมือน คนเดินทาง โดยไม่รแู้ น่ชดั ว่า ทางเส้นนี้ใกล้ไกล
เพียงไร และเจริญพรหมวิหำร ๔ เป็ นประจำ
สรุป การรักศีลยิง่ กว่าชีวติ การระงับนิวรณ์ ๕ และทรงพรหมวิหาร
เป็ น อธิจติ คือทรงฌานสมาบัตไิ ว้ได้
เรียกว่ำ ดีระดับเปลือกของความดีในพุทธศาสนาเท่านัน้
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
14
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
15
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
 มีศลี บริสทุ ธิ ์ กาจัดนิวรณ์ ๕ ได้ ทรงพรหมวิหาร ๔ แล้ว สร้างฌานพิเศษ
มีบุพเพนิวาสานุสสติญาณ ระลึกชาติโดยไม่จากัด
เรียกว่ำ มีควำมดีระดับกระพีข้ องควำมดีในพุทธศำสนำ
 มีศลี บริสทุ ธิ ์ กาจัดนิวรณ์ ๕ ได้ ทรงพรหมวิหาร ๔ แล้ว สร้างฌานพิเศษ
มีบุพเพนิวาสานุสสติญาณ จตุปปาตญาณและบรรลุทพิ ยจักษุญาณ รูว้ า่
สัตย์ตายแล้วไปเกิดทีไ่ หน มาจากไหน อาศัยกรรมอะไรเป็ นเหตุ
เรียกว่ำ มีควำมดีระดับแก่น หรือระดับวิชชำสำม ท่ำนเหล่ำนี้ ถำ้
ปฏิบตั ิ เพื่อธรรมเบือ้ งสูง อย่ำงช้ำไม่เกิน ๗ ปี กลำงไม่เกิน ๗ เดือน
เร็วไม่เกิน ๗ วัน
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
16
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
17
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
๑. ฉันทะ มีความพอใจ ตัง้ ใจปฏิบตั ติ ามหลักกัมมัฏฐานแบบต่าง ๆ ทีค่ รู
อาจารย์แนะนาสังสอน
่
๒. วิริยะ มีความเพียรพยายามทาด้วยความบริสทุ ธิ ์ ทีป่ ระกอบด้วยศีล สมาธิ
และปญั ญา
๓. จิตตะ คิดพิจารณาด้วยหลักของเหตุผล หรือหลักไตรลักษณ์ คือ ไม่เทีย่ ง
เป็ นทุกข์ไม่มตี วั ตน
๔. วิมงั สำ ตรึกตรองกัมมัฏฐานทีเ่ ราพิจารณาด้วยเหตุผลและกฎแห่ง
ธรรมชาติ โดยไม่ยดึ ไม่ถอื มัน่
๔ ประกำรนี้ เรียกว่ำ อิทธิบำทธรรม
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
18
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
สมำธิ แปลว่ำ ควำมตัง้ มันแห่
่ งจิต
 สมำธิ หมายถึง การทาจิตใจให้วา่ งจากนิวรณ์ เป็ นจิตทีอ่ าจหาญควรแก่
งาน มี ๒ คือ
๑. อุปจำรสมำธิ แปลว่า สมาธิแบบเฉียดๆ คือสมาธิเกือบจะแน่วแน่
ระงับนิวรณ์ได้ องค์ฌานเริม่ เกิดแต่ยงั ไม่มกี าลังพอ หากจิตยังไม่มนคง
ั่
สมาธิกเ็ สือ่ มได้ จัดเป็ นสมาธิขนั ้ ต่า มีในสามัญชนทัวไป
่
๒. อัปปนำสมำธิ แปลว่า สมาธิทแ่ี น่วแน่ คือ สภาวะจิตของผูท้ าสมถะจน
จิตมันคงในอารมณ์
่
กรรมฐานอันเดียว ถึงขัน้ ”เอกัคคตาจิต” จัดเป็ นสมาธิ
ชัน้ สูง มีในผูไ้ ด้รปู ฌาน ๔ ขึน้ ไป
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
19
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
สมถะ มีความหมาย ๓ อย่างคือ
๑. เครือ่ งสงบระงับของจิต
๒. ทาให้จติ สงบระงับจากนิวรณ์
๓. เครือ่ งระงับของจิตในภายใน
กรรมฐำน ได้แก่อารมณ์ทต่ี งั ้ การงานของจิต คือสิง่ ยึดเหนี่ยวผูกจิตไม่ให้ฟ้ ุงซ่าน
สมถกรรมฐำน หมายถึง อุบายทาใจให้สงบ เป็นการปฏิบตั ดิ ว้ ยบริกรรมใน
อารมณ์กรรมฐาน ๔๐ (กสิณ ๑๐,อสุภะ ๑๐, อนุ สสติ ๑๐, พรหมวิหาร ๔, อา
หาเรปฏิกลู สัญญา ๑, ธาตุววัตถาน ๑, อรูปฌาน ๔)
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
20
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
๑. เจริญสมถะให้เกิดด้วยเจตนาอย่างใดอย่างหนึ่ง
๒. เจริญสมถะด้วยอุบายเครือ่ งสงบระงับของจิตให้มขี น้ึ
๓. เจตนาทีเ่ ป็ นไปในสมถกรรมฐานทัง้ สิน้ ๓ ประการนี้
ชือ่ ว่า สมถภำวนำ
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
21
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
๑. กำยคตำสติ หมายถึง สติมใี นกาย (มูลกรรมฐาน๕ และอาการ ๓๒)
อานวยผลขัน้ สมาธิเฉียด ๆ เหมาะแก่ผมู้ กี ามฉันท์เป็ นเจ้าเรือน
เพราะทาให้ไม่เกิดความกาหนัดรักใคร่ในกามคุณ
๒. เมตตำ หมายถึง ความรักทีไ่ ม่เจือด้วยความใคร่
อานวยผลขัน้ สมาธิอนั แน่วแน่ เหมาะแก่ผมู้ พี ยาบาทเป็ นเจ้าเรือน
เพราะทาให้เป็ นผูไ้ ม่มเี วรภัยต่อกัน
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
22
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
๓. พุทธำนุสสติ หมายถึง การระลึกถึงพุทธคุณ ๙ หรือพุทธคุณ ๓
อานวยผลขัน้ สมาธิเฉียดๆ เหมาะแก่ผมู้ ถี นี มิทธะเป็ นเจ้าเรือน
เพราะทาให้ไม่หดหู่ ท้อแท้ เศร้าซึม
๔. กสิณ หมายถึง เครือ่ งหมายจูงใจ หรือวัตถุสาหรับเพ่ง
อานวยผลขัน้ สมาธิอนั แน่วแน่ เหมาะแก่ผมู้ อี ุทธัจจกุกกุจจะเป็ นเจ้าเรือน
เพราะทาให้จติ จดจ่อและอดทนต่อการงานทีท่ า
๕. จตุธำตุววัตถำน หมายถึง กาหนดธาตุ ๔ ตามความเป็ นจริง
อานวยผลขัน้ เฉียดๆ เหมาะแก่ผมู้ วี จิ กิ จิ ฉาเป็ นเจ้าเรือน
เพราะทาให้คลายความสงสัย ไม่หลงผิดในสภาพทีเ่ ป็ นจริงของธรรมชาติ
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
23
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
พระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย พระพุทธเจ้าตรัสบริขา
สมาธิ ๗ ประการได้แก่
๑. สัมมำทิฏฐิ
๒. สัมมำสังกัปปะ
๓. สัมมำวำจำ
๔. สัมมำกัมมันตะ
๕. สัมมำอำชีวะ
๖. สัมมำวำยำมะ
๗. สัมมำสติ
สภาวะจิตทีม่ อี ารมณ์เดียว มีองค์ ๗ ประการนี้แวดล้อม เรียกว่า อริยสัมมำสมำธิ
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
24
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
๑. กสิณ ๑๐
๒. อสุภะ ๑๐
๓. อนุสสติ ๑๐
๔. พรหมวิหำร ๔
๕. อำหำเรปฏิกลู สัญญำ ๑
๖. จตุธำตุววัตถำน ๑
๗. อรูป ๔
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
25
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
๑. กสิณ ๑๐
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
26
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
๑. ปฐวีกสิณ เพ่งดินเป็ นอารมณ์
๒. อำโปกสิณ เพ่งน้ าเป็ นอารมณ์
๓. เตโชกสิณ เพ่งไฟเป็ นอารมณ์
๔. วำโยกสิณ เพ่งลมเป็ นอารมณ์
๕. นี ลกสิณ เพ่งสีเขียวเป็ นอารมณ์
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
27
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
๖. ปี ตกสิณ เพ่งสีเหลืองเป็ นอารมณ์
๗. โลหิตกสิณ เพ่งสีแดงเป็ นอารมณ์
๘. โอทำตกสิณ เพ่งสีขาวเป็ นอารมณ์
๙. อำโลกกสิณ เพ่งแสงสว่างเป็ นอารมณ์
๑๐. อำกำสกสิณ เพ่งอากาศเป็ นอารมณ์
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
28
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
๒. อสุภะ ๑๐
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
29
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
 ตามความเป็ นจริงร่างกายมนุ ษย์น้ี ถูกเครือ่ งประดับ เสือ้ ผ้า ห่อหุม้
ปิดบังไว้ แต่เบือ้ งหลังสิง่ เหล่านัน้ ในร่างกายมนุษย์ประกอบด้วย
กระดูก ๓๐๐ ท่อนเศษเป็ นโครงร่าง เชือ่ มด้วยข้อต่อ ๑๘๐ แห่ง
มีเอ็น ๙๐๐ เส้นผูกยึดไว้ฉาบด้วยชิน้ เนื้อ ๙๐๐ ชิน้ ห่อหุม้ ด้วยหนัง
สดบาง ๆ ปิดไว้ดว้ ยหนังกาพร้า มีชอ่ งทะลุปรุ มีมนั ไหลซึมออกทัง้
ข้างบนและซึมลงข้างล่างเป็ นนิตย์ โดยทางปากแผลทัง้ ๙ แห่ง
และมีเหงือ่ อันสกปรกไหลออกจากขุมขน ๙๙,๐๐๐ ขุม
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
30
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
๑.อสุภะ ซำกศพที่อยู่ในสภำพต่ำง ๆ ๑๐
พิจำรณำซำกศพ
ทีเ่ น่าพองขึน้ โดยลาดับ
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
31
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
๒.วินีลกอสุภะ ร่ำงผีอนั มีสีต่ำง ๆ
พิจำรณำซำกศพ
ทีม่ สี เี ขียวเป็ นอารมณ์ สีแดง ขาว,
เขียว, เหลืองเจือกัน
เพือ่ ให้เกิดความเบื่อหน่ายคลายกาหนัด
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
32
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
๓.วิปพุ พกอสุภะ ซำกศพที่มีน้ำเหลืองไหล
พิจำรณำซำกศพ
ทีม่ นี ้าเหลืองไหล ออกเป็ นอารมณ์
เพือ่ คลายกาหนัดยินดีในรูป
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
33
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
๔. วิฉินทกอสุภะ ซำกศพที่ขำดเป็ นท่อน ๆ
พิจำรณำซำกศพ
ทีข่ าดกลางตัว กระจัดกระจาย
เป็ นท่อน ๆ
เพือ่ คลายกาหนัดยินดีในรูป
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
34
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
๕. วิกขำยิตตกอสุภะ ซำกศพที่สตั ย์กดั กิน
พิจำรณำซำกศพ
ทีส่ ตั ว์ต่าง ๆ แย่งกันกัดกิน
เป็ นอารมณ์
เพือ่ ให้เกิดความเบื่อหน่ายคลาย
กาหนัดในกามคุณ
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสุธวี รสาร (ดร.)
35
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
๖. วิกขิตตกอสุภะ ซำกศพที่เขำทิ้งไว้อย่ำงเรี่ยรำย
พิจำรณำซำกศพ
ทีม่ มี อื เท้า ศีรษะขาด เป็ นอารมณ์
เพือ่ ให้เกิดความเบื่อหน่ายคลาย
กาหนัด
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
36
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
๗. หตวิกขิตตกอสุภะ ซำกศพที่เกิดจำกศรัตรู
พิจำรณำซำกศพ
ทีถ่ กู ประการด้วยศัตราวุธ
มีเลือดไหลอาบอยูเ่ ป็ นอารมณ์
เพือ่ ให้เกิดความเบื่อหน่ายคลายกาหนัด
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
37
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
๘. โลหิตกอสุภะ ซำกศพที่มีเลือดไหลอำบอยู่
พิจำรณำซำกศพ
ทีม่ เี ลือดไหลอาบอยูเ่ ป็ นอารมณ์
เพือ่ ให้เกิดความเบื่อหน่ายคลาย
กาหนัดในรูปกาย ไม่ให้หลงใหล
ในกามคุณ ๕
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
38
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
๙. ปุฬวุ กะ ซำกศพที่เน่ ำเฟะคลำคลำ่ ด้วยตัวหนอน
พิจำรณำซำกศพ
ซากศพทีเ่ น่าเฟะคลาคล่า
ด้วยตัวหนอน เป็ นอารมณ์
เพือ่ ให้เกิดความเบื่อหน่ายคลาย
กาหนัดในรูปกายทัง้ ปวง
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
39
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
๑๐. อัฏฐิกอสุภะ ซำกศพที่เห็นแต่โครงกระดูก
พิจำรณำซำกศพ
ทีเ่ ห็นกระดูกทุกส่วนจนเหลือ
ชิน้ เดียวเป็ นอารมณ์
เพือ่ ให้เกิดความเบื่อหน่ายคลาย
กาหนัดยินดีในรูปนามทัง้ ปวง
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
40
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
สรุปอสุภกรรมฐำน
การพิจารณาสิง่ เหล่านี้ ให้เห็นเป็ นของไม่งาม ไม่
น่าชืน่ ชม เป็ นของน่ารังเกียจ โสโครก ไม่ควรหลงใหลใน
ร่างกายทีเ่ ป็ นของไม่เทีย่ ง เป็ นทุกข์ ไม่ใช่ตวั ตน ไม่อยูใ่ น
อานาจ ไม่เป็ นไปตามปรารถนาได้
ควรปล่อยวางเพือ่ ไม่ให้ยดึ มัน่ ถือมัน่ เพราะมีความ
เสือ่ มสิน้ วิบตั แิ ปรปรวนเป็ นธรรมดา
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
41
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
๓.อนุสสติ๑๐
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
42
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
๑. พุทธำนุสสติ ระลึกถึงพระคุณของพระพุทธเจ้า
๒. ธัมมำนุสสติ ระลึกถึงคุณของพระธรรม
๓. สังฆำนุสสติ ระลึกถึงคุณของพระสงฆ์
๔. สีลำนุสสติ ระลึกถึงศีลของตน ว่ามีขอ้ ใดขาดหรือด่างพร้อยบ้าง ถ้าพบข้อที่
ขาดหรือด่างพร้อยก็ผกู ใจไว้วา่ จะสารวมระวังต่อไป เมือ่ เห็นว่าศีลของตน
บริสทุ ธิ์ผุดผ่อง ก็พงึ ปิตยิ นิ ดี
๕. จำคำนุสสติ ระลึกถึงทานทีต่ นได้บริจาคแล้ว ให้เกิดความ อิม่ เอิบใจ นึกว่าเป็ น
โชคของเราแล้วทีไ่ ด้บริจาคทาน อันเป็ นการขัดเกลากิเลส ด้วยการบาเพ็ญ
ประโยชน์แก่ผอู้ ่นื เมือ่ ระลึกได้อย่างนี้จนจิตเกิดความปีติ
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
43
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
๖. เทวตำนุสสติ ได้แก่การระลึกถึงคุณธรรมทีท่ าให้คนเป็ นเทพ ได้แก่ศรัทธา ศีล
การฟงั ธรรม ทานและปญั ญา ระลึกว่าเทพทัง้ หลายได้ บาเพ็ญธรรมเหล่านี้มาจึง
ได้ความเป็ นเทพ ตัวเราเองก็มคี ุณธรรมเหล่านี้แล้ว ระลึกอย่างนี้แล้วย่อมเกิด
ความปีติ
๗. มรณัสสติ ได้แก่การนึกถึงความตาย ว่าเราเองจักต้องตาย เมือ่ ระลึกถึงความ
ตายย่อมทาให้จติ ได้ความสังเวช สลดใจ ตื่นจากความมัวเมา
๘. กำยคตำสติ ได้แก่การระลึกถึงอวัยวะร่างกาย ตัง้ แต่ผม ขน เล็บ ฟนั หนัง ฯลฯ
จนถึงอุจจาระปสั สาวะ ให้เห็นว่าร่างกายนี้เป็ นของปฏิกลู โสโครก น่าเกลียด
ร่างกายของเราฉันใด ร่างกายของคนอื่นก็ฉนั นัน้ เมือ่ ระลึกอย่างนี้จติ จะเกิดเป็ น
ความเบือ่ หน่าย คลายความกาหนัดยินดีในร่างกาย จิตจะถอนตัวจากราคะ
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
44
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
๙. อำนำปำนสติ คือ กาหนดลมหายใจของตนเอง เอาสติบงั คับจิตให้จดจ่ออยู่ทล่ี ม
หายใจ เมือ่ ปฏิบตั ดิ งั นี้ จิตจะถอนตัวจากอารมณ์อย่างอื่น ลดความฟุ้งซ่าน
๑๐. อุปสมำนุสสติ ระลึกถึงคุณของพระนิพพาน ได้แก่ระลึกถึงความดีของพระ
นิพพาน คือความสุขจากความสิน้ กิเลส ว่าเป็ นความสุขทีแ่ ท้จริง เพราะดับเสียได้
ซีง่ ตัณหาอันเป็ นเหตุให้เกิดทุกข์ การนึกถึงคุณพระนิพพานย่อมทาให้จติ ยินดีใน
การละกิเลสและเห็นโทษของการเวียนว่ายตายเกิดในวัฏฏสงสาร
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
45
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
46
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
อำหำเร
ปฏิกลู
สัญญำ ๘
นิวรณ์ ๕
หัวใจ
สมถะ ๕
สมำธิ ๒
อรูป ๔
สมถ
กัมมัฏฐำน
พรหม
วิหำร ๔
นิมิต ๓
อำรมณ์
๑๐
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
ภำวนำ ๓
จริต ๖
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
47
บทที่ ๕ กิจในสมถกัมมัฏฐำน
คำถำมท้ำยบทที่ ๕
๑. นิวรณ์ ๕ หมายถึงอะไร แก้ดว้ ยกัมมัฏฐานอะไร และ
เปรียบเหมือนคนเช่นใดบ้
าง ำเสนอ
จบกำรน
บทที่ ๕ กบิ จตั ในสมถกั
ฏฐำน
๒. เครือ่ งหนุ นเนื่องการปฏิ
หิ มายถึมงมั....มี
เท่าไรอะไรบ้าง
พระครูสธุ ีวรสำร(ดร.)(อุธ ฐิตปญฺโญ)
๓. สมาธิ แปลว่า....หมายถึง....สมถกัมมัฏฐานหมายถึง....
๔.Tel.๐๙๑-๘๖๕๒๗๕๔
กสิณ, อสภะ, อนุสสติ มีความหมายว่าอย่างไร
E mail : [email protected]
Website: http://www.kammatthan.com
14/11/56
การปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน
โดย พระครูสธุ วี รสาร (ดร.)
48