วิปัสสนากรรมฐาน

Download Report

Transcript วิปัสสนากรรมฐาน

วิปัสสนา กรรมฐาน
คืออะไร
วิปัสสนา กรรมฐาน
คือการอัญเชิญสติทถี่ ูกทอดทิง้ ขึน้ มานั่งบัลลังก์ของชีวติ
เมื่อสติขนึ้ มานั่งสู่ บัลลังก์แล้ว
จิตก็จะคลานเข้ ามาหมอบถวายบังคม อยู่เบือ้ งหน้ าสติ
วิปัสสนากรรมฐาน
เป็ นเรื่องของการศึกษาชีวติ เพือ่ จะปลดเปลือ้ งความทุกข์ นานาประการ
ออกเสี ยจากชีวติ เป็ นเรื่องของการค้ นหาความจริงว่ า ชีวติ มันคืออะไรกันแน่
ปกติเราปล่อยให้ ชีวติ ดาเนินไปตามความเคยชินของมัน
ปี แล้วปี เล่า มันมีแต่ ความมืดบอด
วิปัสสนากรรมฐาน
เป็ นเรื่องของการตีปัญหาซับซ้ อนของชีวติ
เป็ นเรื่องของการค้ นหาความจริงของชีวติ ตามทีพ่ ระพุทธเจ้ าได้ ทรงกระทามา
วิปัสสนาฯ เป็ นการเริ่ มต้นในการปลดเปลื้องตัวเรา
ให้พน้ จากความเป็ นทางของความเคยชิน
ในตัวเรานั้น เรามีของดีที่มีคุณค่าอยูแ่ ล้ว คือ สติ สัมปชัญญะ
แต่เรานาออกมาใช้นอ้ ยนัก ทั้งที่เป็ นของมีคุณค่าแก่ชีวิตหาประมาณมิได้
วิปัสสนาฯ เป็ นการระดมเอาสติท้ งั หมดที่มีอยูใ่ นตัวเรา
เอาออกมาใช้ให้เกิดประโยชน์
วิปัสสนากรรมฐาน
คือ การอัญเชิญ สติ ทีถ่ ูกทอดทิง้ ขึน้ มานั่งบัลลังก์ ของชีวติ
เมื่อสติขนึ้ มานั่งสู่ บัลลังก์ แล้ ว จิตก็จะคลานเข้ ามา
หมอบถวายบังคมอยู่เบือ้ งหน้ าสติ สติจะควบคุมจิตมิให้ แส่ ออกไป
คบหาอารมณ์ ต่าง ๆ ภายนอก
ในทีส่ ุ ดจิตก็จะค่ อยคุ้นเคยกับการสงบอยู่กบั อารมณ์ เดียว
เมื่อจิตสงบตั้งมั่นดีแล้ ว การรู้ ตามความจริงก็เป็ นผลตามมา
เมื่อนั้นแหละเราก็จะทราบได้ ว่าความทุกข์ มันมาจากไหน
เราจะสกัดกั้นมันได้ อย่ างไร นั่นแหละผลงานของ สติ ละ
ภายหลังจากได้ ทุ่มเทสติสัมปชัญญะลงไปอย่ างเต็มทีแ่ ล้ว จิตใจของผู้
ปฏิบัติกจ็ ะได้ สัมผัสกับสั จจะแห่ งสภาวธรรมต่ าง ๆ อันผู้ปฏิบัติไม่ เคยเห็น
อย่ างซึ้งใจมาก่อน ผลงานอันมีค่าลา้ เลิศของสติสัมปชัญญะ
จะทาให้ เราเห็นอย่ างแจ้ งชัดว่ า ความทุกข์ ร้อนนานาประการนั้น
มันไหลเข้ ามาสู่ ชีวติ ของเราทางช่ องทวาร ๖ ช่ อง ทวารนั้น
เป็ นที่ต่อและบ่ อเกิดสิ่ งเหล่านีค้ อื ขันธ์ ๕ จิต กิเลส
ช่ องทวาร ๖ นี้ ทางพระพุทธศาสนาท่ านเรียกว่ า อายตนะ
อายตนะมีภายใน ๖ ภายนอก ๖ ดังนี้
อายตนะภายใน มี ตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ
อายตนะภายนอก มี รู ป เสี ยง กลิน่ รส โผฏฐั พพะ (กายถูกต้ องสั มผัส) ธรรมารมณ์
(อารมณ์ ที่เกิดจากใจ) รวม ๑๒ อย่ างนี้
มีหน้ าที่ต่อกันแบบ คู่ คู่ คือ ตาคู่กบั รู ป หูคู่กบั เสี ยง จมูกคู่กบั กลิน่ ลิน้ คู่กบั รส กายคู่กบั
การสั มผัสถูกต้ อง ใจคู่กบั อารมณ์ ที่เกิดจากใจ เมื่ออายตนะคู่ใดคู่ หนึ่ง ต่ อถึงกันเข้ า จิต
ก็จะเกิดขึน้ ณ ที่น้ันเองและจะดับไป ณ ที่น้ันทันที
จึงเห็นได้ ว่า จิตไม่ ใช่ ตัวไม่ ใช่ ตน การที่เราเห็นว่ าจิตเป็ นตัวตนนั้น ก็เพราะว่ าการเกิด
ดับของจิตรวดเร็วมาก การเกิดดับของจิตเป็ นสั นตติ คือ เกิด ดับต่ อเนื่องไม่ ขาดสาย
เราจึงไม่ มีทางทราบได้ ถึงความไม่ มีตวั ตนของจิต
ต่ อเมื่อเราทาการกาหนด รู ป นาม เป็ นอารมณ์ ตามระบบวิปัสสนากรรมฐาน ทาการ
สารวม สติสัมปชัญญะอย่ างมั่นคง จนจิตตั้งมั่นดีแล้ ว เราจึงจะรู้ เห็นการเกิด ดับ ของ
จิต รวมทั้งสภาวธรรมต่ าง ๆ ตามความเป็ นจริง
การที่จิตเกิดทางอายตนะต่าง ๆ นั้น มันเป็ นการทางานร่ วมกันของขันธ์ ๕ เช่น
ตากระทบรู ป เจตสิ กต่าง ๆ ก็เกิดตามมาพร้อมกันคือ เวทนา เสวยอารมณ์ สุ ข ทุกข์ ไม่สุขไม่
ทุกข์ สัญญา จาได้วา่ รู ปอะไร สังขาร ทาหน้าที่ปรุ งแต่ง วิญญาณ รู ้วา่ รู ปนี้ ดี ไม่ดี หรื อเฉย ๆ
ขาดสติกาหนดเป็ นโมหะ อันนี้เองจะบันดาลให้อกุศลกรรมต่าง ๆ เกิดติดตามมา อันความ
ประพฤติชวั่ ร้ายต่าง ๆ ก็จะเกิด ณ ตรงนี้เอง
การปฏิบตั ิวปิ ัสสนากรรมฐาน โดยเอาสติเข้าไปตั้งกากับจิตตามช่องทวารทั้ง ๖
เมื่อปฏิบตั ิได้ผลแก่กล้าแล้ว ก็จะเข้าติดต่ออายตนะทั้ง ๖ คู่น้ นั ไม่ให้ติดต่อกันได้
โดยจะเห็นตามความเป็ นจริ งว่า เมื่อตากระทบรู ปก็จะเห็นว่า สักแต่วา่ เป็ นแค่รูปไม่ใช่ตวั ไม่ใช่ตน บุคคล
เราเข้าไม่ทาให้ความรู ้สึกนึกคิดปรุ งแต่งให้เกิดความพอใจหรื อไม่ พอใจเกิดขึ้น รู ปก็จะดับลงอยู่ ณ ตรง
นั้นเอง ไม่ให้ไหลเข้ามาสู่ภายในจิตใจได้ อกุศลกรรมทั้งหลายก็จะไม่ตามเข้ามา
สติทเี่ กิดขึน้ ขณะปฏิบตั ิวปิ ัสสนากรรมฐานนั้น นอกจากจะคอย สกัดกั้นกิเลส
ไม่ ให้ เข้ ามาทางอายตนะแล้ ว ยังเพ่งเล็งอยู่ทรี่ ูปกับนาม เมือ่ เพ่งอยู่กจ็ ะเห็นความเกิดดับ
ของรูปนาม นั้นจักนาไปสู่ การเห็นพระไตรลักษณ์ คือ
ความไม่ เทีย่ ง ความเป็ นทุกข์ ความไม่ มตี ัวตนของ สั งขารหรืออัตภาพอย่ างแจ่ มแจ้ ง
การปฏิบัติวปิ ัสสนา กรรมฐานนั้น จะมีผลน้ อยมากเพียงใด
อยู่ที่หลักใหญ่ ๓ ประการ
๑. อาตาปี ทาความเพียรเผากิเลสให้เร่ าร้อน
๒. สติมา มีสติ
๓. สั มปชาโน มีสมั ปชัญญะอยูก่ บั รู ปนามตลอดเวลาเป็ นหลักสาคัญ
นอกจากนั้น ผู้ปฏิบัตติ ้ องมีศรัทธา ความเชื่อ
ว่ าการปฏิบัตเิ ช่ นนีม้ ีผลจริง ความมีศรัทธาความเชื่อว่ า
การปฏิบัติเช่ นนีม้ ีผลจริง ความมีศรัทธานี้
เปรียบประดุจเมล็ดพืชทีส่ มบูรณ์
พร้ อมทีจ่ ะงอกงามได้ ทนั ทีทนี่ าไปปลูก ความเพียร ประดุจนา้ ที่
พรมลงไปที่เมล็ดพืชนั้น เมื่อเมล็ดพืชให้ นา้ พรมลงไป
ก็จะงอกงามสมบูรณ์ ขนึ้ ทันที เพราะฉะนั้น ผู้ปฏิบัติ
จะได้ ผลมากน้ อยเพียงใดย่ อมขึน้ อยู่กบั สิ่ งเหล่ านีด้ ้ วย
การปฏิบัติ ผู้ปฏิบัตจิ ะต้ องเปรียบเทียบดู
จิตใจของเราในระหว่ าง ๒ วาระ ว่ า ก่ อนทีย่ งั ไม่ ปฏิบัติและหลัง
การปฏิบัตแิ ล้ ว วิเคราะห์ ตัวเองว่ ามีความแตกต่ างกันประการใด
หมายเหตุ เรื่องของวิปัสสนากรรมฐานที่เขียนขึน้ ดังต่ อไปนี้ จะยึดถือเป็ น
ตาราไม่ ได้ ผู้เขียนเขียนขึน้ เป็ นแนวปฏิบัติเท่ านั้น โดยพยายามเขียนให้
ง่ ายแก่การศึกษา และปฏิบัติมากทีส่ ุ ดเท่ าทีจ่ ะกระทาได้ เท่ านั้นเอง
วิปัสสนากรรมฐานธุระ
ในพระศาสนามี ๒ อย่ าง คือ
๑. คันถธุระ
๒. วิปัสสนาธุระ
คันถธุระ ได้แก่ การศึกษาเล่าเรี ยนให้รู้เรื่ องพระศาสนา และหลักศีลธรรม
วิปัสสนาธุระ ได้แก่ ธุระหรื องานอย่างสูงในพระศาสนา ซึ่งเป็ นงานที่จะ
ช่วยให้ผนู ้ บั ถือพระพุทธศาสนาได้รู้จกั ดับทุกข์ หรื อเปลื้องทุกข์ออกจาก
ตนได้มากน้อยตามควรแก่การปฏิบตั ิ ทางนี้ทางเดียวเท่านั้นที่จะทาให้คน
พ้นทุกข์ต้ งั แต่ทุกข์เล็กจนถึงทุกข์ใหญ่ เช่น การเกิด แก่ เจ็บตาย และเป็ น
ทางปฏิบตั ิที่มีอยูใ่ นศาสนาของพระพุทธเจ้าเท่านั้น
วิปัสสนาธุระ คือ ส่ วนมากเราเรี ยกกันว่า วิปัสสนากรรมฐานนัน่ เอง
เมื่อกล่าวถึงกรรมฐาน
ขอให้ผปู ้ ฏิบตั ิแยกกรรมฐานออกเป็ น ๒ ประเภทเสี ยก่อน
การปฏิบตั ิจึงจะไม่ปะปนกัน
กรรมฐานมี ๒ ประเภท คือ
สมถกรรมฐาน กรรมฐานชนิดนี้ เป็ นอุบายให้ใจสงบ คือ ใจที่อบรม
ในทางสมถะแล้วจะเกิดนิ่ง และเกาะอยูก่ บั อารมณ์หนึ่งเพียงอย่างเดียว
อารมณ์ของสมถะกรรมฐานนั้น แบ่งออกเป็ น ๔๐ กอง คือ
กสิ ณ ๑๐ อสุ ภ ๑๐ อนุสติ ๑๐ พรหมวิหาร ๔ อาหาเรปฏิกลู สัญญา ๑ จตุ
ธาตุวฏั ฐาน ๑ อรู ปธรรม ๔
วิปัสสนากรรมฐาน เป็ นอุบายให้เรื องปัญญา คือ เกิดปัญญาเห็นแจ้ง
หมายความว่า เห็นปัจจุบนั เห็นรู ปนาม เห็นพระไตรลักษณ์ และเห็น
มรรค ผล นิพพาน
การเรียนรู้ วปิ ัสสนากรรมฐานนั้นเรียนได้ ๒ อย่ าง คือ
๑. เรียนอันดับ
๒. เรียนสั นโดษ
การเรียนอันดับ คือ การเรี ยนให้รู้จกั ขันธ์ ๕ ว่าได้แก่อะไรบ้าง ย่อให้ส้ นั
ในทางปฏิบตั ิ เหลือเท่าใด ได้แก่ อะไร เกิดที่ไหน เกิดเมื่อไร เมื่อเกิดขึ้นแล้ว
อะไรจะเกิดตามมาอีก จะกาหนดตรงไหนจึงจะถูกขันธ์ ๕ เมื่อกาหนดถูกแล้ว
จะได้ประโยชน์อย่างไรบ้าง เป็ นต้น นอกจากนี้กต็ อ้ งเรี ยนให้รู้เรื่ องในอายตนะ
๑๒ ธาตุ ๑๘ อินทรี ย ์ ๒๒ อริ ยสัจ ๔ ปฏิจจสมุปบาท ๑๒ โดยละเอียดเสี ยก่อน
เรี ยกว่า เรี ยนภาคปริ ยตั ิ วิปัสสนาภูมินนั่ เอง แล้วจึงจะลงมือปฏิบตั ิได้
การเรียนสั นโดษ คือ การเรี ยนย่อ ๆ สั้น ๆ สอนเฉพาะที่ตอ้ งปฏิบตั ิเท่านั้น
เรี ยนชัว่ โมงนี้กป็ ฏิบตั ิชวั่ โมงนี้เลย เช่น สอนการเดินจงกรม สอนวิธีนงั่
กาหนด สอนวิธีกาหนดเวทนา สอนวิธีกาหนดจิต แล้วลงมือปฏิบตั ิเลย
หลักใหญ่ ในการปฏิบัตวิ ปิ ัสสนาฯ มีหลักอยู่ ๓ ประการ คือ
อาตาปี ทาความเพียรเผากิเลสให้เร่ าร้อน
สติมา มีสติ คือระลึกอยูเ่ สมอว่าขณะนี้เราทาอะไร
สั มปชาโน มีสัมปชัญญะ คือขณะนีท้ าอะไรอยู่น้ันต้ องรู้ ตัวอยู่ตลอดเวลา
ที่มา : ข้อมูลจากเว็บไซต์พระธรรมสิ งหบุราจารย์
(หลวงพ่อจรัญ ฐิตธมฺ โม) วัดอัมพวัน จังหวัดสิ งห์บุรี