การจัดการเรียนการสอนแบบ PBL

Download Report

Transcript การจัดการเรียนการสอนแบบ PBL

การเรียนรู ้แบบโครงงาน (Project Based
Learning)
เป็ นการส่งเสริมการเรียนรู ้ตลอดชีวต
ิ
สอดคล้องกับหลักทฤษฎีการเรียนรู ้
constructivism , contructionism และการ
เรียนรู ้แบบร่วมมือ (cooperative learning) ซึง่
้ั
่ มจากการแสวงหา
่
มีขนตอนการเรี
ยนรู ้ทีเริ
ความรู ้ กระบวนการคิด และทักษะในการ
แก้ปัญหาไว้ในรู ปแบบการเรียนรู ้
้
ภาพที่ 1 หลักพืนฐานของการเรี
ยนรู ้
่ าวถึงว่า
ทฤษฎี constructionism มีสาระสาคัญทีกล่
1) ความรู ้ไม่ใช่เกิดจากผู ส
้ อนเพียงอย่างเดียว แต่สามารถ
้
สร ้างขึนโดยผู
เ้ รียนเองได้
้
่ เ้ รียนลงมือกระทา
2) การเรียนรู ้จะเกิดขึนได้
ดก
ี ต
็ อ
่ เมือผู
ด้วยตนเอง (Learning by Doing)
่
3) สามารถเก็บข้อมู ลของสิงแวดล้
อมเข้าไปเป็ น
โครงสร ้างของสมองตนเอง
่
4) สามารถเชือมโยงความรู
้เก่าและความรู ้ใหม่ สร ้างเป็ น
องค ์ความรู ้ใหม่ขนมา
ึ้
่ งหมดจะอยู
้
5) ซึงทั
่ภายใต้ประสบการณ์และบรรยากาศที่
้
เอืออานวยต่
อการเรียนรู ้ โดยยึดหลักคิดทีว่่ า “การเรียนรู ้ที่
่ แก่ผูส
ดีไม่ได้มาจากการหาวิธก
ี ารสอนทีดี
้ อน แต่มาจาก
ภาพที่ 2 Project Based Learning to V-Project Based
ปิ รามิดแห่งการเรียนรู ้ (Learning Pyramid)
เป็ นการนาเสนอการเรียนรู ้ของบุคคล แสดงให ้เห็นร ้อยละของ
่ างกันแต่ละอย่างโดยกิจกรรม ที่
การจัดกิจกรรม
ทีต่
่ ้การเรียนรู ้ต่างกัน
่ ได
ต่างกันจะทาให ้เราจดจาสิงที
1 การเรียนในห ้องเรียน (Lecture) นั่งฟังบรรยาย จะจาได ้
เพียง 5%
่ นเป็
้ น
2 การอ่านด ้วยตัวเอง (Reading) จะจาได ้เพิมขึ
10%
3 การฟังและได ้เห็น (Audiovisual) เช่น การดูโทรทัศน์
ฟังวิทยุ จาได ้ 20%
4 การได ้เห็นตัวอย่าง (Demonstration) จะช่วยให ้จาได ้
30%
่
ภาพที่ 3 โครงสร ้างของ Project based learning
กลยุทธการเรียนการสอนแบบ
โครงงานเป็ นฐาน
ภาพที่ 4 Strategy of Project based learning
ตัวอย่างการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานเป็ น
่ าเสนอโคร
1. แบ่งกลุม่ ย่อยๆ 2-3 คน ร่วมกันค ้นคว ้าหาข ้อมูล เพือน
่
่ วยในการสร ้าง
การแบ่งกลุ่มย่อยมีจุดประสงค ์หลักในการแลกเปลียนและปร
ับความคิด เพือช่
้
(Construct) องค ์ความรู ้ใหม่ให้เกิดขึนการแบ่
งกลุ่มมีหลายวิธ ี เช่น ให้เลือกกลุ่มกันเอง ข้อดีของ
้ อ ถ้าเป็ นกลุ่มทีขยั
่ น ก็จะช่วยกันทางาน แต่ถา้ เป็ นกลุ่มทีขี
่ เกี
้ ยจจะเกียงกั
่
วิธน
ี ี คื
นทางานส่งผลให้
งานออกมาไม่มค
ี ุณภาพ แต่หากใช้วธ
ิ ี ผู ส
้ อนเป็ นผู เ้ ลือกให้ จะทาให้ผูเ้ รียน ต้องปร ับให้เข้ากบ
ั
่
่
้ั
่
เพือนที
อาจจะไม่
สนิ ทนักในครงแรก
และมีความจาเป็ นต้องปร ับให้เข้ากบ
ั เพือนร่
วมกลุ่มให้ได้
่
่
่ เ้ รียนจะต้อง
เพือให้
สามารถจด
ั ทาโครงงานส่งผู ส
้ อนได้สาเร็จ ซึงสอดคล้
องกับการทางานจริง ทีผู
ตัวอย่างการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานเป็ น
2.ผู ส
้ อนบอกวัตถุประสงค ์/ข้อกาหนดการทาโครงง
้
้
้
้
่ ง เป็ นการ
ขันตอนนี
เป็ นขันตอนส
าคัญขันตอนหนึ
บอกให้ผูเ้ รียน มีการเตรียมความพร ้อมและรู ้จักหาวิธก
ี าร
หาความรู ้ด้วยตนเอง เช่น เอกสาร ตารา อินเตอร ์เน็ ต
เป็ นต้น ผู ส
้ อนจะต้องเตรียมความพร ้อมทางด้าน
สาธารณู ปโภค ให้แก่ผูเ้ รียนอย่างพอเพียง เช่น ห้อง
ตัวอย่างการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานเป็ น
3. การกาหนดหัวข้อ
่ ส
หลังจากทีผู
้ อนบอกขอบเขต เงื่อนไข และ
เกณฑ ์การประเมินผล กับผู เ้ รียนและผู เ้ รียน
้ งเริม
่
ร ับทราบหมดทุกกลุ่มแล้ว จากนันจึ
ดาเนิ นการกาหนดหัวข้อให้ก ับผู เ้ รียนแต่ละ
ตัวอย่างการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานเป็ น
4. การดาเนิ นการสร ้างโครงงาน
่
้
หลังจากทีสอน
ให ้ผูเ้ รียนรู ้จักการหาข ้อมูลแล ้ว ขันตอนต่
อไป ผูส้ อนจะเป็ นเพียงผูอ้ านวย
่ อ
ความสะดวกในการดาเนิ นการจัดหาอุปกรณ์ สาธารณู ปโภค ทีจ่ าเป็ นเท่านั้น ทีเหลื
้
้ จะช่วยให ้ผูเ้ รียน
ผูเ้ รียนจะต ้องเป็ นผูอ้ อกแบบและวางแผนการดาเนิ นโครงการเอง ขันตอนนี
่
รู ้จักการแลกเปลียนความรู
้กันเองภายในกลุม
่ หรือจะนอกกลุม
่ ก็ได ้ จากนั้นจึงนามา
ออกแบบ และดาเนิ นการจัดทาต่อไป
ตัวอย่างการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานเป็ น
5.การนาเสนอผลงาน
้
สรุป ขันตอนการน
าหลักการใช ้โครงงานเป็ นฐาน
้กับผูเ้ รียน
้ ่ 1 การเตรียมความพร ้อมไปใช
ขันที
ผูส้ อนจัดเตรียมขอบเขตของโครงการ
แหล่งข ้อมูล และคาถามนา โดยสามารถนาเสนอได ้ในหลากหลายรูปแบบเช่น
text, video clip, หรือ online news
้ ่ 2 ศึกษาความเป็ นไปได ้
ขันที
ผูเ้ รียนศึกษาขอบเขตโครงการ แหล่งข ้อมูล
่
ตลอดจนค ้นหาแหล่งข ้อมูลจากเว็บไซต ์ต่างๆ และแลกเปลียนข
้อมูลกับสมาชิก
่
่ ส้ อนได ้ตังไว
้ ้ ผ่านเครืองมื
่ อ
ในกลุม
่ เพือพยายามตอบค
าถามนาทีผู
่
ติดต่อสือสารแบบไม่
ประสานเวลาต่างๆ เช่น group discussion board, wiki
่ อติดต่อสือสารแบบประสานเวลาต่
่
หรือเครืองมื
างๆ เช่น chat, web
conference แล ้วศึกษาโครงงานอย่างคร่าวๆ ถึงความเป็ นไปได ้ในการจัดทา
โครงงาน
้ ่ 3กาหนดหัวข ้อ ปรึกษาภายในกลุม
่ าเป็ นโครงงาน
ขันที
่ กาหนดหัวข ้อทีจะท
สรุป การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานเป็ นฐ
้ ่ 4 การดาเนิ นงานสร ้างชินงานและทดสอบ
้
ขันที
สมาชิกใน
่
กลุ่มแบ่งงานและภาระความร ับผิดชอบของแต่ละคนเพือสร
้าง
้
้ ง
ชินงาน
โดยใช้ความรู ้ในการจด
ั ทาโครงการ จากนันจึ
่
แลกเปลียนประสบการณ์
และความรู ้ใหม่กบ
ั สมาชิกในกลุ่มซึง่
้ั
สามารถทาได้ทงแบบประสานเวลาและไม่
ประสานเวลาตาม
ความสะดวกของสมาชิกในกลุ่ม โดยมีผูส
้ อนคอยให้คาปรึกษา
หลังจากดาเนิ นการสร ้างเสร็จเรียบร ้อยแล้ว ต้องมีการทดสอบ
่
่ ้างขึนนั
้ น
้
เพือวัดประสิ
ทธิภาพของงานทีสร
้ ่ 5นาเสนอผลงาน ผู เ้ รียนจัดทารายงานและเตรียมการ
ขันที
่
นาเสนอทีแสดงให้
เห็นถึงผลของกิจกรรมของโครงการ
่
(ผลงานและกระบวนการ)แล้วนาเสนอผ่านเครืองมื
อออนไลน์
ต่างๆ ไม่วา
่ จะเป็ น video clip, online text, webpage,
จบการนาเสนอ