R***************************I***J***K***L***M***N***O***P***Q

Download Report

Transcript R***************************I***J***K***L***M***N***O***P***Q

หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวรรณคดี
เปรี
บเทียบ
เนื้ อยหา
มีเนื้ อหารายวิชาที่ทนั สมัย หลากหลาย และที่เป็ นการบูรณาการองค์ความรู เ้ กี่ยวกับ
วรรณคดีศึกษาเข้ากับการศึกษาวัฒนธรรมทัง้ ในระดับสากลและพื้นถิ่น
เป็ นการศึกษาที่มีลกั ษณะเป็ นสหวิทยาการ บูรณาการศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ ยวข้อง เช่ น
ประวัติศาสตร์ รัฐศาสตร์ มานุ ษยวิทยา นิ เทศศาสตร์ วัฒนธรรมศึกษา สตรี ศึกษา
จิตวิทยา ฯ
เนื้ อหารายวิชาคลอบคลุมหลายบริบทวัฒนธรรม เพื่อทาความเข้าใจความสัมพันธ์
ระหว่างบริบทวัฒนธรรมต่างๆ
การศึกษาเน้นการทาวิทยานิ พนธ์ ส่งเสริมให้นิสติ ทางานตามความสนใจอย่ างเต็มที่
ด้วยการค้นคว้า วิเคราะห์ วิจารณ์และวิจยั และมีโอกาสทางานอย่างใกล้ชิดกับอาจารย์
ที่ปรึกษาวิทยานิ พนธ์
ตัวอย่างรายวิชา
2210624 สัมมนาวรรณคดีกบั สิทธิมนุษยชน
ความส าคัญของวรรณคดีใ นฐานะสื่อที่นาเสนอประเด็นสิท ธิม นุ ษยชนทัง้ ในระดับ ภูมิภาคและระดับ โลก บทบ าทของ
นักเขียนในการสร้างจิตสานึกและรณรงค์เรียกร้องสิทธิมนุ ษยชนผ่านวรรณกรรม การวิเคราะห์วจิ ารณ์งานวรรณกรรมคัด
สรร
2210710 วรรณคดีแนวหลังอาณานิคม
ความสัมพันธ์ระหว่างจักรวรรดินิยมกับวรรณคดีแนวหลังอาณานิคม บทบาทของวรรณกรรมในการสร้างอัตลักษณ์ ชาติ
และอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม ทฤษฎีแนวหลังอาณานิคมและการวิจารณ์วรรณคดี
2210717 สัมมนาวรรณกรรมสตรี
ขบวนการเรียกร้องสิทธิสตรีและอิทธิพลทีม่ ตี ่อวรรณกรรมสตรีในวัฒนธรรมตะวันตก แนวคิดสตรีนิยมและอิทธิพลทีม่ ตี ่อ
วรรณกรรมสตรีในวัฒนธรรมตะวันออก วรรณกรรมสตรีคดั สรรและผูเ้ ขียน
2210720 สัมมนาทฤษฎีวรรณคดี
ทฤษฎีวรรณคดีทส่ี าคัญ วิเคราะห์ทฤษฎีวรรณคดีทน่ี ่าสนใจและนามาประยุกต์ใช้ในการวิจารณ์วรรณกรรม
2210724 สัมมนานวนิยาย
พัฒนาการเกีย่ วกับแนวคิดและกลวิธขี องนวนิยายทัง้ ตะวันออกและตะวันตก
2210762 สัมมนาวรรณคดีเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
สัมมนาวรรณกรรมของประเทศต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยให้ความสาคัญกับแนวคิด
เนื้อหา รูปแบบและอิทธิพล วิเคราะห์วรรณกรรมเอกเฉพาะเรื่อง
นิ สติ
 นิ สติ มาจากสาขาวิชาที่หลากหลายเช่น วิทยาศาสตร์ นิ เทศศาสตร์ วรรณคดีศึกษา
ประวัตศิ าสตร์ฯ กระตุน้ ให้เกิดความหลากหลายในการแลกเปลี่ยนความคิด
 รายวิชาที่ทนั สมัยเปิ ดโอกาสให้นิสติ ได้เข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนกับมหาวิทยาลัย
หรือหน่ วยงานต่างประเทศที่มีความสนใจที่สอดคล้องกัน นับเป็ นการเปิ ดโลกทัศน์
ทางวิชาการและประสบการณ์ชีวติ ที่มีค่า
 นิ สติ สามารถพัฒนาศักยภาพในการวิจยั ใช้ความรูแ้ ละความเชี่ยวชาญที่ได้จาก
ประสบการณ์การค้นคว้าวิจยั เพือ่ ประกอบอาชีพได้หลากหลาย
 มีความเข้าใจวัฒนธรรมและสังคม มีความรับผิดชอบและคุณธรรมต่อวัฒนธรรมและ
สังคม
ตัวอย่างวิทยานิ พนธ์
 ไพโรจน์ นุ ชพะเนียด. พัฒนาการของผู้หญิงในบริบทของความหลากหลายทางวัฒนธรรม (2549)
 นารีมา แสงวิมาน. นวนิยายของนะญีบ มะห์ฟซ
ู : ผลกระทบของจักรวรรดินิยมที่มีต่อการเมืองและสังคมอียิปต์
(2548)
 วิศษ
ิ ย์ ปิ่นทองวิชยั กุล. เดอะ ไลท์ ออฟ เอเชีย ของเซอร์ เอ็ดวิน อาร์โนลด์: ภูมิปัญญาตะวันออกในโลกตะวันตก
(2548)
 นิพนธ์ ศศิภานุ เดช. ขุนเขาแห่งจิตวิญญาณ ของเกาสิงเจี้ยน: ความสัมพันธ์ระหว่างตัวบทและทฤษฎีวรรณคดีของ
ผู้ประพันธ์ (2546)
 อุมารินทร์ ตุลารักษ์. บททาขวัญเรือและพิธีทาขวัญเรือของชาวไทยภาคใต้ : การสร้างสรรค์และการถ่ายทอด
(2544, ได้รบั รางวัลผลงานวิจยั ดี ประจาปี 2545)
 ศิรพ
ิ ร ศรีวรกานต์. การศึกษาเปรียบเทียบทิลล์ ออยเลนชะปี เกลกับศรีธนญชัยในฐานะนิทานมุขตลก (2542,
ตีพมิ พ์ 2544, 2548 โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)