paka - สมาคมแม่บ้านสาธารณสุข

Download Report

Transcript paka - สมาคมแม่บ้านสาธารณสุข

การใช้ หลักศาสนา
ฝ่ าวิกฤติชีวติ
พญ.ผกา วราชิต
นายกสมาคมแม่ บ้านสาธารณสุ ข
เงิน
สุ ขภาพ
งาน
ปัจจัย ๔
วิกฤติ
ครอบครัว
ญาติมิตร
สั งคม
งาน
• อิทธิบาท ๔ :- ฉันทะ วิริยะ
จิตตะ วิมังสา
• สั มมาอาชีพ :- กายสุจริต
วจีสุจริต
เงิน
 รู้ จกั หา
(ขยันหาทรัพย์ โดยสุ จริต)
 รู้ จกั ใช้
(ใช้ ๑ ส่ วน, งาน ๒ ส่ วน, ออม ๑ ส่ วน)
 รู้ จกั ออม (ภูมิคุ้มกัน)
 รู้ จกั พอ
(จ่ ายน้ อยกว่ ารับ, ไม่ เป็ นหนี)้
 เว้ นอบายมุข ๖ (ทางเสื่ อมแห่ งโภคทรัพย์ :- ดืม่ นา้ เมา,
เทีย่ วกลางคืน, ดูการละเล่ น, เล่ น
การพนัน, คบมิตรชั่ว, เกียจคร้ าน)
 อาหาร
 เครื่องนุ่งห่ ม
 ทีอ่ ยู่อาศัย
 ยารักษาโรค
ปัจจัย๔
เพือ่ บาบัดทุกขเวทนาเก่ า และไม่ สร้ าง
ทุกขเวทนาใหม่
เพือ่ ป้องกันหนาวร้ อน และปกปิ ดความ
ละอาย
เพือ่ กันอันตรายจากแดดลม อากาศ
สั ตว์ เลือ้ ยคลานฯ
เพือ่ รักษาธาตุขนั ธ์ ให้ พออยู่ได้
สุขของคฤหัสถ์
 สุ ข เกิดแต่ ความมีทรัพย์
 สุ ข เกิดแต่ การจ่ ายทรัพย์ บริโภค
 สุ ข เกิดแต่ ความไม่ ต้องเป็ นหนี้
 สุ ข เกิดแต่ ประกอบการงานที่
ปราศจากโทษ
สั งคม
ญาติมิตร
 เว้ นกายทุจริต (ฆ่ าสั ตว์ , ลักทรัพย์ , ผิดกาม)
 เว้ นวจีทุจริต (พูดปด, หยาบคาย, ส่ อเสี ยด, เพ้ อเจ้ อ)
 เว้ นอคติ๔ (ลาเอียงเพราะรัก, ชัง, เขลา, กลัว)
** วาจาสุภาษิต :- พูดถูกกาล, สัจจะ, อ่อนหวาน, เป็ น
ประโยชน์ , ด้ วยเมตตา).................................................
สั งคหวัตถุ ๔
 ทาน
 ปิ ยวาจา
 อัตถจริยา
 สมานัตตตา
ธรรมเพือ่ ความสุขในปัจจุบัน
 ถึงพร้ อมด้ วยความหมั่น
 ถึงพร้ อมด้ วยการรักษา
 กัลยณมิตตตา (คบหาผู้มศี รัทธา, ศีล,
จาคะ, ปัญญา)
 สมชีวติ (เลีย้ งชีวติ ตามสมควรแก่ ทรัพย์ )
โลกธรรม ๘
ลาภ
ยศ
สรรเสริญ
สุ ข (กามสุ ข)
เสื่ อมลาภ
เสื่ อมยศ
นินทา
ทุกข์ (ไม่ สบายกาย, ไม่ สบายใจ
โลกธรรม ๘ (ต่ อ)
อยากได้
ทุกข์
ไม่ อยากเจอ
ไม่ ได้
ทุกข์
ประสบ
 สู ญเสี ย
วิกฤติ
ไม่ เทีย่ ง ไม่ ควรยินดี ยินร้ าย
ไม่ รู้ = อวิชชา
สั จจธรรม
ธรรมชาติของชีวติ
ไม่ ยอมรับสิ่ งที่เกิดขึน้
(ฝื นความเป็ นจริง)
ทุกข์ ใจ/วิกฤติ
ธรรมชาติของชีวติ
 อริยสั จ ๔
 ไตรลักษณ์
 ปฏิจจสมุปบาท (ความเป็ นเหตุ
ปัจจัย)
อดีตเหตุ
ปฏิจจ.
วัฏฏสงสาร
เชื่อ / รู้ สัจจธรรม / ธรรมชาติของชีวติ
* ยอมรับสิ่งที่เกิดขึน้ (วิบาก)
ในปัจจุบัน
ไม่ ทุกข์ ใจเพิม่ ขึน้
มีปัญญาแก้ไขปัญหา
ปัญญาแก้ ปัญหาวิกฤติ
หาสาเหตุของปัญหา (เหตุปัจจัย)
ปัจจัยภายในตัวเราเอง
 แก้ ไขได้
ทาปัจจุบันให้ ดที สี่ ุ ด
ปัจจัยภายนอก
 ถ้ าแก้ ไขไม่ ได้
ยอมรับ
ปล่ อยวาง
ไตรลักษณ์
สามัญญลักษณะ
 อนิจจัง ความไม่ เที่ยง
 ทุกขัง ทุกข์ , ทนได้ ยาก
 อนัตตา ไม่ ใช่ ตัวตน
บังคับบัญชาไม่ ได้
อริยสั จ ๔
ทุกข์
สมุทยั
นิโรธ
มรรค
กาย ใจ
กิเลส, ตัณหา, อุปทาน,
อวิชชา, มานะ, ทิฐิ
ความดับทุกข์ (ตัณหา)
ทางดับทุกข์
รู้
ละ
แจ้ ง
เจริญ
ทุกข์
ทุกข์
ทุกข์ ใจ
= อุปาทานขันธ์ ๕
- ประจากาย
- เกิด แก่ เจ็บ ตาย
- ไม่ สบายใจ, คับแค้ นใจ
- พลัดพรากจากสิ่ งทีร่ ัก
- ประสบสิ่ งทีไ่ ม่ ชอบ
- คร่าครวญ พิไรราพัน
อภิณปัจจเวกขณ์ ๕
ควรพิจารณาเนืองๆ ทุกวันว่ า
 เรามีความแก่ เป็ นธรรม ไม่ ล่วงพ้นความแก่ ไปได้
 เรามีความเจ็บเป็ นธรรม ไม่ ล่วงพ้นความแก่ ไปได้
 เรามีความตายเป็ นธรรม ไม่ ล่วงพ้นความแก่ ไปได้
 เราต้ องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น
 เรามีกรรมเป็ นของตน ทากรรมใดไว้ ย่อมได้ รับผลของ
กรรมนั้น
ทุกข์ มเี พราะยึด
ทุกข์ ยดื เพราะอยาก
ทุกข์ มากเพราะพลอย
ทุกข์ น้อยเพราะหยุด
ทุกข์ หลุดเพราะปล่ อย
มรรค ๘
 มีความเห็นถูก ?
 เห็นทุกข์ ร้ ู ทุกข์ + สาเหตุ ?
 ตั้งใจจะละกิเลสตัณหาฯ ?
 ตั้งใจจะละเจริญมรรค (ศีล สมาธิ
ปัญญา) ?
ศึกษา
เห็นถูก, ดาริถูก รู้ แนวทาง
การปฏิบัติ
- รักษาศีล
- เจริญภาวนา
วิปัสสนากรรมฐาน
สติปัฎฐาน๔