ปรัชญาพลศึกษา โดย จักรวัฒน์ เครือคาอ้าย พลศึกษา Physical Education หมายถึง เป็ นการศึกษาแขนงหนึ่งในขบวนการ ศึกษาทั้งหมด ซึ่งมีจุดมุ่งหมายทีจ่ ะเกิดการ พัฒนาการทางกาย จิตใจ อารมณ์ และสั งคม เพือ่ การเป็ นพลเมืองดี การใช้ กจิ กรรมต่ างๆ ที่ เลือกเฟ้นแล้ว.

Download Report

Transcript ปรัชญาพลศึกษา โดย จักรวัฒน์ เครือคาอ้าย พลศึกษา Physical Education หมายถึง เป็ นการศึกษาแขนงหนึ่งในขบวนการ ศึกษาทั้งหมด ซึ่งมีจุดมุ่งหมายทีจ่ ะเกิดการ พัฒนาการทางกาย จิตใจ อารมณ์ และสั งคม เพือ่ การเป็ นพลเมืองดี การใช้ กจิ กรรมต่ างๆ ที่ เลือกเฟ้นแล้ว.

ปรัชญาพลศึกษา
โดย
จักรวัฒน์ เครือคาอ้าย
พลศึกษา Physical Education
หมายถึง เป็ นการศึกษาแขนงหนึ่งในขบวนการ
ศึกษาทั้งหมด ซึ่งมีจุดมุ่งหมายทีจ่ ะเกิดการ
พัฒนาการทางกาย จิตใจ อารมณ์ และสั งคม
เพือ่ การเป็ นพลเมืองดี การใช้ กจิ กรรมต่ างๆ ที่
เลือกเฟ้นแล้ว เพือ่ ไปสื่ อให้ บรรลุผลทีว่ างไว้
ข้ างต้ น
(Bucher,1969:31)
พลศึกษา Physical Education
กระบวนการทางการศึกษาเกีย่ วกับกิจกรรมต่ างๆ ซึ่ ง
ช่ วยเพิม่ พูนและพัฒนาร่ างกายของมนุษย์ ให้ ดขี นึ้ หรือ
กล่ าวได้ ว่า พลศึกษา คือ วิชาทีม่ ่ ุงส่ งเสริมให้ผ้ ูเรียนมี
พัฒนาการทางด้ านร่ างกาย จิตใจ อารมณ์ สั งคมและ
ทักษะ โดยใช้ กจิ กรรมการออกกาลังกายหรือกีฬาต่างๆ
เป็ นสื่ อของการเรียน
(วาสนา คุณาอภิสิทธิ์ 2539 : 23)
จุดมุ่งหมาย
“จงบารุงรักษาร่ างกายให้ มคี วามแข็งแรง อดทน และ
ปราดเปรียวเพือ่ ทีจ่ ะให้ ร่างกายสามารถเชื่อและปฏิบัติ
ตามคาสั่ งของจิตใจได้ จิตใจทีผ่ ่ องใสอยู่ในเรือนร่ างที่
สมบูรณ์ ”( John Locke 1632-1704)
Jean Jacques Rousseau
(1712-1778) จัง จาค รุสโซ
“มีความจาเป็ นที่ร่างกายจะต้ องมีความแข็งแรง เพือ่ ทีจ่ ะ
สามารถปฏิบัตติ ามคาสั่ งของวิญญาณได้ ผู้รับใช้ ทดี่ ี
จะต้ องเป็ นผู้ทมี่ รี ่ างกายแข็งแรงยิง่ ถ้ าร่ างกายมีความ
อ่ อนแอเท่ าใด ร่ างกายก็จะเป็ นนายเรามากเพียงนั้น และ
กลับตรงกันข้ าม ถ้ าร่ างกายของเรายิง่ มีความแข็งแรงมาก
เพียงใด มันก็ยงิ่ จะปฏิบัตติ ามเราและรับใช้ เราได้ ดมี าก
เพียงนั้นด้ วย
Christian Woff “หน้ าที่ต่อร่ างกาย”
โดยบรรยายไว้ ว่า การทีม่ นุษย์ ดาเนินชีวติ ให้ เป็ นสุ ข
ได้ น้ัน จะเป็ นไปได้ กต็ ่ อเมือ่ ร่ างกายมีสติปัญญาที่มี
ประสิ ทธิภาพทีแ่ ข็งแรงเท่ านั้น แต่ สติปัญญาทีแ่ ข็งแรงก็
ต้ องอยู่ในร่ างกายทีม่ สี ุ ขภาพสมบูรณ์ และแข็งแรง
โดยความสุ ขภาพสมบูรณ์ ของร่ างกายจะได้ มาจาก
แบบฝึ กหัดของพลศึกษาเท่ านั้น
ปรัชญาการพลศึกษา

คือ ค่ านิยม หลักการ วิธีการและทฤษฎีต่างๆ ทางการพล
ศึกษาทีไ่ ด้ ผ่านการวิเคราะห์ การทดลอง การพิสูจน์ และ
การกลัน่ กรอง พิจารณาด้ วยเหตุด้วยผลอย่ างละเอียดลออ
ถี่ถ้วนเป็ นอย่ างดีและถูกต้ อง ได้ เป็ นทีย่ อมรับของวิชาชีพ
พลศึกษาแล้ วว่ า สามารถนามาใช้ เป็ นแนวทางในการจัด
และดาเนินการตลอดการจัดการเรียนการสอนวิชาพล
ศึกษาในโรงเรียนได้ ผลดีและมีประสิ ทธิภาพ
(วรศักดิ์ เพียรชอบ 7:2548)
บทบาทและความสาคัญ
1.
ช่ วยให้ มีร่างกายทีแ่ ข็งแรง มีสมรรถภาพทางกายทีด่ ี และมี
สุ ขภาพดี
1. ผลของการออกกาลังกายที่มีต่อโลหิต
2. ผลของการออกกาลังกายที่มีต่อกล้ ามเนือ
้
3. ผลของการออกกาลังกายที่มีต่อหัวใจ
4. ผลของการออกกาลังกายที่มีต่อปริ มาณของโลหิตที่หัวใจ
บีบตัว
5. ผลของการออกกาลังกายที่มีต่ออัตราการเต้ นของชี พจร
9. แพทยสภาแห่ งประเทศไทยได้ สรุปความสาคัญของการ
ออกกาลังกายไว้ ดงั นี้
ช่ วยให้ อวัยวะต่ างๆแข็งแรงขึน้ เช่ น หัวใจ ปอด ไต กระดูก
ช่ วยลดการเป็ นโรคความดันโลหิตสู ง โรคแผลในกระ
เพราะอาหาร และไขมันในเส้ นเลือดสู ง
 ผู้ทท
ี่ างานเบาไม่ ค่อยออกกาลังกาย อาจเป็ นโรคเหนื่อยง่ าย
และเวียนศีรษะ
 บุรุษไปรษณีย์เป็ นโรคหัวใจน้ อยกว่ าพนักงานรับโทรศัพท์
กระเป๋ ารถเมล์

6. ผลของการออกกาลังกายที่มีต่อเส้ นโลหิต
7. ผลของการออกกาลังกายที่มีต่อความดันของ
โลหิต
8. ผลของการออกกาลังกายที่มีต่อระบบการ
หายใจ





ผู้ทมี่ ีอาชีพงานเบา และจาเจ อาจเจ็บป่ วยบ่ อย ควรหาเวลาออก
กาลังกายทุกวัน เช่ น พระภิกษุ นักเรียน แม่ บ้าน ช่ างเย็บผ้ า นัก
ธุรกิจฯ
คนถีบจักรยานเป็ นโรคหัวใจน้ อยกว่ าคนขับรถหรือคนนัง่ รถ
การออกกาลังกายเป็ นประจาทาให้ คนเป็ นโรคติดเชื้อน้ อยลง เช่ น
เป็ นหวัดคัดจมูก เจ็บคอ
การออกกาลังกายเป็ นประจาทาให้ มีอายุยนื นาน
ออกกาลังกายวันละนิดจิตแจ่ มใส ถ้ าไม่ อยากให้ หัวใจวายออก
กาลังกายทุกวัน
2.ช่ วยให้ มที กั ษะการเคลือ่ นไหวของร่ างกาย
และการเล่ นกีฬาดีขนึ้

จากการศึกษาพบว่ า ทักษะการเคลือ่ นไหวจะขึน้ อยู่กบั
ปัจจัยต่ างๆ
 กาลังความแข็งแรง
ความรวดเร็ว
 การเปลีย
่ นทิศทาง
ความอ่ อนตัว
 ความสามารถของสายตา
 ความเข้ าใจในเทคนิคและวิธีการของทักษะนั้นๆ
3. ช่ วยให้ มคี ุณธรรมและคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์
ของสั งคมดีขนึ้
มีระเบียบวินัย
 มีความกล้ าในการแสดงออก
 มีความเชื่ อมัน
่ ในตนเอง
 มีความคิดริ เริ่ มสร้ างสรรค์
 มีความอดทน
 มีความยับยั้งชั่ งใจ
 มีศีลธรรมจรรยา

4. ช่ วยให้ มีความรู้ความเข้ าใจโดยการปฏิบัตจิ ริง

หลักการทางด้ านจิตวิทยาการกีฬาทีจ่ ะทาให้ การเรียนรู้
ได้ ผลดีทสี่ าคัญก็คอื การเรียนรู้ น้ัน คือ การเรียนรู้ ด้วยการ
ปฏิบัตจิ ริง (Learning by doing)