การเตรียมตัวเมื่อเข้าวัยสูงอายุ

Download Report

Transcript การเตรียมตัวเมื่อเข้าวัยสูงอายุ

การเตรียมตัวเพื่อเข้ าสู่ วยั สูงอายุ
ยอมรับ ปรับตัว ให้ เข้ ากับสถานการณ์ สังคมและสิ่ งแวดล้อมได้ อย่ างมีความสุ ข
นส จรินทรัตน์ แซ่ น่า
ศูนย์ อนามัยที1่ 2 ยะลา
ก่อนอื่นต้ อง
ยอมรับว่ าเข้ าสู่ วยั สู งอายุแล้ ว
ยอมรับบทบาท สถานภาพทีเ่ ปลีย่ นไปและเข้ าใจผู้อื่น
ปรับตัว
ให้ เข้ ากับสั งคมและหน้ าที่การงานที่เหมาะสม
หมั่นดูแลสุ ขภาพให้ แข็งแรง และตรวจสุ ขภาพร่ างกายอย่ างสม่าเสมอ
ปรับตัว
ทาจิตใจให้ แจ่ มใส สนใจบุคคลและสิ่ งแวดล้อมและคาสอนทางศาสนาเพิม่ ขึน้
ช่ วยเหลือตนเองให้ มากทีส่ ุ ด อย่ าท้ อแท้ และพึง่ ผู้อื่นให้ น้อยลง
อย่ านิ่งเฉย หางานที่ชอบและถนัดทา ให้ เหมาะกับสภาพร่ างกาย
ปรับวิธีคดิ ใหม่ ว่ า สุ ขภาวะสร้ างได้ ด้วยตัวท่ านเอง
ปัจจัยในการดูแลส่ งเสริมสุ ขภาพ เพื่อให้ มีสุขภาวะในวัยสู งอายุ
อาหาร
17 อ
อารมณ์
ออกกาลังกาย
อนามัย
อาสา
อโรคยา
อบอุ่น
อากาศ
อดิเรก
อุบัตเิ หตุ
อบายมุข
อาชีพ
อุจจาระ
ออม
อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
อนาคต
อาหาร
กินอาหารครบ 5 หมู่ ปริมาณคุณภาพ และความหลากหลาย
พอเพียงกับความต้ องการของร่ างกาย
หมั่นดูแลนา้ หนักตัวให้ อยู่ในเกณฑ์ ปกติ ควรชั่งนา้ หนักตัว เดือนละครั้ง
หมั่นตรวจดูค่าดัชนีมวลกายให้ อยู่ในเกณฑ์ ปกติที่ 18.5-24.9 กก./ม2
อากาศ
บริสุทธิ์จากธรรมชาติ
อารมณ์
การยิม้ หรื อหัวเราะทาให้ ความตึงเครียดผ่ อนคลายลง
มองโลกในแง่ ดี เห็นว่ าชีวติ สดใสอยู่เสมอ
รู้ จกั ผ่ อนคลาย สนุกสนานร่ าเริง พบปะพูดคุยกับเพื่อนฝูง
มีส่วนร่ วมกับชุมชนและสั งคม
อดิเรก
อยากแก่ ช้า อย่ าอยู่ว่าง ออกแรงบ้ าง อายุยืน
อย่ าปล่ อยตัวเองให้ ว่างเกินไป
หางานอดิเรกทาตามความพอใจ และเหมาะสมกับสภาพร่ างกาย
ใช้ เวลาไปกับงานอดิเรก ไม่ มเี วลาว่ าง ในการคิดฟุ้งซ่ าน
ออกกาลังกาย
ออกกาลังกายเป็ นประจา อย่ างน้ อย 20-30 นาที สั ปดาห์ ละ 3 วัน
ใช้ แรงกายในชีวติ ประจาวันและงานอดิเรก
ยืดเหยียดตามข้ อของส่ วนต่ าง ๆของร่ างกาย บนเตียงนอน
พร้ อมบิดขีเ้ กียจให้ สุดๆก่ อนลุกจากเตียง
อุบัตเิ หตุ
การแต่ งกายและใช้ อุปกรณ์ ช่วยเดินทีเ่ หมาะสม
ระมัดระวังในการปรับเปลีย่ นกิริยาบถแต่ ละครั้ง
จัดสิ่ งแวดล้ อมให้ สว่ าง สะอาด แห้ ง และไม่ มีสิ่งกีดขวาง
อนามัย
ในช่ องปาก
การแปรงฟันทีถ่ ูกวิธี อย่ างน้ อยวันละ 2 ครั้ง
การตรวจช่ องปากด้ วยตนเอง ตรวจฟัน เหงือก และเนื้อเยื่อในช่ องปาก
การใส่ ฟันปลอม และการทาความสะอาดฟันปลอม
การไปพบทันตแพทย์
การดื่มนา้ วันละ 6-8 แก้ว
การนอนหลับพักผ่ อนให้ เพียงพอ วันละ 6-8 ชั่วโมง
อุจจาระ
เป็ นประจาทุกวัน
อบายมุข
ลด
ละ
เลิก
เหล้ า บุหรี่ และสารเสพติดทุกชนิด
อโรคยา
ความไม่ มีโรค
เพื่อเป็ นการเฝ้าระวังสิ่ งผิดปกติ หรื อภาวะเสี่ ยงต่ อการเกิดโรคภัยต่ าง ๆ
ที่ยากต่ อการสั งเกตเห็นได้ เองตามปกติ
จึงสมควร
ตรวจร่ างกายอย่ างสม่าเสมอ หรื อไปพบแพทย์ ปีละ 1 ครั้ง
เรียนรู้การดูแลรักษาสุ ขภาพตนเอง
อาชีพ
อาชีพทีด่ สี ุ จริต ก่ อให้ เกิดรายได้ และความเป็ นอยู่ทดี่ ขี นึ้
ทาให้ การพึง่ พิงผู้อื่นลดน้ อยลง
ออม
การรู้ จกั ออมเงิน และเข้ าระบบประกันเพื่อการชราภาพ
อาสา
มีจิตอาสา เปิ ดใจถ่ ายทอดความรู้ ภูมปิ ัญญาสู่ สังคม
มีส่วนร่ วมของชุมชนและภาคีเครื อข่ าย
ทั้งระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน และสั งคม
อบอุ่น
ความสั มพันธ์ กบั ครอบครัว ลูกหลาน เพื่อน ๆ และกับคนอื่น ๆ ทีย่ งั มีชีวติ อยู่
การสอนลูกหลานให้ ร้ ู จักการกตัญญูร้ ู คุณคน
ปรับตนเอง ไม่ จ้ ูจขี้ บี้ ่ น เจ้ าอารมณ์ และไม่ เรียกร้ องความสนใจ
รู้ จกั เห็นอกเห็นใจผู้อื่น และทาตนไม่ เป็ นภาระกับใคร
อนาคต
การเตรียมรับสภาพความจริงของวัยชรา
ทุกชีวติ มีอายุเพิม่ ขึน้ เรื่ อย ๆ
การแปรเปลีย่ นสั งขารย่ อมเกิดขึน้ ตามธรรมชาติ
แตกต่ างกันไปในแต่ ละด้ าน
สิ่ งสาคัญ
ต้ องรู้ จักปรับตัวให้ ตามกับความเป็ นไป
รู้ จักบริหารกาย บริหารจิตในชีวติ ประจาวัน
เพื่อให้ ร่างกายแข็งแรงและผ่ องใสอยู่เสมอ
อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
ทุกชีวติ ย่ อมมีความแก่ ความตายเป็ นธรรมดาของชีวติ
ชีวติ ย่ อมมีการเปลีย่ นแปลงอยู่เสมอ ไม่ มีอะไรเทีย่ งแน่ นอน
ตามหลัก “ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ”
การเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา นั้น ต้ องเป็ นการเห็นจนรู้ สึกว่ า
ไม่ มีอะไรทีน่ ่ ายึดถือ
ไม่ มีอะไรทีน่ ่ าอยากปรารถนา
ในทางที่จะเอา จะได้ จะมี จะเป็ น
จาก ; คู่มือมนุษย์ ฉบับสมบูรณ์ หน้ า 30
ขอขอบคุณ ในความร่ วมมือทุกท่ าน
สวัสดี