1.1.2 generation of k-maps การสร้างแผนที่ความรู้

Download Report

Transcript 1.1.2 generation of k-maps การสร้างแผนที่ความรู้

Knowledge Management
การจัดการความรูใ้ นองค์กร
Session 5
อ.ดร. ปิ ติพงษ์ ยอดมงคล
วิทยาลัยศิลปะ สื่อ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
College of Arts Media and Technology, Chiang Mai University
Refresh
Session IV
• Stakeholder Analysis
• Technology
• SECI Model
• BA
• CoP
การจัดการความรู้ในองค์กร
การบริหาร
การจัดการ
- Top Management
การเปลี่ยนแปลง
- KM Strategy
Org Culture
- KM Team & Pilot Project
- Share
- Trust
ระบบการจัดการ
ความรู้
- Search / Create
- Collect
- Share
- Use
Knowledge Management Systems
Model
ระบบจัดการความรู้ในองค์กร
การจัดการความรู้ในองค์กร
แผนการจัดการความรู้
KM Action Plan
การบริ หารการเปลี่ยนแปลง
Change Management
การจัดการความรู้
Knowledge Management (Process)
Introduction
• การจัดการความรู้ขององค์กร
- ความจาเป็ น [Justification] และแผนแม่บท [Master Plan]
• System Structure to meet KM requirement for Org.
- Implementation: การดาเนินการ จัดการความรู้ในองค์กร
การจัดการความรู้ในองค์กร
ความท้าทายในการ สร้างระบบการจัดการความรู้ในองค์กร
Can we do it?
• การเปลี่ยนแปลง วัฒนธรรมขององค์กร
– การเปลี่ยนแปลงค่านิยม
– การเปลีย่ นแปลงความประพฤติ ของบุคลากร
• Knowledge Implementation
– Change
– Learning
– Innovation
• Knowledge Evaluation
– What is the valuable knowledge for Org.?
ระบบการจัดการความรู ้ในองค์กร:
KM System Model Methodology
KM Co-ordination Process
[Master Plan]
KM
Operation
Process
[Action]
KM System Model
Co-ordination Process
Master Plan
&
Management
1. Analyze
2. Define
3. Plan
4. Effect
KM Operational
กระบวนการในแต่ละขั้น
Input
• Input
link
process
• Activities
Output
•Product
Output
Link
Next
Process
1. Co-ordination Process
1.4
1.3
1.1
1.2
1.1 Analyze: ขั้นการวิเคราะห์
[4 sub-process]
1.1.1 Scope Definition (ขอบเขตองค์กร)
1.1.2 Generation of Knowledge Map (แผนที่ความรู้)
1.1.3 Analysis of Knowledge Management
(การวิเคราะห์การจัดการความรู้ขององค์กร)
1.1.4 Analysis of Knowledge Culture
(การวิเคราะห์วฒ
ั นธรรมความรู้ขององค์กร)
1.1 ANALYSIS
1.1.1 Scope Definition (การกาหนดขอบเขต)
Scope Definition
The Feasibility Question
1. ขอบเขตที่จะดาเนินการ KM ขององค์ กรเป็ นอย่ างไร
2. องค์กรสามารถสนับนุน งบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ สถานที่ ได้ หรื อไม่?
3. เหมาะสมกับสถาณการณ์ ขององค์กรหรื อไม่?
Evaluate Existing Infrastructure:องค์กรที่เอื้อต่อการจัดการความรู ้
KM ต้ องตอบสนองเป้าหมายขององค์กร [ระยะสัน/ยาว]
้
Vision and Mission of the Org.
Resources
Culture
1.1 Analyze=>1.1.1 Scope Definition
Input Links
- ข้ อมูลทัว่ ไปขององค์กร
- ความรู้ขององค์กร และการจัดการความรู้ในองค์กร มีหรื อไม่ อย่างไร
- การไหลเวียนของ ข้ อมูลและองค์ความรู้ของในองค์กร ภายใน – ภายนอก / การเข้ า – ออก ของข้ อมูลและความรู้
- ปั ญหาที่อาจเกิดขึ ้นเมื่อมีการจัดกาความรู้ในองค์กร
Activities
- กาหนดขอบเขตที่สามารถดาเนินการจัดการความรู้ในองค์กร
- เปรี ยบเทียบ และตัดสินใจความเป็ นไปได้ ของต้ นทุน ความคุ้มค่า และผลประโยชน์ที่จะเกิดขึ ้นต่อองค์กร
- คัดเลือกขอบเขตที่เหมาะสมในการจัดการความรู้ในองค์กร
ได้ ขอบเขต (แผนกหรื อหน่วยงาน) ที่จะดาเนินการจัดการความรู้ (KM ทาจากเล็กไปใหญ่)
Products
Output Links
แผนกหรื อหน่วยงานที่จะดาเนินการจัดการความรู้ ที่จะต้ องมีการปรับตัว และจะมีผลต่อกิจกรรมในหน้ าที่ของแผนก
หรื อหน่วยงานนัน้
1.1 Analysis =>
1.1.2 GENERATION OF K-MAPS
การสร้ างแผนทีค่ วามรู้
1. Co-ordination Process
1.4
1.3
1.1
1.2
1.1 Analysis => 1.1.2 Generation of K-Maps
การระบุบ่งชี้แผนที่ความรู้
1. ความรู้ขององค์กรอยูท่ ี่ไหน
2. ใครเป็ นผูม้ ีความรู ้ในด้านนั้นๆ
3. ใครเป็ นผูส้ รรสร้างความรู้น้ นั ๆ
1.1 Analyze=> 1.1.2 Generation of K-Maps
Input Links
Activities
- ผลจาก 1.1 ขอบเขตการดาเนินการ KM
- เอกสารการปฏิบตั ิงาน เช่นโครงสร้ างองค์กร /กระบวนการปฏิบตั ิงาน (workflow) /Job Description
- บันทึกการทางาน การอบรม จากหน่วย HR
- เอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องแสดงให้ เห็นถึงการนาความรู้ไปทางาน
- วิเคราะห์เอกสาร เพื่อบ่งชี ้ ผ้ มู ีความรู้ในงานแต่ละหน้ าที่
- วิเคราะห์เอกสาร เพื่อบ่งชี ้ ว่าองค์ความรู้เกิดขึ ้นได้ อย่างไรในแผนก หรื อองค์กร
- องค์ความรู้ถกู จัดเก็บไว้ ที่ใด แบบใด
- สร้ างแผนที่ความรู้ เพื่อบ่งชี ้ผู้มีความรู้ บ่งชี ้การสร้ างสรรความรู้ หรื อบ่งชี ้การจัดเก็บความรู้
- ได้ แผนที่ความรู้ เพื่อบ่งชี ้ผู้มีความรู้ บ่งชี ้การสร้ างสรรความรู้ หรื อบ่งชี ้การจัดเก็บความรู้
Products
Output Links
- แผนที่ความรู้ที่มีข้อมูลจากการวิเคราะห์ สาหรับการวเคราะห์ในขัน้ 1.3
- แผนที่ความรู้อาจสะท้ องถึงช่องว่างความรู้ สาหรับการวิเคราะห์ในขัน้ 1.4
Note: แหล่งความรู้ และองค์ความรู้มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ต้ องมีการปรับปรุงให้ ทนั สมัยอยู่เสมอ
1.1.2 Generation of K-Maps: การระบุความรู้ ขององค์กร
1.1.2 Generation of K-Maps: การสร้างแผนที่ความรู้
(ระบุผถู้ ือความรู้ แบบ Mind Map)
1.1.2 Generation of K-Maps: การระบุเนื้อหาความรู ้ (CONCEPT MAP)
KM Concept Map
1.1.2 Generation of K-Maps
การแตกกระบวนงาน Work Breakdown Structure
• รายการโครงสร้ างงาน WBS หมายถึง กลุม่ รายการงานที่ต้องทาภายในงานหนึง่ ๆ
โครงการ
สร้ างอาคาร
ตัวอาคาร
ขึน้ รู ปตัว
อาคาร
ฐานราก
งานเสาเข็ม
งานก่ ออิฐ
งานฉาบผนัง
ตกแต่ ง
ภายใน
ทาสี
ติดกระเบือ้ ง
งานไฟฟ้า
งานประปา
เดินสายไฟ
วางท่ อนา้
1.1.2 Generation of K-Maps:
กระบวนงาน Work Flow
ขั้นตอนที่ 1
• องค์ความรู้
• ทักษะ
• เวลา
ขั้นตอนที่ 2
ขั้นตอนที่ 3
1.1 Analysis
1.1.3 ANALYSIS OF KM
1. Co-ordination Process
1.4
1.3
1.1
1.2
1.3 Analysis of KM
เพื่อที่จะสามารถจัดการความรู้ องค์กรต้ องเข้ าใจกระบวนการและวิธีการในการสื่อสารส่งผ่าน
ข้ อมูลและความรู้ที่ใช้ อยูใ่ นองค์กรปั จจุบนั
องค์กรต้ องสืบสารวจว่ามีการสร้ างองค์ความรู้ในองค์กร และมีการกระจายถ่ายทอดองค์ความรู้
นันๆ
้ อย่างไร
การสืบสารวจต้ องดาเนินการทั ้ง
• ทางแนวดิ่ง (Vertical top-down /management to employees
communication)
• ทางแนวราบ (Horizontal /between employees communication)
• การถ่ายทอดความรู้สภู่ ายนอกหรื อรับองค์ความรู้จากภายนอก
• การถ่ายทอดความรู้แบบเป็ นทางการและไม่เป็ นทางการ
การสื่อสารในองค์กร เช่นการประชุม สภากาแฟ กิจกรรมสันทนาการ
ผลจากการสืบสารวจกระบวนการและวิธีการสื่อสารขององค์กร จะทาให้ เกิดความเข้ าใจและ
สามารถหาช่องทางในการสร้ างอิทธิพลกลุม่ ในการจัดการความรู้ขององค์กรได้
Input Links
-ผลจาก1.1 ขอบเขตการจัดการความรู้
- ผลจาก 1.2 แผนที่ความรู้
Activities
- วิเคราะห์กระบวนการบริ หารจัดการงาน แต่ละขั้นตอนต้องการองค์ความรู้อะไร
-วิเคราะห์วา่ องค์ความรู้ถูกสร้างขึ้นและแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้โดยใคร เมื่อใด อย่างไร
-สอบถามถึงปั ญหาในการสื่ อสารข้อมูล องค์ความรู้ขององค์กร
- วิเคราะห ์์แผนที่ความรู้เพื่อหาช่องว่างจุดอ่อนความรู้ในโครงสร้างองค์กร
Products
ผลการวิเคราะห์กระบวนการและวิธีการของการหมุนเวียนองค์ความรู้
Output Links
กระบวนการและวิธีการของการหมุนเวียนองค์ความรู้ สามารถนามาใช้ใน
ขั้นตอน 1.4 (K-Culture) และขั้นตอน 2.1 (Goals of Improvement)
1.1 Analysis
1.1.4 ANALYSIS OF KNOWLEDGE CULTURE
1. Co-ordination Process
1.4
1.3
1.1
1.2
1.4 Analysis of Knowledge Culture
• การวิเคราะห์สถานะการณ์วฒ
ั นธรรมองค์กร เพื่อวิเคราะห์ความเหมาะสม
ความพร้ อม ในการจัดการความรู้
• ถ้ าองค์กรทีพฤติกรรมเหล่านี ้ คือ
– การกักเก็บความรู้ใว้ แต่เพียงผู้เดียว
– การไม่ยอมรับว่าหน่วยงานทีปัญหา (กลัวเสียหน้ า)
– การทางานแบบฉายเดี่ยว
องค์กรต้ องมีการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์กรให้ เหมาะสมกับการจัดการความรู้
การปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กรเพื่อการจัดการความรู้ต้องดาเนินการอย่างระมัดระวัง
มีแผนการที่แน่ชดั
Input Links
Activities
Products
- ผลจาก 1.2 แผนที่ความรู ้ สามารถนามาบ่งชี้ความผิดปกติที่อาจเป็ น
อุปสรรคในการจัดการความรู้
- ผลจาก 1.3 สามารถนามาบ่งชี้วา่ กระบวนการสื่ อสารในองค์กรอาจจะเป็ น
อุปสรรคในการจัดการความรู้
-เอกสารขององค์กร นโยบาย แนวทางการบริ หารจากผูบ้ ริ หาร ระเบียบงาน
- วิเคราะห์การแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้มีหรื อไม่อย่างไร[what-when-where-how]
- อะไรที่เป็ นอุปสรรคต่อการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้
- อะไรที่เป็ นเงื่อนไขให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ในองค์กร
- ผูบ้ ริ หารระดับสู งมีความเกี่ยวข้องกับการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ขององค์กร
อย่างไร?
ผลการวิเคราะห์กระบวนการและวิธีการของการหมุนเวียนองค์ความรู้
Output Links ผลการวิเคราะห์จะเป็ นประโยชน์กบั การสร้างเป้ าหมายของKM ของ
องค์กร ขั้นตอน 2.1 (Goals of Improvement)
1.1 Analyze=>1.4 Analysis of Knowledge Culture
Remark
• ขันตอนนี
้
้มีความสาคัญมาก และมีความยากในการดาเนินการ
• องค์กรต้ องสร้ างวัฒนธรรมที่สนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ มิฉนันคนในองค์
้
กร
จะนาพฤติกรรมของตนมาเป็ นพฤติกรรมองค์กร
• ไม่มีรูปแบบมาตรฐานในการวิเคราะห์วฒ
ั นธรรมองค์กร
– การสัมภาษณ์
– สังเกตุพฤติกรรม
• Group leader, division managersฯ
– การสะท้ อนคิดสามารถให้ ข้อมูลด้ านวัฒนธรรมองค์รได้ มาก
Assignment
• ให้ นศ ดาเนินการวิเคราะห์องค์กรของตน
– ขันตอน
้
1.1.1 – 1.1.4
• ให้ นศ นาเสนอผล จากการวิเคราะห์ขนตอนที
ั้
่ 1.1. Analyze