อัตราการสูบบุหรี่

Download Report

Transcript อัตราการสูบบุหรี่

บทบาทของพระสงฆ์
ในการอบรมเด็กเรื่องบุหรี่
ศ.นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ
30 มิถุนายน 2556
ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
จ.พระนครศรีอยุธยา
1
จานวนและอัตราการสู บบุหรี่ปัจจุบัน
ของประชากรไทยอายุ 15 ปี ขึน้ ไป
อัตราการสู บบุหรี่ของประชากรไทยอายุ 15 ปี ขึน้ ไป
แบ่ งตามเพศ
อัตราการสู บบุหรี่ของประชากรไทยอายุ 15 ปี ขึน้ ไป
แบ่ งตามเขตการปกครอง
Smoking %
Urban
Rural
Bangkok
21.5
24.8
19.0
No smoker
(million)
3.5
8.9
1.0
GATS 2552
5
อัตราการสู บบุหรี่ (GATS 2552)
อายุ
15-24
25-44
45-59
60+
อัตรา
19.8
26.5
24.0
21.0
จานวน (ล้ านคน)
2.08
5.77 ( ♂= 50%)
2.95
1.68
NSO อายุเฉลีย
่ ของคนไทยทีเ่ ลิกสูบบุหรีไ่ ด้ = 41 ปี
6
ประชากรอายุ >15 ปี
กทม.
เหนือ
กลาง
อิสาน
ใต้
% Daily smoke
% former smoker
16.7
18.4
19.4
21.0
25.7
31.4
36.2
27.7
29.2
18.2
GATS 2552
7
อัตราการสู บบุหรี่ประชากรไทย (%)
ภาคอีสาน
ภาคเหนือ
ภาคใต้
ภาคกลาง
กทม.
พ.ศ.2534
พ.ศ.2552
ลดลง
36.7
36.0
31.2
30.1
23.4
23.7
19.8
24.2
18.9
12.0
35
45
22
37
48
สานักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ.2552
8
การได้ รับควันบุหรี่มอื สอง
ประชากรอายุ >15 ปี (%)
กทม.
กลาง
เหนือ
อิสาน
ใต้
ในที่ทำงำน
ในบ้ ำน
18.2
24.0
27.6
31.1
40.8
22.8
36.1
39.4
38.8
58.1
GATS 2552
9
ในผู้ทเี่ ลิกสู บไม่ ได้
ในประเทศพัฒนาแล้ว
ครึ่งหนึ่ง
ในประเทศกาลังพัฒนา
หนึ่งในสาม
จะเสี ยชีวติ จากโรคทีเ่ กิดจากการสู บบุหรี่
10
GATS 2552
• 28.8% ของคนไทยที่เคยสูบบุหรี่ เป็ นประจา เลิกสูบบุหรี่ ได้
• จานวนคนไทยที่สบู บุหรี่ เป็ นประจา
= 10.69 ล้ านคน ที่มีอยูข่ ณะนี ้
• ถ้ า 28.8% เลิกได้
• ทีจ่ ะเลิกไม่ได้
ถ้ า 1/3 เสียชีวิต
ถ้ า ½ เสียชีวิต
=
=
=
=
3.07 ล้ านคน
7.62 ล้ านคน
2.54 ล้ านคน
3.81 ล้ านคน
11
กลุ่มเสี่ ยงทีม่ ปี ัญหา / น่ าเป็ นห่ วง
1. นักสู บหน้าใหม่ โดยเฉพาะนอกเขตเทศบาล
2. นักสู บหน้าใหม่เพศหญิงในเขตเมือง
3. ผูส้ ูบบุหรี่ ที่อายุ 25-44 ปี ทัว่ ประเทศ
4. ผูส้ ูบบุหรี่ ภาคใต้
5. ผูส้ ู บบุหรี่ ที่มีโรคเรื้ อรัง 5 โรค
ที่มีจานวน = 2.5 ล้านคน
12
พิษภัยจากการสูบบุหรี่
ศ.นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ
เลขาธิการมูลนิธิรณรงค์ เพือ่ การไม่ สูบบุหรี่
ทีป่ รึกษาสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้ างเสริมสุ ขภาพ
1 กันยายน 2555
Action on Smoking and heath Foundation/มูลนิ ธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
13
ประเทศอังกฤษ
•
•
•
•
โดยเฉลี่ยในผูท้ ี่อายุ ๒๐ ปี ที่สูบบุหรี่ เป็ นประจา ๑,๐๐๐ คน
๑ คน จะตายจากการถูกฆาตกรรม
๖ คน จะตายจากอุบตั ิเหตุรถยนต์
๒๕๐ คน จะตายจากการสูบบุหรี่ ให้วยั กลางคน
• ๒๕๐ คน จะตายจากการสู บบุหรี่ ในวัยสู งอายุ
เซอร์ ริ ชาร์ด ปิ โต ๑๙๙๔
14
การเสี ยชีวติ ของคนไทยจากโรคที่เกิดจากกการสู บ
บุหรี่
มะเร็ งปอด
มะเร็ งหลอดอาหาร
มะเร็ งอื่น ๆ
ถุงลมปอดพอง
โรคปอดอื่น ๆ
โรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง
โรคอื่น ๆ
รวมทั้งหมด
15
พ.ศ.2547 (2)
9,979
2,396
3,944
10,427
2,400
7,907
4,130
พ.ศ.2552(3)
11,210
2,964
3,867
11,614
2,841
10,945
4,803
41,183
48,244
1. สถิติคนไทยทีเ่ สี ยชีวติ ในปี พ.ศ.2552
• จานวนผู้เสี ยชีวติ ทั้งหมดจากทุกโรค = 415,900 คน
• จานวนผู้เสี ยชีวติ จากการสู บบุหรี่ = 48,244 คน
= 11.59%
หรือ 1 ในทุก 8.6 คนไทยทีเ่ สี ยชีวติ มีสาเหตุจากการสู บบุหรี่
18
2. 3 ใน 10 ของผู้เสี ยชีวติ จากการสู บบุหรี่
ตายก่ อนอายุ 60 ปี
• ในจานวนผู้เสี ยชีวติ จากการสู บบุหรี่
= 48,244 คน
• เป็ นผู้ทเี่ สี ยชีวติ ก่อนอายุ 60 ปี
= 14,204 คน
= 29.49% ของผู้ทเี่ สี ยชีวติ จากบุหรี่ท้งั หมด
19
3. การเสี ยชีวติ จากการสู บบุหรี่แยกตามเพศ
• จานวนเพศชายทีเ่ สี ยชีวติ ทั้งหมดจากทุกสาเหตุ
= 235,254 คน
• เสี ยชีวติ จากโรคทีเ่ กิดจากการสู บบุหรี่
= 40,995 คน
= 17.4%หรือ 1 ในทุก 5.7 ชายไทย
ทีเ่ สี ยชีวติ มีสาเหตุมาจากการสู บบุหรี่
20
4. จานวนเพศหญิงทีเ่ สี ยชีวติ ทั้งหมดจากทุกสาเหตุ
• จานวนเพศหญิงทีเ่ สี ยชีวติ ทั้งหมดจากทุกสาเหตุ
= 180,647 คน
• เสี ยชีวติ จากโรคทีเ่ กิดจากการสู บบุหรี่
= 7,249 คน
= 4 % หรือ 1 ในทุก 24 หญิงไทย
ทีเ่ สี ยชีวติ มีสาเหตุมาจากการสู บบุหรี่
21
5. ประมาณการจานวนผู้ทเี่ สี ยชีวติ จากการสู บบุหรี่
ในประเทศไทยตั้งแต่ พ.ศ.2536-2552
•
•
•
•
•
การเสี ยชีวติ ของคนไทยจากโรคทีเ่ กิดจากการสู บบุหรี่
พ.ศ.2536(1) = 41,000 คน
พ.ศ.2547(2) = 41,183 คน
พ.ศ.2552(3) = 48,244 คน
ระหว่ าง พ.ศ.2536-2552 จะมีคนไทยเสี ยชีวติ จากโรคที่เกิดจาก
การสู บบุหรี่อย่ างน้ อยทีส่ ุ ด 640,000 คน
• ทั้งนีไ้ ม่ นับรวมจานวนคนไทยทีเ่ สี ยชีวติ จากควันบุหรี่มือสอง
เนื่องจากไม่ มีการรวบรวมข้ อมูล
22
สถิตโิ รคทีภ่ ิกษุ-สามเณรป่ วยเข้ ารักษาตัว
ในรพ.สงฆ์ ๑๐ ลาดับแรก
ลาดับ
โรค
2
ถุงลมโป่ งพอง
5
เส้นเลือดหัวใจตีบ
6
วัณโรคปอด
8
โรคปอดเรื้ อรังต่าง ๆ
10
เส้นเลือดสมองตีบตัน
(ลาดับ 1. ต้อหิ น 3. เบาหวาน 4.ความดันสูง 7.ไตวาย 9.ไส้เลื่อน)
งานเวชระเบียนสถิติ โรงพยาบาลสงฆ์ พ.ศ.2546-47
23
สถิตโิ รคทีพ่ ระภิกษุสงฆ์ สามเณรมรณภาพ
ลาดับ
1
2
3
7
8
9
โรค
มะเร็ งปอด
ถุงลมโป่ งพอง
วัณโรค
เส้นเลือดหัวใจตีบ
มะเร็ งหลอดอาหาร
เส้นเลือดสมองตีบตัน
(ลาดับ 4.ไตวาย 5.มะเร็ งตับ 6. เบาหวาน 10.ตับแข็ง)
งานเวชระเบียนสถิติ โรงพยาบาลสงฆ์ พ.ศ.2546-47
24
อานาจการเสพติดของยาสูบ
นิโคติน > เฮโรอิน > โคเคน > แอลกอฮอล์ > คาแฟอิน
ความยากในการเลิก
นิโคติน = เฮโรอิน = โคเคน = แอลกอฮอล์ > คาแฟอิน
ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งลอนลอน
25
2543
การเสพติดบุหรี่
1. บริ ษทั บุหรี่ รู้มา 50 ปี แล้ว ว่าบุหรี่ มีอานาจการเสพ
ติดรุ นแรง จากบันทึกของบริ ษทั บุหรี่ พ.ศ.2506
“นิโคตินทาให้เกิดการเสพติด เพราะฉะนั้น เราจึง
อยูใ่ น ธุรกิจของการขายนิโคติน ซึ่งเป็ นยาเสพติด”
27
“เป็ นที่ทราบกันอยู่แล้ วว่า บุหรี่ เป็ นสิ่งเสพติด ผู้สบู
บุหรี่ จานวนมากยังคงสูบต่อไป เพราะไม่สามารถเลิก
ได้ ถ้ าเลิกได้ ก็คงเลิกไปแล้ ว” พ.ศ.2523
บันทึกบริ ษัทบุหรี่
28
2. การทดลองในสัตว์ทดลองพบว่าหนู ลิง และสุนขั ที่ติด
นิโคตินแล้ ว จะเรี ยนรู้ที่จะกดสวิตซ์เพื่อให้ ได้ รับนิโคติน
เข้ าสูร่ ่างกายทางสายน ้าเกลือ สุนขั จะเพียรกดสวิตซ์
หลาย ๆ ครัง้ จนกว่าจะได้ รับนิโคติน
ในการทดลองแบบเดียวกันในหนู พบว่าหนูที่กดสวิตซ์
ไปหลาย ๆ ครัง้ แล้ วไม่ได้ รับนิโคติน หนูจะเลิกกดสวิตซ์
29
3. การสูบบุหรี่ หรื อการใช้ ยาสูบรูปแบบอื่น เช่น การ
เคี ้ยวยาเส้ น การสูบบารากู่ การสูบบุหรี่ ไฟฟ้า
ล้ วนเป็ นเพียงวิธีการที่นานิโคติน (ยาเสพติด) เข้ าสู่
ร่างกาย
30
4. กระทรวงสาธารณสุขสหรัฐอเมริ กา ประกาศอย่างเป็ น
ทางการว่า
- การสูบบุหรี่ เป็ นการติดสิง่ เสพติด
- นิโคตินคือสารเคมีในบุหรี่ ที่ทาให้ เกิดการเสพติด
- การเสพติดนิโคตินมีคณ
ุ ลักษณะเหมือนการติด
ยาเสพติดอื่น เช่น เฮโรอีน โคเคน
31
5. การวิจยั พบว่า นิโคตินมีอานาจการเสพติดเทียบเท่ากับ
เฮโรอีน และเลิกยากเท่าการเลิกเฮโรอีน
6. การสารวจเมื่อ พ.ศ.2552 พบว่าครึ่งหนึ่งของคนไทยที่
สูบบุหรี่ (หกล้ านคนจากสิบสองล้ านคน) พยายามที่จะ
เลิกสูบบุหรี่ แต่เลิกไม่ได้
32
7. การสารวจเมื่อ พ.ศ. 2554 พบว่าในจานวนคนไทยที่สบู
บุหรี่ ทงหมด
ั้
มีเพียงร้ อยละ 27 เท่านันที
้ ่เลิกสูบบุหรี่ ได้
8. การสารวจเมื่อ พ.ศ.2557 พบว่ามีกลุม่ ประชากรไทยที่
จนที่สดุ หนึง่ ล้ านสามแสนคนที่เสพติดบุหรี่ มีรายได้
เฉลี่ยคนละ 2,000 บาทต่อเดือน แต่ใช้ เงินไปในการซื ้อ
บุหรี่ เฉลี่ย 547 บาทต่อเดือน
33
9. ในคนที่สบู บุหรี่ จนเป็ นโรคเส้ นเลือดหัวใจตีบที่ได้ รับ
การรักษาด้ วยการผ่าตัดเส้ นเลือดหัวใจ พบว่าหลัง
ผ่าตัดหนึ่งปี ครึ่งหนึง่ ของคนไข้ เหล่านี ้จะกลับไป
สูบบุหรี่ ใหม่ ทัง้ ๆ ที่แพทย์ห้ามสูบเด็ดขาด
34
10. กล่าวได้ วา่
- ผู้สบู บุหรี่ ที่สบู บุหรี่ ตอ่ ไปทัง้ ๆ ที่ร้ ูวา่ เป็ นอันตราย
เพราะ เสพติดนิโคติน
- บริ ษัทบุหรี่ พยายามทุกวิถีทางที่จะทาให้ คนติดบุหรี่
เพราะเสพติดผลกาไรจากการขายบุหรี่
- รัฐบาลประเทศต่าง ๆ ที่ไม่จริ งจังกับการควบคุม
ยาสูบเพราะเสพติดภาษียาสูบ
35
11. การสารวจในวัยรุ่นไทยพบว่า วัยรุ่นที่สบู บุหรี่ มี
การใช้ ยาเสพติดชนิดอื่นร่วมด้ วย มากกว่าวัยรุ่น
ที่ไม่สบู บุหรี่ ถึง 17 เท่า
36
12. อุปสรรคสาคัญที่ทาให้ การรณรงค์ลดจานวนผู้สบู
บุหรี่ เป็ นไปด้ วยความลาบาก ก็เพราะอานาจการ
เสพติดที่รุนแรงของบุหรี่ และกลยุทธ์ของบริ ษัทบุหรี่
ที่เพิ่มอานาจการเสพติดของบุหรี่ โดยการเติมสาร
แอมโมเนียในขบวนการผลิต ซึง่ ทาให้ นิโคตินถูกดูด
ซึมเข้ าสมองเร็ วขึ ้น มีผลทาให้ ฤทธิ์เสพติดเพิ่มขึ ้น
37
การสู บบุหรี่กบั พฤติกรรมเสี่ ยงของนักเรียน-นักศึกษา
4,645 ตัวอย่ างจาก 25 จังหวัดทั่วประเทศ
สู บ (%) ไม่ สูบ (%) สู บ : ไม่ สูบ
1.การดืม่ เหล้ า
2.การเที่ยวสถานบันเทิง
3.การเล่ นการพนัน
4.การเสพยาเสพติด
5.การมีเพศสั มพันธ์
88.5
68.1
40.7
10.6
67.4
25.2
21.3
12.4
0.6
18.0
3.5
3.0
3.3
17.6
3.7
สานักงานวิจยั เอแบคโพลล์ 2547
38
การทีส่ ั งคมต้ องจริงจังต่ อการควบคุมการสู บบุหรี่เพราะ
•
•
•
•
•
•
•
•
39
การเสพติดบุหรี่ ติดขณะเป็ นวัยรุ่ น
เป็ นพฤติกรรมเสี่ ยงที่เกิดขึ้นขณะเป็ นวัยรุ่ นที่ส่งผลต่อการมี
สุ ขภาพทรุ ดโทรมเมื่อเป็ นผูใ้ หญ่ที่สาคัญที่สุด
ครึ่ งหนึ่งของผูท้ ี่เสพติดแล้วไม่เลิกจะเสี ยชีวติ จากพฤติกรรมนี้
ในคนไทย 10 คนที่ติดบุหรี่ มี 3 คนเท่านั้นที่จะเลิกได้
ผูใ้ หญ่ที่ติดบุหรี่ ร้อยละ 60 อยากเลิกแต่ไม่สามารถเลิกได้
ผูท้ ี่เสพติดบุหรี่ ส่วนใหญ่เป็ นผูท้ ี่ดอ้ ยการศึกษาและยากจน
บุหรี่ ก่อให้เกิดการสูญเสี ยทั้งทางสุ ขภาพและเศรษฐกิจ
การควบคุมการสูบบุหรี่ เป็ นการลงทุนที่คุม้ ค่าทาไมไม่ทา
การเสี ยชีวติ จากโรคไม่ ติดต่ อ (หลัก)
จานวนผู้เสียชีวิตจากทุกสาเหตุ = 415,900 คน
เสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ (หลัก) = 210,964 คน
= 50.7%
นัน่ คือ ครึ่งหนึ่งของคนไทยเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ
5 โรค (โรคมะเร็ง โรคเส้ นเลือดสมอง โรคเส้ นเลือด
หัวใจ โรคเบาหวาน โรคถุงลมพอง)
คณะทางานภาระโรคฯ กสธ. 2554
40
การเสี ยชีวติ จากโรคไม่ ติดต่ อ (หลัก)
ของคนไทย พ.ศ.2552
•
•
•
•
•
โรคมะเร็ง
โรคเส้ นเลือดสมอง
โรคเส้ นเลือดหัวใจ
โรคเบาหวาน
ถุงลมโป่ งพอง
รวม
=
=
=
=
=
=
80,711 คน
50,829 คน
34,384 คน
26,380 คน
18,660 คน
210,964 คน
คณะทางานภาระโรคฯ กสธ. 2554
41
การเสี ยชีวติ จากโรคไม่ ติดต่ อ (หลัก)
ของคนไทย พ.ศ.2552
จานวนผู้เสียชีวิต
= 210,964
เสียชีวิตก่อนอายุ 60 ปี = 56,960
= 27%
คณะทางานภาระโรคฯ กสธ. 2554
42
•
•
•
•
4 ปัจจัยเสี่ ยง
ยาสูบ
อาหารไม่ถกู สุขลักษณะ
ขาดการออกกาลังกาย
สุรา
 โรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง
 โรคมะเร็ ง
 โรคเบาหวาน
 โรคปอดเรื อ้ รัง
43
ปัจจัยเสี่ ยงโรคไม่ ติดต่ อ (หลัก)
โรคหัวใจและ
หลอดเลือด
โรคมะเร็ง
เบาหวาน
โรคปอดเรื อ้ รัง
ยำสูบ
อำหำรไม่ ถูก
สุขลักษณะ
ขำดกำรออก
กำลังกำย
สุรำ
+
+
+
+
+
+
+
+
+
+
+
+
+
44
จานวนผู้ป่วยโรคไม่ ตดิ ต่ อ (หลัก)
•
•
•
•
•
ความดันโลหิตสูง
เบาหวาน
โรคหัวใจ
โรคเส้ นเลือดสมอง
โรคถุงลมพอง
=
=
=
=
=
10.0 ล้ านคน
3.2 ล้ านคน
690,000 คน
730,000 คน
270,000 คน
การสารวจสุขภาพประชากรไทย ครัง้ ที่ 4 พ.ศ.2552
45
การเสี ยชีวติ ของคนไทยจากโรคทีเ่ กิดจากการสู บบุหรี่
พ.ศ.2552
•
•
•
•
•
•
โรคมะเร็งปอด
โรคมะเร็งอื่น ๆ
โรคถุงลมพอง
โรคปอดอื่น ๆ
โรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง
โรคอื่น ๆ
รวม
=
=
=
=
=
=
=
11,210
6,831
11,614
2,841
10,945
4,803
48,244
คน
คน
คน
คน
คน
คน
คน
คณะทางานภาระโรคฯ กสธ. 2554
46
คนไทย 48,244 คน ที่เสี ยชีวติ จากโรค
ทีเ่ กิดจากการสู บบุหรี่ พ.ศ.2552
•
•
•
•
โดยเฉลี่ยแต่ละคนป่ วยหนักเป็ นเวลา =
รวมเวลาที่เจ็บป่ วยหนัก
=
โดยเฉลี่ยอายุสนลงคนละ
ั้
=
รวมเวลาของชีวิตที่เสียไป
=
2.1 ปี
104,374 ปี
12.1 ปี
587,710 ปี
บุหรี่ เป็ นสาเหตุของการสูญเสียเวลาแห่งชีวิต อันดับที 2 ของคนไทย
คณะทางานภาระโรคฯ กสธ. 2554
47
ความสู ญเสี ยทางเศรษฐกิจจากโรคเรื้อรัง พ.ศ.2552
โรคหัวใจและหลอดเลือด
78,975,589,069 บำท
โรคมะเร็ง
78,254,521,024 บำท
โรคเบำหวำน
24,488,845,584 บำท
โรคปอดเรือ้ รัง
16,793,002,446 บำท
รวม
192,512 ล้ ำนบำท
โครงการศึกษาภาระโรคและปั จจัยเสี่ยง กระทรวงสาธารณสุข
2555
48
ต้ นทุนทางเศรษฐกิจทีเ่ กิดขึน้ จากโรคเรื้อรัง 4 โรค ใน
ประเทศไทย พ.ศ.2552
ค่ ำรักษำพยำบำล
47,314 ล้ ำนบำท
ต้ นทุนทำงตรงที่ไม่ เกี่ยวกับกำรแพทย์
(ค่ ำใช้ จ่ำยครอบครัว)
กำรสูญเสียผลิตภำพ
(ขำดงำนหรือเสียชีวิตก่ อนเวลำ)
3,989
รวม
คิดเป็ นร้ อยละของ GDP
ล้ ำนบำท
147,208 ล้ ำนบำท
198,512 ล้ ำนบำท
2.2%
โครงการศึกษาภาระโรคและปั จจัยเสี่ยง กระทรวงสาธารณสุข
2555
49
ทำไมจึงต้ องรณรงค์ ให้ คน
ไทยไม่ สูบบุหรี่ในบ้ ำน
50
• ควันบุหรี่ มีสารเคมีมากกว่า
7,000 ชนิด
มีสารพิษมากกว่า
250 ชนิด
มีสารก่อมะเร็งมากกว่า 70 ชนิด
• กำรได้ รับควันบุหรี่ ท่ ผี ้ ูอ่ ืนสูบในคนที่ไม่สบู บุหรี่ ทาให้ เกิด
โรคร้ ายแรงได้
• ควันบุหรี่ เป็ นมลพิษทางอากาศที่อันตรำยที่สุดในบ้ ำน
51
ในปี พ.ศ.2547
ข้ อมูลจาก 192 ประเทศ
มีผ้ ไู ม่สบู บุหรี่ ที่เสียชีวิตจากการได้ รับควันบุหรี่ ที่ผ้ อู ื่นสูบ
= 603,000 คน
เป็ นผู้ชาย
= 150,750 คน (25%)
เป็ นผู้หญิง
= 283,410 คน (47%)
เป็ นเด็ก (อายุต่ากว่า 5 ขวบ) = 165,000 คน (28%)
ส่วนใหญ่เป็ นการได้ รับควันบุหรี่ ในบ้ ำน โดยเฉพาะเด็กและผู้หญิง
52
การเสี ยชีวติ จากควันบุหรี่มอื สอง
ใน 192 ประเทศ พ.ศ.2547
จำกโรคหัวใจ
379,000 คน
จำกโรคหอบหืด
36,900 คน
จำกมะเร็งปอด
21,400 คน
จำกโรคติดเชือ้ ในปอด 165,000 คน
รวม
603,000 คน
The Lancet 377, 2011
53
หลักฐานที่แสดงว่ าเด็ก ๆ
จะได้ รับสารพิษหากมีการสู บบุหรี่ในบ้ าน
“การตรวจปั สสาวะเด็กอายุหนึ่งขวบ 531 คน
ใน 5 จังหวัดภาคใต้ ที่มีสมาชิกในบ้ านสูบบุหรี่
พบว่าเด็กหนึ่งขวบ 295 คนหรื อ 55.5%
สามารถตรวจพบสารโคตินินในปั สสาวะ”
พญ.วนพร อนันตเสรี พ.ศ.2550
54
ผู้สูบบุหรี่ไทยทีเ่ คยสู บบุหรี่ในบ้ าน
พ.ศ.2544
พ.ศ.2547
พ.ศ.2548
พ.ศ.2550
85.76%
84.50%
เริ่มรณรงค์บ้านปลอดบุหรี่
58.95%
สานักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ.2552
55
การสารวจของสานักงานสถิตแิ ห่ งชาติ พ.ศ.2549
มีเด็กไทยอายุต่ากว่า 5 ขวบ
2.28 ล้ านคน
ที่ได้ รับควันบุหรี่ มือสองในบ้ าน
56
การสารวจความคิดเห็นเรื่ องการสูบบุหรี่
และการรณรงค์ “บ้ านปลอดบุหรี่ ”
ของผู้ปกครอง 658 คนที่พาบุตรหลานอายุ 1-4 ขวบ
มารับบริการตรวจรักษา
ที่สถาบันเด็กแห่งชาติมหาราชินี
กุมภาพันธ์ 2551
57
• ร้ อยละ 82 ของผู้ปกครองที่สบู บุหรี่ มีการสูบบุหรี่ ในบ้ าน
• %ของผู้ปกครองที่ทรำบว่า ควันบุหรี่ มือสอง ทาให้ เด็กป่ วยด้ วย
โรคต่อไปนี ้ได้
- เป็ นหวัดบ่อยขึ ้น
= 37.0%
- เกิดการติดเชื ้อทางเดินหายใจ = 51.8%
- เกิดหลอมลมอักเสบ
= 48.8%
- ทาให้ หืดจับบ่อยขึ ้น
= 53.8%
- เกิดโรคหูน ้าหนวก
= 17.4%
- เกิดโรคไหลตาย
= 17.0%
สานักวิจยั เอแบคโพลล์ กุมภาพันธ์ 2551
58
การได้ รับควันบุหรี่มือสองของผู้ใหญ่
พ.ศ.
2552
2554
% กำรได้ รับควันบุหรี่
ในบ้ ำน
39.1
36.0
คิดเป็ นจำนวน
(ล้ ำนคน)
20.5
19.5
การสารวจการสูบบุหรี่ ของผู้ใหญ่ พ.ศ.2554
59
การได้ รับควันบุหรี่มือสองในบ้ านของผู้ใหญ่ อายุ 15 ปี ขึน้ ไป
ภาคใต้
ภาคเหนือ
ภาคอีสาน
ภาคกลาง
กทม.
58.1%
39.4%
38.8%
36.1%
22.8%
การสารวจการสูบบุหรี่ ในผู้ใหญ่ พ.ศ.2552
คิดเป็ นจานวนคนที่ได้ รับควันบุหรี่ มือสองในบ้ าน = 13 ล้ านคน
60
ผลเสี ยของการสู บบุหรี่ในบ้ าน
• เป็ นการทาให้ อากาศในบ้ านมีสารพิษและสารก่อมะเร็ ง
• คนในบ้ านโดยเฉพาะเด็กได้ รับอันตรายจากควันบุหรี่
มือสอง
• เป็ นแบบอย่างที่ไม่ดี เป็ นการสอนลูกให้ สบู บุหรี่
• ทาให้ คนสูบบุหรี่ เลิกสูบยากขึ ้น
61
อัตราการสู บบุหรี่อายุ >15 ปี
ชำย
หญิง
2552
45.6
3.2
2554
46.6
2.6
ชำยอำยุ 25-44 ปี = 50.4%
การสารวจการสูบบุหรี่ ระดับโลก
62
• ในแต่ละปี มีเด็กไทยคลอด = 600,000 – 700,000 คน
• ชายไทยอายุ 25-44 ปี ร้ อยละ 50.4 สูบบุหรี่
(พ.ศ.2554)
• ดังนัน้ เด็กไทยที่คลอดในแต่ละปี
จะมีพอ่ ที่เป็ นคนสูบบุหรี่ = 300,000 – 350,000 คน
โจทย์ คือ จะทาอย่างไรให้ พอ่ เลิกสูบ
หรื ออย่างน้ อยไม่สบู บุหรี่ ในบ้ าน
63
วันงดสู บบุหรี่โลก
31 พฤษภาคม 2551
“Tobacco Free Youth”
“เยาวชนรุ่ นใหม่ ร่ วมใจ ต้ านภัยบุหรี่”
นำยแสงฉำน จิรวงศ์ สวัสดิ์
โรงเรียนนวมินทรำชินูทศิ สตรีวิทยำ พุทธมณฑล
เอกสำรประกอบกำรรณรงค์ ขององค์ กำรอนำมัยโลก
64
สถานการณ์ โลก
• ทั่วโลกมีเยำวชนอำยุ 15-24 ปี หนึ่งพันหนึ่งร้ อยล้ ำน
คน เป็ นประชำกรกลุ่มเสี่ยงที่จะเสพติดบุหรี่
• ในแต่ ละวันมีเยำวชนติดบุหรี่ใหม่ 82,000 – 99,000
คนทั่วโลก
• เยำวชนของโลก 250 ล้ ำนคนที่มีชีวติ อยู่จะเสียชีวติ
จำกกำรสูบบุหรี่ ตำมแนวโน้ มในปั จจุบนั
65
การเสพติดบุหรี่ในเยาวชน
• ส่วนใหญ่เริ่ มต้ นสูบบุหรี่ ก่อนอายุ 18 ปี
• อายุเฉลี่ยของการเสพติดบุหรี่ = 18 ปี
• หนึง่ ในสามถึงครึ่งหนึง่ ของเด็กที่ทดลองสูบบุหรี่ จะ
กลายเป็ นคนติดบุหรี่
• การเสพติดบุหรี่ ของวัยรุ่นนาไปสูก่ ารเสพสิ่งเสพติด
อื่น เช่น สุรา ยาเสพติดที่ผิดกฎหมาย และการมี
เพศสัมพันธ์ก่อนวัย
66
ปัจจัยทีส่ ่ งผลต่ อการติดบุหรี่ของเยาวชน
• กำรสูบบุหรี่ ของพ่ อแม่ และเพื่อน
• ค่ ำนิยมของกำรสูบบุหรี่ ในสังคม
• กำรเข้ ำถึงสินค้ ำบุหรี่ได้ ง่ำย
• กำรตลำดของบริษัทบุหรี่
67
การสารวจพฤติกรรมการสู บบุหรี่ของเด็กนักเรียนอายุ
13-15 ปี ของ 151 ประเทศทัว่ โลก พ.ศ.2550 พบว่า
•
•
•
•
หนึ่งในสิบของเด็กนักเรียนเสพติดบุหรี่
ครึ่งหนึ่งของเด็กเหล่ ำนีไ้ ด้ รับควันบุหรี่มือสองในบ้ ำน
ร้ อยละ 60 ได้ รับควันบุหรี่มือสองที่อ่ นื นอกบ้ ำน
หนึ่งในสี่ของเด็กนักเรียนที่สูบบุหรี่เริ่มทดสองสูบก่ อน
อำยุ 10 ขวบ
• หนึ่งในสิบของนักเรียนเคยได้ รับกำรแจกบุหรี่ จำก
ผู้แทนบริษัทบุหรี่
68
ข้ อมูลสารวจของเยาวชนไทยอายุ 13-15 ปี
•
•
•
•
•
ประมำณหนึ่งในห้ ำมีกำรใช้ ยำสูบรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง
ร้ อยละ 14 สูบบุหรี่
ประมำณครึ่งหนึ่งได้ รับควันบุหรี่มือสองในบ้ ำน
ประมำณสองในสำมได้ รับควันบุหรี่มือสองนอกบ้ ำน
เกือบครึ่งหนึ่งมีผ้ ูปกครองที่สูบบุหรี่
ดร.นิทศั น์ ศิริโชติรัตน์
69
ข้ อมูลสารวจของเยาวชนไทยอายุ 13-15 ปี (ต่ อ)
• หนึ่งในสิบมีเพื่อนที่สูบบุหรี่
• สองในสำมเชื่อว่ ำควันบุหรี่ของคนอื่นเป็ นอันตรำต่ อสุขภำพของ
เขำ
• หนึ่งในสิบเคยได้ รับแจกบุหรี่โดยผู้แทนบริษัทบุหรี่
• สองในห้ ำมีของใช้ ท่ ีมีโลโกบุหรี่
• เจ็ดในสิบของนักเรียนที่สูบบุหรี่ต้องกำรที่จะเลิกสูบ
• เก้ ำในสิบเห็นข่ ำวสำรกำรรณรงค์ ไม่ สูบบุหรี่ในสื่อสำรมวลชน
• หกในสิบได้ รับกำรสอนถึงพิษภัยของบุหรี่ในโรงเรียนในรอบปี ที่
ผ่ ำนมำ
70
ผลกระทบต่ อสุ ขภาพของวัยรุ่ นทีส่ ู บบุหรี่
•
•
•
•
•
สุขภำพจะไม่ สมบูรณ์ เท่ ำผู้ท่ ไี ม่ สูบบุหรี่
ทำให้ ปอดพัฒนำไม่ เต็มที่
ออกกำลังกำยได้ น้อยกว่ ำคนไม่ สูบ
มีอำกำรทำงระบบหำยใจมำกกว่ ำ เช่ น ไอ เหนื่อยง่ ำย
นำไปสู่กำรติดสิ่งเสพติดอื่น
71
การสู บบุหรี่ของพ่ อแม่
• พ่ อแม่ ท่ สี ูบบุหรี่ เพิ่มควำมเสี่ยงที่ลูกจะติดบุหรี่
• พ่ อแม่ ท่ ไี ม่ เห็นด้ วยอย่ ำงยิ่งกับกำรสูบบุหรี่ ของลูก จะลด
โอกำสกำรติดบุหรี่ของลูก ไม่ ว่ำพ่ อแม่ จะสูบบุหรี่หรือไม่
ก็ตำม
• กำรสูบบุหรี่ในบ้ ำนเพิ่มควำมเสี่ยงที่ลูกจะติดบุหรี่
• กำรห้ ำมสูบบุหรี่ในบ้ ำนลดโอกำสกำรติดบุหรี่ ของลูก แม้
พ่ อแม่ จะเป็ นคนสูบบุหรี่
72
การสู บบุหรี่ของเพือ่ น
• การมีเพื่อนที่สบู บุหรี่ เป็ นปั จจัยสาคัญที่สดุ ที่จะทาให้ วยั รุ่นติด
บุหรี่
อำจเป็ นผลจำก
- แรงกดดันของเพื่อน
- เลียนแบบเพื่อน
- เลือกคบเพื่อนที่สบู บุหรี่
73
ขั้นตอนที่นาไปสู่ การเสพติดบุหรี่
• ระยะทดลองสูบ
• ระยะที่สบู เป็ นครัง้ คราว
• การสูบทุกวันจนติดบุหรี่
74
ในวัยรุ่ นทีอ่ ยู่ในช่ วงทดลองสู บบุหรี่
ปั จจัยที่จะทำให้ กลำยเป็ น
คนสูบบุหรี่ ประจำคือ
• กำรมีปัญหำในครอบครัว
• กำรเข้ ำถึงบุหรี่ได้ ง่ำย
• กำรที่มีเพื่อนที่สูบบุหรี่
75
การยอมรับของสั งคมต่ อการสู บบุหรี่
• การไม่ยอมรับการสูบบุหรี่ ของสังคม
• การห้ ามสูบบุหรี่ ในสถานที่สาธารณะ
มีอทิ ธิพลสูงสุดต่ อกำรที่วัยรุ่ นจะไม่ สูบบุหรี่
76
อิทธิพลของการได้ รับควันบุหรี่มอื สอง
• วัยรุ่ นที่ไม่ สูบบุหรี่ ท่ ไี ด้ รับ
ควันบุหรี่ มือสองที่บ้ำน มี
โอกำสติดบุหรี่ เพิ่มขึน้ 1.4
ถึง 2.1 เท่ ำ เมื่อเทียบกับ
วัยรุ่ นที่ไม่ ได้ รับควันบุหรี่ มือ
สองที่บ้ำน
77
• วัยรุ่ นที่ไม่ สูบบุหรี่ ท่ ไี ด้ รับควันบุหรี่มือสองที่
อื่นนอกบ้ ำน
มีโอกำสติดบุหรี่ เพิ่มขึน้ 1.3 ถึง 1.8 เท่ ำของ
วัยรุ่ นที่ไม่ ได้ รับควันบุหรี่มือสองที่อ่ นื
78
• การให้ เยาวชนมีส่วนร่ วมในกำรควบคุม
ยำสูบและรู้ กลยุทธ์ ของบริษัทบุหรี่ ลด
โอกาสการติดบุหรี่ ของเยาวชน
79
การตลาดของบริษทั บุหรี่
• บริ ษัทบุหรี่ มีการวางแผนการตลาดด้ วยวิธีการต่าง ๆ เพื่อดึงดูด
เยาวชน
นายเบนเนท ลีโบว ประธานบริ ษัทเวคเตอร์ กรุ๊ป เจ้ าของบุหรี่
ชื่อดังหลายยี่ห้อกล่าวว่า
“ถ้ ำบริษัทบุหรี่หยุดทำกำรตลำดที่พ่ ุงเป้ำที่วัยรุ่ น บริษัท
จะต้ องเลิกกิจกำรในเวลำ 25 ถึง 30 ปี เพรำะจะไม่ มี
ลูกค้ ำพอที่บริษัทจะอยู่ได้ ”
80
กลยุทธ์ ทางการตลาดของบริษทั บุหรี่
1. การออกแบบตัวสินค้ าและซองบุหรี่
- การปรุงแต่งกลิ่นรสให้ ไม่ระคายคอ เพื่อให้ ทดลอง
สูบง่าย
- การปรุงแต่งให้ มีรสผลไม้ รสขนม เพื่อให้ เด็ก ๆ
เข้ าใจว่าเป็ นบุหรี่ ปลอดภัย
81
1. การออกแบบซองบุหรี่
นายฟิ ลิป กาเบอร์ แมน หัวหน้ าฝ่ ายครี เอทีฟขอ
โรเบริต ไบรอัน แอสโซซิเอจ เปิ ดเผยว่า
“เรำได้ รับกำรติดต่ อจำกลูกค้ ำให้ ออกแบบ
ซองบุหรี่ท่ ดี งึ ดูดวัยรุ่ น แบบซองที่ออกจะต้ อง
เตะตำวัยรุ่ น”
82
2. จุดขาย
•
•
•
•
•
ทาให้ มีจดุ ขายมากที่สดุ
ใช้ จดุ ขายเป็ นที่สง่ เสริ มการขาย
ให้ ผลตอบแทนแก่ร้านขายปลีกเพื่อให้ พยายามเพิ่มยอดขาย
จ่ายเงินเพื่อให้ บหุ รี่ ได้ วางในจุดที่จะเห็นได้ เด่นชัดที่สดุ
เสนอขายผ่านช่องทางที่วยั รุ่นเข้ าถึงแต่ควบคุมยาก เช่น
อินเตอร์ เน็ต ไนต์คลับ
83
3. ราคา
• บริษัทบุหรี่ คดั ค้ านการขึ ้นภาษีบหุ รี่ เพราะราคาบุหรี่ ที่แพงขึ ้นจะทาให้
เด็กๆ ไม่สามารถซื ้อได้
• ขายโดยการลดแลกแจกแถม
• ออกบุหรี่ ตราใหม่ที่ราคาถูก
• การทาบุหรี่ ซองขนาดเล็ก
• การแบ่งซองขาย
• แจกบุหรี่ ให้ แก่เด็ก ๆ
84
4. การโฆษณาและส่ งเสริมการขาย
• การโฆษณาโดยตรง (ประเทศไทยห้ าม)
• การโฆษณาแฝงผ่านการสนับสนุนศิลปะ กีฬา และบันเทิง
โดยเฉพาะการจ้ างให้ มีฉากสูบบุหรี่ ในภาพยนตร์
• การวิจยั พบว่า ฉากสูบบุหรี่ ภาพยนตร์ มีความสัมพันธ์กบั
การที่วยั รุ่นมีทศั นะคติที่ดีตอ่ การสูบบุหรี่
85
การโฆษณาแฝง
• โดยการทำให้ โลโกบุหรี่ปรำกฏในสินค้ ำ
ต่ ำง ๆ เช่ น เสือ้ กำงเกง หมวก กระเป๋ำ
เป้ และเครื่องใช้ อ่ นื
• การวิจยั พบว่าเด็กที่ใช้ เครื่ องใช้ ที่มีโลโกสินค้ า
บุหรี่ ที่เชื่อว่าตัวเองจะหยุดสูบบุหรี่ เมื่อไรก็ได้
ร้ อยละ 52 กลายเป็ นผู้สบู บุหรี่ ถาวรใน
ภายหลัง
86
โครงการคืนกาไรสู่ สังคม
• กำรสนับสนุนโครงกำรป้องกันวัยรุ่ น
ไม่ ให้ สูบบุหรี่ ซึ่งพิสูจน์ แล้ วว่ ำไม่ ได้ ผล
• กำรสนับสนุนกิจกรรมต่ ำง ๆ ใน
โรงเรียน กำรซื่ออุปกรณ์ กำรเรียน
• กำรบริจำคเงินสนับสนุนศิลปะ และกำร
กีฬำ
• กำรบริจำคเงินให้ แก่ ผ้ ูประสบอุบตั ภิ ยั
87
วัตถุประสงค์ เพือ่
• สร้ างภาพลักษณ์ให้ แก่บริ ษัท
• สร้ างความสัมพันธ์กบั ผู้กาหนด
นโยบาย
• เพื่อลดกระแสรณรงค์ควบคุมยาสูบ
• เพื่อปิ ดปากผู้กาหนดนโยบายไม่ให้
อออกมาตรการควบคุมยาสูบ
88
โจทย์ สาหรับสั งคมไทย
• ภาคส่วนต่าง ๆ ในสังคมไทยควรจะมี
บทบาทอย่างไรในการป้องกันเด็กไทยจาก
การเสพติดบุหรี่
89
90
ทาไม
ต้ องห้ ามบริษทั บุหรี่
ทากิจกรรม CSR
ศ.นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ
เลขาธิการมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
17 พฤษภาคม 2555
Action on Smoking and heath Foundation/มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สบ
ู บุหรี่
91
มาตรา 5.3 อนุสัญญาควบคุมยาสู บองค์ การอนามัยโลก
หลักการ : ผลประโยชน์ของบริ ษทั บุหรี่ กบั
ผลประโยชน์จากนโยบายสาธารณสุ ขขัดแย้ง
กันอย่างสิ้ นเชิง อย่างที่ไม่สามารถจะ
ออมชอมกันได้
92
4 เป้ าหมายของฟิ ลลิป มอริส อินเตอร์ เนชั่นแนล
• สร้างผลตอบแทนสู งสุ ดแก่ผถู ้ ือหุ น้
• เพื่อตอบสนองความต้องการของผูส้ ูบบุหรี่ ด้วยผลิตภัณฑ์ที่
คุณภาพสู งสุ ดในแต่ละกลุ่มตลาด
• พัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อลดความเสี่ ยงโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่
• เป็ นองค์กรที่รับผิดชอบต่อสังคม และทาธุรกิจด้วยความ
น่าเชื่อถือสู งสุ ด
93
เป้าหมายบริษัทบุหรี่
ขายบุหรี่ ให้ได้มากที่สุด
เพื่อให้ได้ผลกาไร
สูงสุ ด
เป้ำหมำยนโยบำยสำธำรณสุข
ลดการใช้ยาสูบให้นอ้ ย
ที่สุด เพื่อป้ องกันการ
ป่ วยยาสูบ
94
บริ ษทั บุหรี่ เป็ นผูผ้ ลิต และส่ งเสริ มการขายสิ นค้ายาสูบ ซึ่งเป็ น
สิ่ งเสพติด และทาให้ ครึ่งหนึ่งของผู้บริโภคเสี ยชีวติ จึงเป็ นไป
ไม่ได้ที่บริ ษทั บุหรี่ จะแสดงความรับผิดชอบโดยการทา
กิจกรรมเพื่อสังคม
(ผลิตและส่ งเสริ มการขายด้ วยการวางแผนอย่ างจงใจ และแบบมืออาชี พ)
95
การเสี ยชีวติ จากการสู บบุหรี่ต่อปี ทั่วโลก (2558)
ประมาณการ (คน) คิดเป็ น%
จานวนผูเ้ สี ยชีวิต
6,330,000
จากโรคมะเร็ ง
2,210,000
33%
โรคทางเดินหายใจ
1,870,000
29%
หัวใจและหลอดเลือด
1,860,000
29%
จากโรคอื่น ๆ
480,000
7%
* The Tobacco Atlas 4th Edition 2012
96
โรงงานยาสู บ
วิสัยทัศน์ :เป็ นองค์กรระดับนาในธุรกิจยาสูบที่มีความ
รับผิดชอบต่อสังคม สิ่ งแวดล้อม และมุ่งสู่ธุรกิจอื่น
พันธกิจ: เป็ นผูน้ าในการผลิตและจาหน่ายบุหรี่ ที่มี
คุณภาพ ได้มาตรฐานเป็ นที่ยอมรับ....คานึงถึงสุ ขภาพ
ของผูบ้ ริ โภคและมุ่งสู่ธุรกิจอื่น
97
การเสี ยชีวติ จากการสู บบุหรี่ของคนไทยต่ อปี
พ.ศ.2552 (คน)
คิดเป็ น %
จานวนผูเ้ สี ยชีวิต
48,244
จากโรคมะเร็ ง
18,041
37.4%
โรคทางเดินหายใจ
14,455
29.9%
หัวใจและหลอดเลือด
10,945
22.6%
จากโรคอื่น ๆ
4,803
9.9%
* การศึกษาปัจจัยเสี่ยงและภาระโรค กระทรวงสาธารณสุ ข
98
ในปี พ.ศ.2553 โรงงานยาสู บมีกาไรสุ ทธิ 5,817 ล้าน
บาท หากคานวณตาม Tobacco Atlas ผลกาไรนีจ้ ะต้ อง
ได้ มาจากการเสี ยชีวติ จากผู้สูบบุหรี่ 31,786 คน
99
คนไทยสู ญเสี ยจากบุหรี่
• คนไทยเสี ยชีวิตจากการสูบบุหรี่ พ.ศ.2552
= 48,244 คน
ในจานวนนี้ 14,204 คนหรื อ 29.4% เสี ยชีวิตก่อนอายุ 60 ปี
• แต่ละคนที่เสี ยชีวิตเฉลี่ยอายุส้ นั ลง
= 12.1
ปี
• รวมจานวนปี ของชีวิตที่สูญเสี ยไป
= 583,752 ปี
• แต่ละคนที่เสี ยชีวิตป่ วยหนักจนคุณภาพชีวิตเท่ากับสูญ หรื อคิดเป็ น 2.1 ปี
• รวมจานวนปี ที่คุณภาพชีวิตเท่ากับสูญ
= 101,312 ปี
100
บริษทั บุหรี่ คือ
อุปสรรคสาคัญทีส่ ุ ด
องค์การอนามัยโลก
“การขัดขวาง / แทรกแซงนโยบายควบคุมยาสูบ
ของบริ ษทั บุหรี่ เป็ นอุปสรรคสาคัญทีส่ ุ ด ของการ
ควบคุมยาสูบทั้งในระดับประเทศและระดับโลก”
101
บริ ษทั บุหรี่ เป็ นพาหะนาโรคที่เกิดจากการสู บบุหรี่
เหมือนกับที่เชื้อแบคทีเรี ย ทาให้เกิดโรคติดเชื้อต่าง ๆ
แต่มีบางเรื่ องที่เชื้อโรคไม่ทา
เชื้อโรคไม่มีการวิง่ เต้นนักการเมืองเพื่อให้ช่วยแพร่ โรค เชื้อ
โรคไม่ใช้เงินนับล้าน เพื่อโฆษณาและส่ งเสริ มการขาย
เพื่อให้คนสู บบุหรี่ มากขึ้น
โธมัส ฟริ ดเดน
ผู้อานวยการศูนย์ ควบคุมโรคสหรั ฐอเมริ กา
102
บุหรี่แทรกแซงนโยบายในประเทศไทยอย่างไรบ้ าง
• คัดค้าน - การขึ้นภาษียาสูบ
- การปรับโครงสร้างภาษียาสูบ
- การเก็บภาษียาเส้น
• คัดค้านการเปลี่ยนคาเตือนที่มีขนาดใหญ่ข้ ึน
• คัดค้านการออกกฎกระทรวงเกี่ยวกับการเปิ ดเผย
ส่ วนประกอบบุหรี่ ซิกาแรต
• คัดค้านการออกประกาศห้ามพิมพ์คาว่า เมนทอล
บนซองบุหรี่
• การทุ่มทา CSR
103
บริษทั บุหรี่
ทากิจกรรมเพือ่ สั งคม (CSR) เพือ่
อะไร
104
“การสร้างชื่อเสี ยงให้ บริษทั เป็ นทีร่ ้ ู จกั
ของตลาดเป็ นวิธีหนึ่งที่สร้ างความ
แข็งแกร่ งให้ กบั ตัวสิ นค้ า”
นายแพทริ ค รี การ์ ท ผู้จัดการฝ่ ายกิจกรรมองค์ กร
บริ ษทั บุหรี่ ฟิ ลลิป มอริ ส พ.ศ.2537
105
“การให้เงินสนับสนุนการจัดกิจกรรม เช่น
การแสดงดนตรี ศิลปะ หรื อการแข่งขันกีฬา
บราวน์แอนด์วลิ เลียมสัน ให้ สปอนเซอร์ เพือ่
สนับสนุนให้ บุหรี่ยหี่ อ้ ต่าง ๆ ของเราเป็ นที่
รู้ จกั มากกว่าบุหรี่ ของคู่แข่ง และเพื่อเป็ น
ช่องทางในการสร้างภาพลักษณ์ยหี่ อ้ บุหรี่ ”
บริ ษทั บราวด์ แอนด์ วิลเลียมสัน
106
ทางออกของสั งคมไทย
ออกกฏหมำยเข้ มข้ น
ห้ ำมบริษัทบุหรี่ ทำกิจกรรม CSR
107
มาตรการ 5.3 อนุสัญญาควบคุมยาสู บ
องค์ การอนามัยโลก กาหนดให้
1. ประชาสัมพันธ์ให้ทุกภาคส่ วนของสังคมรู้ถึงกล
ยุทธ์การแทรกแซงนโยบายควบคุมยาสูบโดยบริ ษทั
บุหรี่
2. จากัดการติดต่อระหว่างเจ้าหน้าที่รัฐกับผูแ้ ทน
บริ ษทั บุหรี่ ให้เหลือเท่าที่จาเป็ นในการบังคับใช้
กฎหมายควบคุมยาสูบเท่านั้น
108
มาตรการ 5.3 อนุสัญญาควบคุมยาสู บ
องค์ การอนามัยโลก กาหนดให้
3. ป้ องกันการเกิดกรณี ผลประโยชน์ทบั ซ้อน โดยห้ าม
เจ้ าหน้ าที่รัฐร่ วมกิจกรรมเพือ่ สั งคมที่จดั โดยบริ ษทั บุหรี่
ห้ามรับบริ จาคหรื อบริ การจากบริ ษทั บุหรี่
4. รณรงค์ให้รู้ถึงวัตถุประสงค์ที่แท้จริ งของกิจกรรมเพื่อ
สังคมของบริ ษทั บุหรี่ (เพื่อลดทอนกระแสการควบคุม
ยาสู บ ผูกมิตรกับผูก้ าหนดนโยบาย ซื้ อความเงียบ และ
คัดค้านมาตรการควบคุมยาสูบ)
)109
มาตรการ 5.3 อนุสัญญาควบคุมยาสู บ
องค์ การอนามัยโลก กาหนดให้
5. ห้ามประชาสัมพันธ์การทากิจกรรมเพือ่ สังคม
ของบริ ษทั บุหรี่
6. ห้ามการทากิจกรรมเพื่อสังคมโดยบริ ษทั บุหรี่
(มาตรา 13)
110
ประกาศกรมประชาสั มพันธ์
เรื่ อง หลักเกณฑ์และมาตรการเพื่อลดการ
บริ โภคยาสู บทางสถานีวทิ ยุและโทรทัศน์
“ห้ามประชาสัมพันธ์การสนับสนุนกิจกรรม
โดยบริ ษทั บุหรี่ ”
12 พฤษภาคม 2548
111
มติ ครม.
17 เมษายน 2555
ให้หน่วยงานราชการปฏิบตั ิตามแนวทางของกรอบ
อนุสญ
ั ญาว่าด้วยการควบคุมยาสูบขององค์การอนามัย
โลก โดยเฉพาะมาตรา 5.3 การป้ องกันการแทรกแซง
นโยบายควบคุมยาสู บของรัฐโดยอุตสาหกรรมยาสู บ
โดยการกาหนดนโยบายหรื อระเบียบภายในหน่วยงาน
เพื่อป้ องกันการแทรกแซงดังกล่าว
112
มติ ครม.
17 เมษายน 2555
• ให้กระทรวงการคลัง : ห้ามธุรกิจยาสูบทากิจกรรม
ภายใต้นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR)
• ให้กระทรวงวัฒนธรรม กรมประชาสัมพันธ์ และ
กระทรวงเทคโนโลยีและสื่ อสารปรับปรุ งกฎหมายเพื่อ
ห้ามประชาสัมพันธ์กิจกรรมเพื่อสังคมของภาคธุรกิจ
ยาสูบ ทางภาพยนตร์ โทรทัศน์และสื่ อมวลชนต่าง ๆ
113
มติ ครม.
17 เมษายน 2555
• ให้คณะกรรมการควบคุมการบริ โภคยาสูบ
แห่งชาติ (คบยช.) เป็ นหน่วยงานหลักร่ วมกับภาคี
เครื อข่ายระดับจังหวัด อาเภอ ตาบล หมู่บา้ น และ
ชุมชนสร้างแรงจูงใจในการดาเนินการตามมติ
และติดตามงานตามมติน้ ี
114