การศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับศตวรรษที่ ๒๑
Download
Report
Transcript การศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับศตวรรษที่ ๒๑
การศึกษาที่มีคุณภาพสาหรับศตวรรษที่ ๒๑
วิจารณ์ พานิช
บรรยายในกาหนดการประชุมวิชาการ ครัง้ ที่ ๖ สมาคมเครื อข่ายพัฒนาวิชาชีพอาจารย์และองค์กรระดับอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย (ควอท.) ประจาปี ๒๕๕๔ “เรื่ องการศึกษา
มุง่ ผลลัพธ์: ก้ าวสูบ่ ณ
ั ฑิตคุณภาพในศตวรรษที่ 21” วันที่ ๒๙ ก.ค. ๕๔
ความหมายของ “ศตวรรษที่ ๒๑”
• โลกเปลี่ยนแปลงเร็วขึน้ ๆๆ และไม่ แน่ นอน
• ความรู้เปลี่ยนชุด งอกเร็ว
• สารสนเทศเพิ่มแบบระเบิด คนถูกกระแสรอบ
ทิศ
• วัตถุมากล้ น จิตวิญญาณจาง
• โลกถึงกันหมด
• คนเปลี่ยน ชีวิตเปลี่ยน งานเปลี่ยน
การศึกษาที่มีคุณภาพ
ศตวรรษที่ ๒๐, ๑๙
•
•
•
•
•
•
•
•
•
Teaching
Teach content
Teacher
Content-Based
Classroom
Lecture
Teaching – personal
Sequential learning
Assessment : P - F
ศตวรรษที่ ๒๑
•
•
•
•
•
•
•
•
•
Learning
Inspire
Coach, Facilitator
Skills – Based
Studio
PBL
PLC
Integrated learning
Assessment : Reform 3
คุณภาพของระบบการเรี ยนรู้
ต้ องไปให้ ถงึ
• 21st Century Skills
• Transformative Learning (จาก
informative & formative)
• มี Change Agent Skills, Leadership
• ความเป็ นพลเมือง
21st Century Student Outcomes & Support Systems
Learning & Innovation Skills
Core Subjects & 21st
Century Themes
Life & Career Skills
Standards & Assessments
Information, Media, &
Technology Skills
Curriculum & Instruction
Professional Development
Learning Environment
http://gotoknow.org/blog/thaikm/tag/21st Century Skills
3Rs + 7Cs
•
•
•
•
•
•
+ 2L
Reading, ‘Riting, ‘Rithmetics
Critical thinking & problem solving
Creativity & innovation
Collaboration, teamwork & leadership
Cross-cultural understanding
Communication, information & media
literacy ( 2 – 3 ภาษา)
Learning
• Computing & media literacy
Leadership
• Career & learning self-reliance
• Change
ทักษะที่ต้องการได้ แก่
•
•
•
•
•
•
•
•
•
Learning Skills
Critical Thinking, Leadership Skills
Complex Problem-Solving, Innovation
Collaboration & Competition, Sharing Skills
Personal Mastery
Empathy
Communication (รวม Listening)
Life Skills, Intercultural Skills
Etc.
“อ่ านออกเขียนได้ ” (Literacy) ตีความใหม่
•
•
•
•
•
•
•
•
•
Media Literacy
Communication Literacy
Team Literacy, Social Literacy
Networking Literacy
Environment / Earth Literacy
STEM Literacy
Aesthetics Literacy
Civic Literacy
Etc.
รู้ ใช้ ในชีวติ ประจาวัน รู้เท่ าทัน
Maslow's hierarchy of needs
บันได ๖ ขัน้ ของการพัฒนาคุณธรรม
•
•
•
•
•
ขัน้ ที่ ๑ ปฏิบัตเิ พราะความกลัว ไม่ อยากเดือดร้ อน
ขัน้ ที่ ๒ ปฏิบัตเิ พราะอยากได้ รางวัล
ขัน้ ที่ ๓ ปฏิบัตเิ พราะอยากเอาใจคนบางคน
ขัน้ ที่ ๔ ปฏิบัตเิ พราะต้ องปฏิบัตติ ามกฎ
ขัน้ ที่ ๕ ปฏิบัตเิ พราะต้ องการให้ ตนดูดี ให้ ได้ ช่ ือว่ าเป็ นคนดี ให้ ได้
ชื่อว่ ามีนา้ ใจ
• ขัน้ ที่ ๖ ปฏิบัตติ ามหลักการ หรืออุดมการณ์ ของตน ไม่ ต้องการ
ให้ มีคนยกย่ องชมเชยหรือให้ รางวัล
Lawrence Kohlberg's stages of moral development
21st Century Learning
•
•
•
•
•
•
Teach less, Learn more
Beyond subject matters
Student-directed Learning
Collaborative (> Competitive)
Team (>Individual) Learning
New paradigm of evaluation : beyond
standard, evaluate team, open (not
secret) approach
Level
Objectives
Outcome
Informative
• Information
• Skills
Experts
Formative
• Socialization
• Values
Professionals
Transformative
• Leadership
attributes
Change agents
Table III-1. Levels of learning
From L Chen
วิธีจัดการเรี ยนรู้ 21st Century Skills
• ใช้ PBL
• Team Learning
• Studio-Type Room
• นาเสนอต่ อเพื่อนร่ วมชัน้ และ....
• ครู/อาจารย์ เป็ น โค้ ช facilitator
• พ่ อแม่ คนในชุมชน / ในระบบบริการสุขภาพ
การเรียนการสอน
Civic Education และ Service
Learning
ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
“พลเมือง” กับความรับผิดชอบต่ อสังคม
และ “การเรียนโดยบริการสังคม”
นาเสนอต่ อคณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.)
วันที่ ๓ มีนาคม ๒๕๕๔
โดย ผศ. ดร. ปริญญา เทวานฤมิตรกุล
หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป
• ม. ธรรมศาสตร์ รศ. ดร. ปริญญา เทวานฤมิตรกุล
• วิชาพลเมืองกับความรั บผิดชอบต่ อสังคม (Civic Education)
๓ หน่ วยกิต ๑๖ คาบ x ๓ ชม. กลุ่มคละคณะ
• ครั ง้ ที่ ๑ ปั ญหาของประเทศไทย
• ครั ง้ ที่ ๒ เราทุกคนเป็ นทัง้ ปั ญหาและสาเหตุ แก้ ท่ ีตัวเอง คิด
โครงการ
• ครั ง้ ต่ อๆ ไปเป็ น “ปฏิบัตกิ ารพลเมือง” (Service Learning)
ลงพืน้ ที่ ดาเนินการแก้ ไข
• ประเมินผล
• นาเสนอต่ อเพื่อนในชัน้
วิชาพลเมืองกับความรับผิดชอบต่ อสังคม
•
•
•
•
ใช้ การเรียนรู้แบบ PBL
ได้ 21st Century Skills
ได้ ร้ ูจกั บ้ านเมือง สังคม ชุมชน ด้ วยตนเอง
เป็ นกิจกรรมใน ๑ มหาฯ ๑ จังหวัด ได้ (Service
Learning)
• เป็ นรูปธรรมของ ยุทธศาสตร์ พฒ
ั นาการศึกษาเพื่อ
สร้ างความเป็ นพลเมือง พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๖๑
นศ. เรี ยนด้ วย PBL ในภาคชีวิตจริง
• Team Learning
ความเป็ นพลเมือง
• เป็ น COP เฉพาะกิจ
• ทางาน/โครงการกับ real sector จิตสาธารณะ
• ตัง้ เป้าหมาย - BAR ลงมือดาเนินการร่ วมกัน
• ลปรร. ระหว่ างดาเนินการ – AAR
• Reflection (AAR) ตีความด้ วยแนวคิดของความ
เป็ นพลเมือง เข้ าไปเรียนรู้ปัญหาของสังคม ให้
เห็นว่ าทุกคนเป็ นสาเหตุ และมีโอกาสแก้ ไข
นศ. เรี ยนด้ วย PBL ในภาคชีวิตจริง
• Team Learning
• เป็ น COP เฉพาะกิจ
• ทางาน/โครงการกับ real sector
• ตัง้ เป้าหมาย - BAR ลงมือดาเนินการร่ วมกัน
• ลปรร. ระหว่ างดาเนินการ – AAR
• Reflection (AAR ตีความด้ วยทฤษฎี) เพื่อให้ เกิดการ
เรี ยนรู้ ในมิตทิ ่ ลี ึกและเชื่อมโยง
• รายงานผลต่ อที่ประชุม… / เขียนรายงานผลการวิจัย
21st Century Learning Assessment
• ๓ เปลี่ยน
• จากข้ อสอบเป็ นความลับ เป็ นเปิ ดเผย
• จากสอบเป็ นคนๆ เป็ นสอบเป็ นทีม
• จากถูก-ผิด เป็ นสอบความคิด
ต้ องช่ วยครู /อาจารย์
• ครูยากลาบากกว่ าศิษย์ เพราะครูต้อง
unlearn/delearn & relearn
• ครูต้องเรียนรู้ทกั ษะการเป็ นครู
• ช่ วยด้ วย PLC (Professional Learning
Community) ไม่ ใช่ Training
• ครู/อาจารย์ ใช้ KM / CoP เรียนรู้ทกั ษะการ
เป็ นครู/อาจารย์ ทุกวัน
ทักษะการเป็ นครู
• ทักษะการวินิจฉัยทาความรู้จัก ทาความเข้ าใจ
ศิษย์
• ทักษะการออกแบบการเรียนรู้ ออกแบบ PBL
• ทักษะการชวนศิษย์ ทา reflection / AAR
• ทักษะการเรียนรู้ และสร้ างความรู้ใหม่ จากการ
ทาหน้ าที่ครู
• ทักษะการ ลปรร. ใน PLC
ส่ งเสริมอาจารย์
• ด้ วย PLC เสริมด้ วย Training
• การวิจยั การเรียนรู้
• วิชาการสายการเรียนรู้ เพื่อการเป็ นบัณฑิตเพื่อ
สังคม ตีพมิ พ์ ใน PLOT Learning
• ICT System supporting PLC
• Annual Conference การจัดการเรี ยนรู้ บัณฑิต
เพื่อสังคม ในศตวรรษที่ ๒๑
• รางวัล อาจารย์ นักจัดการเรียนรู้....
สรุ ป การศึกษาที่มีคุณภาพสาหรับศตวรรษที่ ๒๑
• ทัง้ ศิษย์ และอาจารย์ เป็ น “นักเรียน”
• เรียนจาก ปฏิบัติ ปฏิเวธ ปริยัติ ๔๐:๓๐:๓๐
• เรียน Affective, Cognitive, Psychomotor
Domains พร้ อมๆ กัน แบบบูรณาการ เน้ นทักษะ
• ศิษย์ ใช้ PBL+
• อาจารย์ ใช้ PLC+
• เรียนจากการฝึ กฝน (ไม่ ใช่ ท่องบ่ น)