2.การประเมินความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อ

Download Report

Transcript 2.การประเมินความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อ

การประเมินความเสี่ ยงด้ านอนามัยสิ่ งแวดล้ อม
เพือ่ ควบคุมกากับกิจการทีเ่ ป็ นอันตรายต่ อสุ ขภาาพ
พ.ร.บ.การสาธารณสุ ขภ 2535
ปิ ยมาารณ์ ดวงมนตรี
นักวิชาการสาธารณสุ ขภชานาญการ
กองประเมินผลกระทบต่ อสุ ขภาาพ กรมอนามัย
หัวข้อการบรรยาย
1
2
2
หลักการและแนวคิดการประเมินผล
กระทบตอสุ
่ ขภาพ
การประเมินความเสี่ ยงดานอนามั
ย
้
สิ่ งแวดลอมเพื
อ
่ ควบคุมกิจการทีเ่ ป็ น
้
อันตรายตอสุ
่ ขภาพตามพ.ร.บ.การ
สาธารณสุข พ.ศ.2535
ความหมายและความสาคัญของ HIA
ความหมาย : การประเมินผลกระทบตอ
่
สุขภาพ
(Health Impact Assessment)
กระบวนการ วิธก
ี ารและเครือ
่ งมือ ที่
หลากหลาย ทีใ่ ช้เพือ
่ การคาดการณถึ
์ ง
ผลกระทบทีอ
่ าจเกิดขึน
้ จากนโยบาย
แผนงานหรือโครงการทีม
่ ต
ี อสุ
่ ขภาพ
อนามัยของประชาชน และการกระจาย
ของผลกระทบในกลุมประชากร
และการ
่
ประเมินผลกระทบตอสุ
่ ขภาพจะกาหนดถึง
กิจกรรมทีเ่ หมาะสมในการจัดการ
หลักการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
• ใช้หลักความเข้าใจสุขภาพองค์รวม/ปัจจัยกาหนดสุขภาพ/ความเชื่อมโยงของการ
พัฒนาสิง่ แวดล้อม และสุขภาพ
• ใช้หลักพิจารณาด้วยเหตุและผลเปรียบเทียบจากหลักฐานวิทยาศาสตร์/ข้อมูลเชิง
ประจักษ์ต่างๆ
• อาศัยการมีสว่ นร่วมในการพิจารณาจากผูท้ ่มี ีสว่ นเกี่ยวข้อง/ผูม้ ีสว่ นได้สว่ นเสีย
• ทาให้ประชาชนในพื้นที่มีสว่ นร่วมในการตัดสินใจและสนใจ/ตระหนักต่อสุขภาพ
• ให้ความสาคัญต่อผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อชุมชนทุกคน โดยเฉพาะกลุม่ เสีย่ งไว
ต่อการรับสัมผัส
• ช่วยพิจารณาการพัฒนาแบบยัง่ ยืนที่อาศัยหลักของผลกระทบระยะสัน้ ระยะยาว
กรอบแนวคิด :
โครงการ
พัฒนา
ความเชื่อมโยงของการพัฒนาสิง่ แวดล้อมและสุขภาพ
ความเสีย่ งเกิดจากกิจกรรมทัง้
ก่อนดาเนิ นการ ระหว่าง
ดาเนิ นการ
ปิ ดโครงการ
ผลกระทบต่อสุขภาพ
ทางกาย ใจ สังคม
เกิดการเปลี่ยนแปลง
สิง่ แวดล้อม สังคม เศรษฐกิจ
ส่งผลต่อ คนงานและประชาชน
ที่อยู่โดยรอบ
ผลกระทบด้านบวก
ผลกระทบด้านลบ
มาตรการในการส่งเสริม
มาตรการในการลดผลกระทบ
กิจกรรมของโครงการ
• การเตรียมพืน
้ ที่
กอสร
าง
่
้
• การกอสร
าง
่
้
• การขนส่งวัตถุดบ
ิ
• สาธารณูปโภคที่
ใช้
• กระบวนการผลิต
• ของเสี ยเกิดขึน
้
• เทคโนโลยีท ี่
กาจัด
• ขนส่งผลผลิต
ปัจจัยที่
เกิดการ
เปลี
่ นแปลง
สิ่ งย
แวดล
อม
้
ทาง
กายภาพ
พฤติ
กรรม
สุขภาพ
ระบบบริ
การ
สาธารณสุข
การมีงานทา
วิถช
ี ว
ี ต
ิ ของคน
ในชุมชน/สวล.
ทางสั งคม
ผลกระทบ
ตอ
่
สุขภาพ
-สุขภาพ
กาย
-สุขภาพจิ
ต
-สุขภาพ
สั งคม
ดี
หรือไมดี
่
ผลกระทบต่อสงิ่ แวดล ้อมและสุขภาพจากโครงการโรงไฟฟ้ า
กระบวนการผลิต
ถ่านหิน
ก๊าซธรรมชาติ
การขนสง่
ื้ เพลิง
เชอ
ชวี มวล
ื้ เพลิง
การเก็บเชอ
การแย่ง ชงิ น้ า
ปรับปรุง
คุณภาพน้ า
มลพิษ
ผลกระทบต่อสุขภาพ
- ฝุ่ นละออง
- อุบัตเิ หตุ
การบาดเจ็บ/อุบต
ั เิ หตุ
จากการก่อสร ้าง การ
คมนาคม
- ฝุ่ นละออง
- ไฮโดรคาร์บอน
- โรคระบบทางเดิน
หายใจ หอบหืด
แหล่งน้ า
หม ้อไอน้ า (Boiler)
น้ าอุณหภูมส
ิ งู ขึน
้
(ระบบนิเวศ
ถูกทาลาย)
ระบบหล่อ
เย็น
กังหันไอน้ า/กังหัน
แก๊ส
เครือ
่ งกาเนิดไฟฟ้ า
กระแสไฟฟ้ า
- SOx , NOx, CO2
- VOCs
โรคระบบทางเดินหายใจ
หอบหืด
- โลหะหนัก
การเจ็บป่ วยจากพิษโลหะ
หนัก
- ฝุ่ นละออง
โรคระบบทางเดินหายใจ
หอบหืด
- น้ าอุณหภูมส
ิ งู ขึน
้
-สง่ ผลกระทบต่อ
สงิ่ มีชวี ต
ิ ในน้ า
ี งดัง
- เสย
ี การได ้ยิน
สูญเสย
เดือดร ้อนราคาญ
- ความร ้อน
อุณหภูมใิ นชุมชน
ใกล ้เคียงเพิม
่ สูงขึน
้
ประชาช
นไดรั
้ บ
ผลกระท
บตอ
่
สุขภาพ
โครงการ
พัฒนา
ขนาดใหญ่
กิจการขนาด
เล็ก
กิจกรรมอืน
่ ๆ เช่น
- การใช้สารเคมีทาง
การเกษตร
- การจัดการขยะ
- การทองเที
ย
่ ว
่
พ.ร.บ.
ส่งเสริมและ
รักษา
คุณภาพ
สิ่ งแวดลอม
้
พ.ร.บ.การ
(EIA/EHIA)
สาธารณสุข
พ.ศ. 2535
(กิจการทีเ่ ป็ น
อันตรายตอ
่
สุขภาพ
135
กิจการ)
กิจการทีเ่ ป็ นอันตราย
ตอสุ
่ ขภาพตามพ.ร.บ.
การสาธารณสุข
พ.ศ. 2535
สนับสนุ นการประยุกตใช
์ ้ HIA
เพือ
่ การควบคุมกิจการตาม
พระราชบัญญัตก
ิ ารสาธารณสุข
พ.ศ. 2535
ทีม่ า
• มาตรา๓๒ เพื่อประโยชน์ในการควบคุมการประกอบกิจการตาม
มาตรา๓๑ (กิจการที่รมต.ประกาศกาหนด ) ให้ ราชการส่วนท้ องถิ่นมี
อานาจออกข้ อกาหนดท้ องถิ่นดังนี ้
( ๑) กาหนดประเภทกิจการ....
(๒)กาหนดหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขทั่วไปให้ ผ้ ดู าเนินกิจการปฏิบตั ิ
เกี่ยวกับการดูแลสภาพหรือสุขลักษณะของสถานที่และมาตรการ
การป้องกันอันตรายต่ อสุขภาพ
• มาตรา๓๓ วรรคสอง
....ราชการส่วนท้ องถิ่นอาจกาหนดเงื่อนไขโดยเฉพาะให้
ผู้ประกอบการปฎิบตั ิเพิ่มเติมจากเงื่อนไขทัว่ ไป....
ทีม่ า
• กฎกระทรวง กาหนดหลักเกณฑ ์ วิธก
ี าร
และมาตรการในการควบคุมสถานประกอบการ
กิจการทีเ่ ป็ นอันตรายตอสุ
่ ขภาพ พ.ศ.2545
ข้อ 2 ผู้ดาเนินกิจการในสถานประกอบกิจการ
ประเภททีร่ าชการส่วนทองถิ
น
่ ไดออกข
อ
้
้
้
กาหนดให้เป็ นกิจการทีต
่ องควบคุ
มและมีผลใช้
้
บังคับในทองถิ
น
่ นั้นแลว
้
้ ต้องดาเนินการให้
เป็ นไปตามกฎกระทรวงนี้
เครื่องมือประเมินความเสีย่ งด้านอนามัยสิง่ แวดล้อม
สาหรับกิจการที่เป็ นอันตรายต่อสุขภาพ
ตามพ.ร.บ.การสาธารณสุข 2535
แบบประเมินความเสี่ ยงดานอนามั
ย
้
สิ่ งแวดลอม
(checklist)
้
• ช่วยให้การตรวจประเมินมีความคง
เส้นคงวา (Consistency)
• ครอบคลุมเรือ
่ งทีต
่ องตรวจประเมิ
นได้
้
ทัง้ หมด
• ทาให้เกิดการตรวจประเมินเป็ นระบบ
• เกิดความตอเนื
ด ติดขัด
่ ่อง ไมสะดุ
่
วัตถุประสงค์
• เพือ่ เป็ นเครื่องมือทางวิชาการ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ประยุกต์ใช้ในการตรวจประเมินสถานประกอบกิจการก่อน
เสนอให้ผูบ้ ริหารของอปท.อนุ ญาตประกอบการ
• เพือ่ ใช้เป็ นเครื่องมือประยุกต์ใช้ในการกากับ ติดตามตรวจสอบ
การประกอบกิจการ
กรอบแนวคิดการประยุกต์ใช้หลักการ HIA ใน พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535
(เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการควบคุมกากับกิจการที่เป็ นอันตรายต่อสุขภาพ)
เงือ่ นไขในการควบคุมกากับดูแลการประกอบกิจการ
คือ 1) การดูแลสุขภาพ หรือ สุขลักษณะของสถานที่ท่ีใช้
สภาวะสุขาภิบาลสิง่ แวดล้อมของสถานประกอบการทัง้ ใน
ดาเนิ นกิจการ และ 2) มาตรการป้ องกันอันตรายต่อสุขภาพ ด้านการดูแลรักษาความสะอาด ความเป็ นระเบียบของโครงสร้าง
อาคาร การรักษาสภาพการใช้งานของเครื่องมือ อุปกรณ์ ระบบ
สุขลักษณะของสถานที่
การระบายอากาศ แสง เสียง ระบบการจัดการสิ่งปฏิกลู มูลฝอย
กิจการที่เป็ น
อันตรายต่อ
สุขภาพ
มาตรการป้ องกันอันตรายต่อสุขภาพ
มาตรการอืน่ ๆ
ระบบป้ องกันอุบตั ภิ ยั อัคคีภยั ระบบการป้ องกันการ
ปนเปื้ อนในผลิตภัณฑ์อาหาร ระบบการป้ องกันตนเองของ
ผูป้ ฏิบตั งิ านในสถานประกอบการ ทัง้ นี้ เพือ่ ป้ องกันปัญหา
ด้านมลพิษที่จะมีผลกระทบต่อสุขภาพของคนงาน ชุมชน
ข้างเคียง และประชาชนทัว่ ไป
การคมนาคมขนส่ง/การติดตามตรวจสอบ/ความปลอดภัยใน
ชีวติ และทรัพย์สนิ ฯลฯ
- ให้ความสาคัญกับมิตส
ิ ุขภาพมากขึน
้ ** โดยพิจารณาตัง้ แตระยะ
่
กอสร
่
้างจนถึงระยะดาเนินกิจการ 16 **
เป้ าหมาย
ส่งเสริม สนับสนุ นให้เทศบาลใน
เขตจังหวัดมีการใช้เครื่องมือการ
ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
เพือ่ ควบคุมการประกอบกิจการที่
เป็ นอันตรายต่อสุขภาพ ตาม
พระราชบัญญัตกิ ารสาธารณสุข
พ.ศ. 2535
การจัดทาเครื่องมือการประเมินความเสีย่ งด้านอนามัยสิง่ แวดล้อม
สาหรับกิจการที่เป็ นอันตรายต่อสุขภาพ
กิจการ 1. กิจการโรงสีขา้ ว 2. กิจการเลี้ยงไก่ 3. กิจการหอพัก 4. กิจการสระว่ายน้ า 5. กิจการอูเ่ คาะ
พ่นสี 6. กิจการย้อมกัดสีผา้ 7. กิจการตาก สะสม ขน ถ่าย มันสาปะหลัง 8. กิจการเลื่อย ซอย ขัด
ไส เจาะ ขุดร่อง ทาคิ้ว ตัดไม้ ด้วยเครื่องจักร
กระบวนการผลิต
1. สถานที่ตง้ั
2. สุขลักษณะ/โครงสร้าง
3. เครื่องจักร อุปกรณ์
ก่อนเปิ ด
มลพิษ
4. ความปลอดภัย อาชีวอนามัย
สภาพแวดล้อม
5. สุขอนามัยของผูป้ ฎิบตั ิงาน
6. น้ าดื่ม น้ าใช้ อาหาร
7. สัตว์และแมลงพาหะนาโรค
8. มลพิษทางอากาศ และเสียง
9. น้ าเสีย มูลฝอย ของเสีย
อันตรายและสิง่ ปฎิกูล
10. การป้ องกันเหตุราคาญ
ระหว่างดาเนิ นการ
รูปแบบของแบบประเมินความเสีย่ งด้านอนามัยสิง่ แวดล้อม
เพื่อควบคุมการประกอบกิจการ
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไป
- ชื่อสถานประกอบกิจการ
- ที่ตง้ั สถานประกอบกิจการ
- ค่าพิกดั ของสถานประกอบกิจการ
- ใบอนุ ญาตประกอบกิจการที่เป็ นอันตรายต่อสุขภาพ
- ชื่อผูข้ อใบอนุ ญาต
- ชื่อเจ้าของ
- ปี ท่เี ริ่มดาเนิ นการ
- ขนาดพื้นที่สถานประกอบกิจการ
- เวลาทางานของสถานประกอบกิจการ
รูปแบบของแบบประเมินความเสีย่ งด้านอนามัยสิง่ แวดล้อม
เพื่อควบคุมการประกอบกิจการ (ต่อ)
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไป (ต่อ)
- จานวนผูป้ ฏิบตั งิ านประจา
- แผนผังที่ตง้ั แสดงเส้นทางเข้า – ออกและบริเวณใกล้เคียงในระยะ 1 ก.ม.
- แผนผังภาพรวมของกระบวนการผลิต
- ชนิ ดของวัตถุดิบ/ สารเคมี ที่ใช้ในกระบวนการผลิต และปริมาณการจัดเก็บ
- ชนิ ดของเครื่องจักร/ เชื้อเพลิง ที่ใช้ในกระบวนการผลิต
- การจัดทาแผนหรือมาตรการจัดการ ควบคุม ดูแล สถานประกอบกิจการใน ระยะก่อนก่อสร้าง
(สถานที่ตง้ั / สุขลักษณะสถานประกอบกิจการ/ ความปลอดภัยของเครื่องจักร เครื่องมือ
เครื่องใช้ และอุปกรณ์ / การป้ องกันเหตุราคาญ/ อืน่ ๆ) (ถ้ามี)
- การสารวจความคิดเห็นของประชาชนที่อาศัยอยู่บริเวณใกล้เคียงใน ระยะก่อนก่อสร้างสถาน
ประกอบกิจการ (ถ้ามี)
รูปแบบของแบบประเมินความเสีย่ งด้านอนามัยสิง่ แวดล้อม
เพื่อควบคุมการประกอบกิจการ (ต่อ)
ส่วนที่ 2 การตรวจสอบสถานประกอบกิจการระยะก่อนประกอบการ
ส่วนที่ 3 มาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการระยะประกอบการ
ส่วนที่ 4 สรุปความเห็นของเจ้าหน้าที่
แนวทางในการควบคุมความเสีย่ งที่เกิดขึ้น
ควบคุม ป้ องกัน จัดการ ใน 3 ส่วน
1. Source แหล่งกาเนิ ด
2. Pathway ช่องทางผ่าน
3. Receptor ผูร้ บั สัมผัส
2.ชีแ
้ จงเครือ
่ งมือประเมินความเสี่ ยง
ดานอนามั
ยสิ่ งแวดลอมส
าหรับ
้
้
กิจการทีเ่ ป็ นอันตรายตอสุ
่ ขภาพตาม
พ.ร.บ.การสาธารณสุข 2535
2.การควบคุมการประกอบกิจการทีเ่ ป็ น
อันตรายตอสุ
่ ขภาพ ประเภทกิจการ
หอพัก อาคารให้เช่า ห้องเช่า ห้อง
แบงเช
่ ่า
หรือกิจการอืน
่ ในทานองเดียวกัน
คานิ ยาม
หอพัก หมายถึง พรบ.หอพัก 2507 ทั้งนีใ้ ห้ รวมถึงหอพักของสถาบันการศึกษาต่ างๆด้วย กิจการอืน่
ในทานองเดียวกัน หมายถึง อพาร์ ทเม้ นท์ อาคารชุ ด หรือสถานทีพ่ กั อาศัยให้ เช่ าทีเ่ รียกชื่อเป็ นอย่ าง
อืน่ เป็ นต้ น
อาคารชุดให้ เช่ า หมายถึง ตาม พรบ.อาคารชุ ด 2522 ที่มีลกั ษณะการประกอบกิจการแบบให้
เช่ าด้ วย
ห้ องเช่ า และห้ องแบ่ งเช่ า หมายถึง ธุรกิจให้ เช่ าทีอ่ ยู่อาศัย ตามประกาศกระทรวงคณะกรรมการ
ว่ าด้ วยสั ญญา เรื่องให้ ธุรกิจการให้ เช่ าทีอ่ ยู่อาศัยทีเ่ รียกประกัน เป็ นธุรกิจทีค่ วบคุมรายการใน
หลักฐานการรับเงิน 2549 สถานทีท่ จี่ ัดขึน้ สาหรับการให้ เช่ า เพือ่ เป็ นทีพ่ กั อาศัยโดยมีสถานทีท่ ี่
จัดแบ่ งให้ เช่ า ตั้งแต่ 5 ห้ องขึน้ ไป
กระบวนการก่อสร้างและปัจจัยเสีย่ งด้านอนามัยสิง่ แวดล้อมที่เกิดจากกิจการหอพัก
ปรับพื้นที่/ตอกเสาเข็ม/
ก่อโครงสร้างอาคาร/
ระบบน้ า
สิง่ ปฏิกูล
ฝุ่ น, เสียงดัง
สันสะเทื
่
อน อุบตั ิเหตุ
ชุมชนก่อสร้าง
ระยะก่อสร้าง
เปิ ดให้บริการ
น้ าเสีย, ขยะ
สิง่ ปฏิกูล, กลิ่น
อัคคีภยั , ลักขโมย
ตูน้ ้ าดื่มที่ปนเปื้ อน
เหตุรอ้ งเรียน
1.โรคระบบทางเดินอาหาร
2.เหตุราคาญ
3.ได้รบั บาดเจ็บ
4. ความปลอดภัย
1.โรคระบบทางเดินอาหาร
2.โรคระบบทางเดินหายใจ
3. ความเครียด
4.ความเสียหายต่อชีวิต
และทรัพย์สนิ
แนวทางการจัดการปัจจัยเสี่ยง
จัดให้มีผา้ กัน้ หรืออุปกรณ์ใดๆที่สามารถป้ องกันฝุ่ น
ละอองที่จะเกิดกับชุมชนข้างเคียง
การจัดการฝุ่ น
แนวทางการจัดการปัจจัยเสี่ยง
การจัดการน้ าใช้และน้ าเสีย
ล้างทาความสะอาดถังเก็บน้ าใช้หรือมีการระบาย
ตะกอนก้นถังเก็บน้ าใช้ตามระยะเวลาที่กาหนด และ
มีการหมุนเวียนการใช้น้ าในบ่อหรือถังพักน้ าเป็ น
ประจา มีรางหรือท่อระบายน้ า และบ่อพักน้ าที่มีขนาด
เพียงพอก่อนที่จะระบายลงสูท่ ่อระบายน้ าสาธารณะ
และต้องมีการตรวจสอบเป็ นประจา เพื่อป้ องกันการ
ส่งกลิ่นเหม็นรบกวนผูท้ ่อี าศัยในบริเวณใกล้เคียง
แนวทางการจัดการปัจจัยเสี่ยง
การจัดการตูบ้ ริการน้ าดื่ม
กรณี ท่มี ีการให้บริการน้ าดื่ม สาหรับผูใ้ ช้บริการ
น้ าดื่มต้องสะอาด ปลอดภัยได้ตามมาตรฐานน้ า
ดื่ม ทัง้ นี้ ลักษณะการนามาดื่มต้องไม่ก่อให้เกิด
ความสกปรกหรือมีการปนเปื้ อน
แนวทางการจัดการปัจจัยเสี่ยง
การจัดการขยะ
มีภาชนะรองรับมูลฝอย และแยกประเภทมูล
ฝอย โดยภาชนะรองรับต้องเพียงพอกับ
ปริมาณมูลฝอยจากห้องพักทัง้ หมด และต้อง
ทาจากวัสดุท่แี ข็งแรง ทาความสะอาดได้งา่ ย
มีฝาปิ ดมิดชิด สามารถป้ องกันสัตว์ไม่ให้คยุ ้
เขี่ย
แนวทางการจัดการปัจจัยเสี่ยง
ติดตัง้ ระบบไฟฉุกเฉิ น มีแผนผังแสดง
ทางหนี ไฟ บันไดหนี ไฟ หรือทางออก
ฉุกเฉิ น สัญญาณเตือนภัยกรณี ไฟไหม้
เครื่องดับเพลิงแบบมือถือ ระบบคีย ์
การ์ด กล้องวงจรปิ ดบริเวณสถานที่จอด
รถและแต่ละชัน้ ของสถานประกอบ
กิจการพร้อมทัง้ จัดให้มีเจ้าหน้าที่รกั ษา
ความปลอดภัยประจาหอพัก
มีระบบรักษาความปลอดภัย
มาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการ
ระยะก่อสร้าง
ประเด็นตามสิ่ งคุกคาม
มาตรการป้องกัน
2.สุ ขภลักษณะสถานประกอบกิจการ 2.1 กรณีทสี่ ถานประกอบกิจการมีอาคารและอยู่ในพืน้ ทีท่ คี่ วบคุม
โดยกฎหมายว่ าด้ วยการควบคุมอาคาร ให้ ปฏิบตั ิตามขภ้ อกาหนด
ขภองกฎหมายนั้น (ตรวจสอบได้ จากเอกสาร อ1 ใบอนุญาตก่ อสร้ าง
อาคาร)
มาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการ
ระยะก่อสร้าง
ประเด็นตามสิ่ งคุกคาม
มาตรการป้องกัน
2.สุ ขภลักษณะสถานประกอบกิจการ 2.2 กรณีทสี่ ถานประกอบกิจการอยู่นอกเขภตพืน้ ทีค่ วบคุมตาม
กฎหมายว่ าด้ วยการควบคุมอาคาร ให้ ปฏิบตั ิ ดังนี้
1) อาคารสถานประกอบกิจการ ต้ องมีความมัน่ คง แขภ็งแรง ไม่ มี
ร่ องรอยชารุ ดแตกหัก หรือเกิดความเสี ยหายขภองโครงสร้ างอาคาร
2) พืน้ ขภองสถานประกอบกิจการ และบริเวณโดยรอบขภองอาคาร
สถานประกอบกิจการ ต้ องทาด้ วยวัสดุแขภ็งแรง ทาความสะอาดง่ าย
และต้ องดาเนินการดูแล รักษาความสะอาดอย่ างสมา่ เสม
3) ฝาผนังขภองอาคารสถานประกอบกิจการ ต้ องทาจากวัสดุที่
ทนทาน เรียบ และทาความสะอาดง่ าย
4) อาคารสถานประกอบกิจการ ต้ องมีระยะดิง่ จากพืน้ ถึงพืน้ ไม่
น้ อยกว่ า 2.60 เมตร
มาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการ
ระยะก่อสร้าง
ประเด็นตามสิ่ งคุกคาม
มาตรการป้องกัน
2.สุ ขภลักษณะสถานประกอบกิจการ
5) อาคารสถานประกอบกิจการ ต้ องจัดให้ มกี ารระบายอากาศที่
เพียงพอ กรณีไม่ มเี ครื่องปรับอากาศาายในห้ องพัก ต้ องจัดให้ มี
ประตู หน้ าต่ าง หรือช่ องทางการระบายอากาศด้ านติดกับอากาศ
าายนอกเป็ นพืน้ ทีร่ วมกันไม่ น้อยกว่ าร้ อยละ 10 ขภองพืน้ ทีา่ ายใน
ห้ องพัก
6) ช่ องทางเดินในอาคารขภองอาคารสถานประกอบกิจการ
มีความกว้ างไม่ น้อยกว่ า 1.50 เมตร
7) จัดให้ มพี นื้ ทีส่ าหรับจอดรถยนต์ จักรยาน หรือจักรยานยนต์
ให้ เพียงพอกับจานวนห้ องพักหรือผู้เขภ้ าพัก โดยต้ องจัดให้ มที กี่ ลับ
รถ และทางเขภ้ า-ออกทีม่ ขภี นาดทีเ่ หมาะสม
มาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการ
ระยะก่อสร้าง
ประเด็นตามสิ่ งคุกคาม
มาตรการป้องกัน
3.ความปลอดาัยขภอง เครื่องจักร
เครื่องมือ เครื่องใช้ และอุปกรณ์
3.2 เครื่องจักร เครื่องมือ เครื่องใช้ และอุปกรณ์ ไฟฟ้ า ที่เปลือก
นอกเป็ นโลหะ จะต้ องติดตั้งอุปกรณ์ ป้องกันอันตรายจากไฟฟ้ าที่
ได้ มาตรฐาน เช่ น สายดิน เครื่องตัดไฟรั่ว เป็ นต้ น
3.3 การเดินสายไฟ ต้ องเดินสายไฟให้ เรียบร้ อย หรือเดินในท่ อ
ร้ อยสาย
4. การป้ องกันเหตุราคาญ
4.1 จัดให้ มมี าตรการ วิธีการ หรือแนวทางปฏิบัติ เพือ่ ป้ องกัน เหตุ
ราคาญทีอ่ าจส่ งผลกระทบต่ อสาาพความเป็ นอยู่โดยปกติแก่ ผ้ ูอยู่
อาศัยในบริเวณใกล้ เคียง
มาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการ
ระยะประกอบกิจการ
ประเด็นตามสิ่ งคุกคาม
มาตรการป้ องกัน
1. สุ ขภลักษณะสถานประกอบ
กิจการ
1.1 มีการทาความสะอาด บารุงรักษาอาคารสถานประกอบกิจการ
รวมทั้งพืน้ ทีใ่ ช้ สอยอืน่ ๆ เป็ นประจา และมีการจัดวางสิ่ งขภองเป็ น
ระเบียบเรียบร้ อย ปลอดาัย เป็ นสั ดส่ วน
2. ความปลอดาัยขภอง เครื่องจักร
เครื่องมือ เครื่องใช้ และอุปกรณ์
2.1 เครื่องจักร เครื่องมือ เครื่องใช้ และอุปกรณ์ รวมถึงสวิตซ์ และ
สายไฟต่ างๆ ต้ องจัดเก็บอย่ างเป็ นสั ดส่ วน เป็ นระเบียบเรียบร้ อย
และปลอดาัย
2.2 เครื่องจักร เครื่องมือ เครื่องใช้ และอุปกรณ์ ต้ องได้ รับการตรวจ
ตรา ทาความสะอาด ซ่ อมแซม และบารุ งรักษาให้ อยู่ในสาาพดี
หากพบการชารุด ต้ องดาเนินการซ่ อมแซมและแก้ ไขภ พร้ อมทั้ง จัด
ให้ มปี ้ ายหรือสั ญญาณเตือนกรณีเครื่องจักรชารุ ดหรือขภัดขภ้ อง เพือ่
ไม่ ให้ เกิดอันตรายต่ อผู้ปฏิบตั ิงาน
มาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการ
ระยะประกอบกิจการ
ประเด็นตามสิ่ งคุกคาม
2. ความปลอดาัยขภอง เครื่องจักร
เครื่องมือ เครื่องใช้ และอุปกรณ์
มาตรการป้ องกัน
2.3 มีการตรวจสอบไฟฟ้ าหรือแสงสว่ างบริเวณทางหนีไฟ บันได
หนีไฟ หรือทางออกฉุกเฉิน อย่ างสมา่ เสมอ
2.4 มีการตรวจสอบสั ญญาณเตือนาัยกรณีไฟไหม้ หรือเกิดเหตุ
ฉุกเฉิน ในทุกชั้นขภองอาคารให้ มสี าาพพร้ อมใช้ งาน
2.5 สวิตช์ สายไฟ ในสถานประกอบกิจการและาายในห้ องพัก มี
สาาพดี สามารถใช้ งานได้ อย่ างปลอดาัย
2.4 มีการตรวจสอบดูแลอุปกรณ์ ที่เป็ นบริการต่ างๆ ขภองสถาน
ประกอบกิจการให้ สามารถใช้ งานได้ ดอี ยู่เสมอ ได้ แก่ กล้ องวงจร
ปิ ด โทรศัพท์ เครื่องซักผ้ าหยอดเหรียญ ตู้นา้ หยอดเหรียญ และ
ลิฟท์ เป็ นต้ น
มาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการ
ระยะประกอบกิจการ
ประเด็นตามสิ่ งคุกคาม
3. การจัดการนา้ ดืม่ นา้ ใช้
มาตรการป้ องกัน
3.1 กรณีทมี่ กี ารให้ บริการนา้ ดืม่ สาหรับผู้ใช้ บริการ นา้ ดืม่ ต้ อง
สะอาด ปลอดาัยได้ ตามมาตรฐานนา้ ดืม่ ทั้งนี้ ลักษณะการนามา
ดืม่ ต้ องไม่ ก่อให้ เกิดความสกปรกหรือมีการปนเปื้ อน เช่ น ใช้ ระบบ
นา้ กด ใช้ แก้ วส่ วนตัว ใช้ แก้ วกระดาษที่ใช้ ครั้งเดียวแล้ วทิง้ หรือใช้
แก้ วส่ วนกลางทีใ่ ช้ ดมื่ เพียงครั้งเดียวแล้ วนาไปล้ างทาความสะอาด
ก่ อนนามาใช้ ใหม่ เป็ นต้ น
3.2 นา้ ใช้ ต้ องสะอาด ปลอดาัย และมีปริมาณทีเ่ พียงพอต่ อความ
ต้ องการขภองผู้ใช้ บริการในสถานประกอบกิจการ และควรมีการ
ตรวจสอบท่ อนา้ ใช้ อย่ างต่ อเนื่อง ทั้งนี้ ต้ องมีการจัดนา้ สารอง
สาหรับกรณีฉุกเฉินหรือขภัดขภ้ อง
มาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการ
ระยะประกอบกิจการ
ประเด็นตามสิ่ งคุกคาม
5. การจัดการนา้ เสี ย มูลฝอย ขภอง
เสี ยอันตราย และสิ่ งปฏิกูล
มาตรการป้ องกัน
5.2 จัดให้ มรี างหรือท่ อระบายนา้ และบ่ อพักนา้ ทีม่ ีขภนาดเพียงพอ
ก่ อนทีจ่ ะระบายลงสู่ ท่อระบายนา้ สาธารณะ และต้ องมีการ
ตรวจสอบเป็ นประจา เพือ่ ป้ องกันการส่ งกลิน่ เหม็นรบกวนผู้ที่
อาศัยในบริเวณใกล้ เคียง
5.3 ผู้ประกอบกิจการ ต้ องดาเนินการตรวจสอบระบบท่ อนา้ และ
รางระบายนา้ าายในสถานประกอบกิจการเป็ นประจา หากพบว่ า
เกิดความชารุด เสี ยหาย ต้ องดาเนินการซ่ อมแซมแก้ ไขภโดยทันที
5.4 จัดให้ มบี ่ อเกรอะ หรือบ่ อบาบัดสิ่ งปฏิกูล ทีถ่ ูกสุ ขภลักษณะ ก่ อน
ปล่ อยสู่ แหล่ งนา้ สาธารณะ
5.5 ควรแยกรางนา้ ฝน และรางระบายนา้ ทิง้ ออกจากกัน เพื่อ
ป้ องกันการปนเปื้ อนจากนา้ ทิง้
มาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการ
ระยะประกอบกิจการ
ประเด็นตามสิ่ งคุกคาม
5. การจัดการนา้ เสี ย มูลฝอย ขภอง
เสี ยอันตราย และสิ่ งปฏิกูล
มาตรการป้ องกัน
5.6 ในกรณีทมี่ กี ารประกอบกิจการจาหน่ ายอาหาราายในหอพัก
จัดให้ มบี ่ อดักไขภมัน ก่ อนเขภ้ าสู่ ระบบบัดนา้ เสี ย
5.7 จัดให้ มาี าชนะรองรับมูลฝอย แยกประเาทเป็ นมูลฝอยทัว่ ไป
มูลฝอยทีย่ ่ อยสลายได้ มูลฝอยทีน่ ากลับมาใช้ ใหม่ ได้ มูลฝอยทีเ่ ป็ น
อันตราย หรือมูลฝอยติดเชื้อ และต้ องเพียงพอกับปริมาณมูลฝอย
จากห้ องพักทั้งหมด โดยาาชนะรองรับมูลฝอยต้ องทาจากวัสดุที่
แขภ็งแรง ทาความสะอาดได้ ง่าย มีฝาปิ ดมิดชิด สามารถป้ องกันสั ตว์
ไม่ ให้ คุ้ยเขภีย่ รวมทั้งไม่ ก่อให้ เกิดความเดือดร้ อนราคาญ แก่ ผู้อาศัย
ใกล้ เคียงและผู้ทผี่ ่ านไปมา
มาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการ
ระยะประกอบกิจการ
ประเด็นตามสิ่ งคุกคาม
7. ความปลอดาัย อาชีวอนามัย และ
สุ ขภอนามัยขภองผู้ปฏิบตั ิงาน
มาตรการป้ องกัน
2) กรณีทมี่ กี ารติดตั้งลูกกรง เหล็กดัด หรือสิ่ งอืน่ ทีม่ ี
ลักษณะทานองเดียวกัน ทีป่ ระตู หน้ าต่ าง ให้ ผ้ ูประกอบ
กิจการ จัดให้ มชี ่ องทางทีเ่ ปิ ดออกสู่ าายนอกได้ ทนั ที ขภนาด
กว้ างไม่ น้อยกว่ า 0.6 เมตร ยาวไม่ น้อยกว่ า 0.8 เมตร อย่ าง
น้ อยหนึ่งช่ องทางในแต่ ละชั้นขภองอาคาร
3) ติดตั้งระบบไฟฉุกเฉิน ในทุกชั้นขภองอาคารสถาน
ประกอบกิจการ โดยจัดให้ ลาแสงส่ องไปยังบันไดหนีไฟ หรือ
ทางออกฉุกเฉิน และความสว่ างต้ องเพียงพอทีจ่ ะมองเห็น
ช่ องทางหนีไฟได้ ชัดเจนขภณะเกิดเพลิงไหม้
4) มีแผนผังแสดงทางหนีไฟ บันไดหนีไฟ หรือทางออก
ฉุกเฉิน ติดแสดงให้ เห็นเด่ นชัด ในทุกชั้น ขภองอาคารสถาน
ประกอบกิจการ
มาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการ
ระยะประกอบกิจการ
ประเด็นตามสิ่ งคุกคาม
7. ความปลอดาัย อาชีวอนามัย
และสุ ขภอนามัยขภองผู้ปฏิบตั ิงาน
มาตรการป้ องกัน
5) จัดให้ มสี ั ญญาณเตือนาัยกรณีไฟไหม้ หรือเกิดเหตุฉุกเฉิน ใน
ทุกชั้นขภองอาคารสถานประกอบกิจการมีสาาพพร้ อมใช้ งาน
6) ติดตั้งเครื่องดับเพลิงแบบมือถือชนิดใด ชนิดหนึ่ง เช่ น ก๊ าซ
คาร์ บอนไดออกไซด์ โฟมเคมี หรือผงเคมีแห้ ง เป็ นต้ น สาหรับ
ดับเพลิงทีเ่ กิดจากประเาทขภองวัสดุทมี่ ใี นแต่ ละชั้นไว้ 1 เครื่องต่ อ
พืน้ ทีอ่ าคารไม่ เกิน 1,000 ตารางเมตร ทุกระยะไม่ เกิน 45 เมตร แต่
ไม่ น้อยกว่ าชั้นละ 1 เครื่อง และต้ องมีการตรวจสอบให้ มีสาาพ
พร้ อมใช้ งาน
7.2 มีการซ้ อมหนีไฟตามแผนการป้ องกันอัคคีาัย อย่ างน้ อยปี ละ 1
ครั้ง
มาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการ
ระยะประกอบกิจการ
ประเด็นตามสิ่ งคุกคาม
7. ความปลอดาัย อาชีวอนามัย
และสุ ขภอนามัยขภองผู้ปฏิบตั ิงาน
มาตรการป้ องกัน
7.3 ช่ องทางเดินในอาคาร มีความสะอาด มีแสงสว่ างเพียงพอและ
จัดให้ มคี วามเขภ้ มแสงสว่ าง ดังนี้
- ห้ องพัก ไม่ น้อยกว่ า 100 ลักซ์
- บริเวณทางเดิน ไม่ น้อยกว่ า 100 ลักซ์
- บริเวณทีจ่ อดรถ ไม่ น้อยกว่ า 50 ลักซ์
7.4 มีมาตรการในการรักษาความปลอดาัยในสถานประกอบ
กิจการ เช่ น มีเจ้ าหน้ าทีร่ ักษาความปลอดาัย ระบบคีย์การ์ ด กล้ อง
วงจรปิ ดบริเวณสถานทีจ่ อดรถและแต่ ละชั้นขภองสถานประกอบ
กิจการ
7.5 จัดให้ มชี ุ ดปฐมพยาบาลเบือ้ งต้ น เพือ่ ดูแลผู้ประสบอุบตั ิเหตุ
หรือเจ็บป่ วย รวมถึงมีการส่ งต่ อผู้ป่วย กรณีเกิดเหตุฉุกเฉินได้
ทันท่ วงที
มาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการ
ระยะประกอบกิจการ
ประเด็นตามสิ่ งคุกคาม
8. การป้ องกัน ควบคุม สั ตว์ และ
แมลงพาหะนาโรค
มาตรการป้ องกัน
8.1 ตั้งกฎ ระเบียบ หรือขภ้ อบังคับขภองสถานประกอบกิจการ
เกีย่ วกับการควบคุม การเลีย้ งสั ตว์ เช่ น สุ นัขภ แมว หรือนก เป็ นต้ น
เพือ่ ป้ องกันการแพร่ ระบาดขภองเชื้อโรค หรือก่ อเหตุเดือดร้ อน
ราคาญต่ อผู้อาศัยในบริเวณใกล้ เคียง
8.2 จัดให้ มมี าตรการ วิธีการควบคุม ป้ องกันสั ตว์ และแมลงพาหะ
นาโรค เช่ น หนู แมลงวัน หรือแมลงสาบ เป็ นต้ น ทีเ่ ขภ้ มงวด และ
ต้ องดาเนินการอย่ างต่ อเนื่อง สามารถตรวจสอบได้ เพือ่ ป้ องกัน
ปัญหาแหล่ งเพาะพันธุ์เชื้อโรค
มาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการ
ระยะประกอบกิจการ
ประเด็นตามสิ่ งคุกคาม
9. มาตรการอืน่ ๆ
มาตรการป้ องกัน
9.1 มีการแจ้ งการเปลีย่ นแปลงระเบียบประจาสถานประกอบ
กิจการ และติดประกาศให้ ผู้เขภ้ าพักทราบ5
9.2 มีทะเบียนประวัติผ้ ูเขภ้ าพัก ชื่อผู้ปกครองผู้เขภ้ าพัก ทีส่ ามารถ
ติดต่ อได้ สะดวก6
9.5 มีการจัดสาาพแวดล้ อมทั้งในและรอบพักให้ ร่มรื่น น่ าอยู่
ปลอดมุมอับ หรือเสี่ ยงต่ อการมัว่ สุ มยาเสพติด
ขอขอบคุณ
กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย
โทรศัพท์ 02 590 4190 โทรสาร 02 590 4356