Food Safety for Thai Consumer การคุ้มครองผู้บริโภคด้ านผลิตภัณฑ์ สุขภภา Health Product Consumer Protection Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H. หัวหน้างานประสานรัฐและท้องถิ่น สสจ.ขอนแก่น.

Download Report

Transcript Food Safety for Thai Consumer การคุ้มครองผู้บริโภคด้ านผลิตภัณฑ์ สุขภภา Health Product Consumer Protection Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H. หัวหน้างานประสานรัฐและท้องถิ่น สสจ.ขอนแก่น.

Food Safety for Thai Consumer
การคุ้มครองผู้บริโภคด้ านผลิตภัณฑ์ สุขภภา
Health Product Consumer Protection
Powerpoint by
Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
หัวหน้างานประสานรัฐและท้องถิ่น สสจ.ขอนแก่น
Food Safety for Thai Consumer
มีลกั ษณะเป็ นผงสี ขาวมีชื่ออื่นๆ อีก เช่น
น้ าประสานทอง สารข้าวตอก ผงกัน
บูด เพ่งแซ ผงเนื้อนิ่ม
Food Safety for Thai Consumer
• สารบอแรกซ์ เป็ นสารที่ใช้ในอุตสาหกรรม เช่น
– ทาแก้ว เพื่อทาให้ทนความร้อน
– เป็ นสารประสานในการเชื่อมทอง
– เป็ นสารหยุดยั้งการเจริ ญเติบโตของเชื้อราในแป้ งทาตัว เป็ นต้น
• แต่แม่คา้ มักนามาผสมในอาหาร เพื่อให้อาหารมีความหยุน่ กรอบ คงตัว
ได้นาน ไม่บูดไม่เสี ยง่าย
• อาหารที่มกั พบว่ามีสารบอแรกซ์ ได้แก่ หมูบด ลูกชิ้น ทอดมัน หมูสด
เนื้อสด ไส้กรอก ผลไม้ดอง ทับทิมกรอบ ลอดช่อง เป็ นต้น
Food Safety for Thai Consumer
ษิ ขภอง
เกิดได้ สองกรณี คือ
1. แบบเฉียบพลัน จะมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน อุจจาระร่ วง อ่อนเพลีย
ปวดศรี ษะ หงุดหงิด ผิวหนังอักเสบ ผมร่ วง
2. แบบเรื้ อรัง จะมีอาการอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ผิวหนังแห้ง หน้าตาบวม
เยือ่ ตาอักเสบ ตับไตอักเสบ
Food Safety for Thai Consumer
คาแนะนา
1. ผูบ้ ริ โภคไม่ซ้ือเนื้อหมูที่ผดิ ปกติจากธรรมชาติ
2. หลีกเลี่ยงสารบอแรกซ์ในอาหารโดย ไม่ซ้ือหมูบดสาเร็ จรู ป ควรซื้อ
เป็ นชิ้นแล้วนามาบดหรื อสับเอง
3. ไม่กินอาหารที่มีลกั ษณะกรอบเด้ง หรื ออยูไ่ ด้นานผิดปกติ
Food Safety for Thai Consumer
• โทษของการผลิตหรื อจาหน่ายอาหารซึ่งปนเปื้ อนสารบอแรกซ์ ถือเป็ น
การฝ่ าฝื น พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 มาตรา 25(1) เป็ น
อาหารไม่บริ สุทธิ์ ตามมาตรา 26(1) มีโทษตามาตรา 58 ต้องระวาง
โทษจาคุกไม่เกิน 2 ปี หรื อปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรื อทั้งจาทั้ง
ปรับ
Food Safety for Thai Consumer
การทดสอบโดยใช้ชุดทดสอบบอแรกซ์ของ
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
•
•
•
•
•
สับเนื้อเป็ นชิ้นเล็กๆ
เติมน้ ายาทดสอบบอแรกซ์จนแฉะกวนให้เข้ากัน
จุ่มกระดาษขมิ้นให้เปี ยกครึ่ งแผ่น
นากระดาษขมิ้นไปตากแดดนาน 10 นาที
ดูสี ถ้ากระดาษขมิ้นมีสีแดง แสดงว่าตัวอย่างมีบอกแรกซ์ปนอยู่
Food Safety for Thai Consumer
สารกันเชื้อรา หรื อสารกันบูด เป็ น
กรดที่มีอนั ตรายต่อร่ างกายมาก
ซึ่งผูผ้ ลิตอาหารบางรายนามาใส่
เป็ นสารกันเสี ยในอาหารแห้ง
เพื่อป้ องกันเชื้อราขึ้น
Food Safety for Thai Consumer
• อาหารที่มกั พบว่ามีสารกันรา ได้แก่ น้ าผักดอง น้ าดองผลไม้ แหนม หมู
ยอ เป็ นต้น
• พิษของสารกันรา เมื่อกินเข้าไปจะทาลายเซลล์ในร่ างกายให้ตาย หากกิน
เข้าไปมากๆ จะทาลายเยือ่ บุกระเพาะอาหารและลาไส้ ทาให้เป็ นแผลใน
กระเพาะอาหารและลาไส้ได้ ความดันโลหิ ตต่าจนช็อกได้ หรื อ ในบาง
รายที่กินเข้าไปไม่มากแต่แพ้ จะทาให้เป็ นผืน่ คันขึ้นตามตัว อาเจียน หูอ้ือ
มีไข้
• หลีกเลี่ยงพิษจากสารกันราได้โดย เลือกกินอาหารที่สดใหม่ ไม่กิน
อาหารหมักดอง หรื อเลือกซื้ออาหารจากแหล่งผลิตที่เชื่อถือได้รับการ
รับรองคุณภาพ มีเครื่ องหมาย อย.
Food Safety for Thai Consumer
สารฟอกขาวหรื อผงซักมุง้ หรื อ
สารโซเดียมไฮโดรซัลไฟต์
(Sodium Hydrosulfite)
เป็ นสารเคมีที่ใช้ฟอกแห อวน
แต่แม่คา้ บางรายนามาใช้ฟอก
ขาวในอาหาร เพื่อให้มีสีขาว ซึ่ง
เป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพ
Food Safety for Thai Consumer
• อาหารที่มกั พบว่ามีสารฟอกขาว ได้แก่ ถัว่ งอก ขิงฝอย ยอดมะพร้าว
กระท้อน หน่อไม้ดอง น้ าตาลมะพร้าว ทุเรี ยนกวน
• อันตรายของสารฟอกขาวคือ เมื่อสัมผัสโดยตรงจะทาให้ผวิ หนังอักเสบ
เป็ นผืน่ แดง และถ้ากินเข้าไปจะทาให้เกิดอาการอักเสบในอวัยวะที่สัมผัส
อาหาร เช่น ปาก ลาคอ กระเพาะอาหาร เกิดอาการปวดหลัง ปวดศีรษะ
อาเจียน แน่นหน้าอก หายใจไม่สะดวก ความดันโลหิ ตลดลง และหาก
กินมากอาจเสี ยชีวิตได้
• หลีกเลี่ยงสารฟอกขาวได้โดยการเลือกกินอาหารที่มีสีใกล้เคียงธรรมชาติ
ไม่ขาวจนเกินไป
Food Safety for Thai Consumer
สารฟอร์มาลีน (Formalin)
หรื อน้ ายาดองศพเป็ นสาร
อันตรายที่แม่คา้ บางราย
นามาใช้ราดอาหารสด เพื่อให้
คงความสดอยูไ่ ด้นาน ไม่บูด
เน่าง่าย
Food Safety for Thai Consumer
• อาหารที่มกั ตรวจพบว่ามีสารฟอร์มาลีนปนเปื้ อนอยู่ เช่น ผักสดต่างๆ
อาหารทะเลสดและเนื้อสัตว์สด เป็ นต้น
• อันตรายของสารฟอร์มาลีน เมื่อกินเข้าไปจะเกิดพิษเฉียบพลัน ตั้งแต่
ปวดท้องอย่างรุ นแรง อาเจียน ท้องเสี ย หมดสติ และอาจตายได้หาก
ได้รับในปริ มาณมาก
• การใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น โดยชุดทดสอบฟอร์มาลีน ของ
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
Food Safety for Thai Consumer
สารเคมีสาหรับกาจัดแมลง
เกษตรกรบางคนใช้ในปริ มาณ
มากเกินไปจนทาให้อาจ
ตกค้างมากับผัก หรื อผลไม้
สด ปลาแห้ง
Food Safety for Thai Consumer
• อันตรายจากยาฆ่าแมลง เมื่อเรากินเข้าไปมากๆ ในครั้งเดียว จะเกิดพิษ
แบบเฉียบพลัน เช่น ทาให้กล้ามเนื้อสัน่ กระสับกระส่ าย ชักกระตุก หมด
สติ หายใจขัด และอาจหยุดหายใจได้ แต่พิษที่พบมากที่สุดคือ คลื่นไส้
อาเจียน ท้องเดิน เกิดสะสมในร่ างกาย ทาให้เกิดโรคมะเร็ งได้
• การหลีกเลี่ยงคือ เลือกกินผักผลไม้ตามฤดูกาล หรื อผักพื้นบ้าน เลือกผัก
ที่มีรูพรุ นจากการเจาะของแมลงบ้าง กินผักใบมากกว่าผักหัว เพราะผัก
หัวสะสมสารพิษไว้มากกว่า ล้างและปลอกเปลือก(ในชนิดที่ทาได้) ก่อน
นามาบริ โภค และเลือกซื้อจากแหล่งที่เชื่อถือได้ เช่นผักอนามัย ผักกาง
มุง้ เป็ นต้น
Food Safety for Thai Consumer
ซาลบูตามอล
เคยเป็ นยาขยายหลอดลมสาหรับ
ผูท้ ี่เป็ นโรคหอบหื ด เป็ นยา
แผนปัจจุบนั เป็ นยา ไม่ใช่
อาหาร
Food Safety for Thai Consumer
• ในท้องตลาดผูบ้ ริ โภคเคยเห็นหมูเนื้อแดงซึ่งมีแต่เนื้อล้วนๆ ไม่มีมนั เลย
ซึ่งมาจากความต้องการของผูบ้ ริ โภค ที่ตอ้ งการเนื้อแดงล้วนๆ ไม่มีมนั
เลย ผูเ้ ลี้ยงจึงให้หมูกินสารเคมีชื่อ ซาลบูตามอล
• ซาลบูตามอล เป็ นยาสาคัญที่ใช้ในผูป้ ่ วยที่เป็ นโรคหอบหืด ช่วยในการ
ขยายหลอดลมและมีฤทธิ์ช่วยกระตุน้ การเต้นของหัวใจ เมื่อมีการนาสาร
ซาลบูตามอลไปใช้เร่ งเนื้อแดงในหมู โดยให้หมูกินสารนี้ เมือ่ ตกค้าง
มาถึงผูบ้ ริ โภค อาจมีผลข้างเคียงทาให้มีอาการมือสัน่ กล้ามเนื้อกระตุก
ปวดศีรษะ หัวใจเต้นผิดปกติ กระวนกระวาย วิงเวียนศีรษะ บางรายมี
อาการเป็ นลม คลื่นไส้อาเจียน เป็ นอันตรายมากสาหรับผูท้ เี่ ป็ นโรคหัวใจ
ความดันโลหิ ตสูง ผูป้ ่ วยเบาหวาน หญิงมีครรภ์