วิทยากรม.เชียงใหม่2556

Download Report

Transcript วิทยากรม.เชียงใหม่2556

โดย
คุณสุ ธารทิพย์ พิสิฐบัณฑูรย์
ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ อาวุโส
รองผู้จัดการกลุ่มลูกค้ าธุรกิจ
ธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน)
24 กรกฎาคม 2556
1
SCB AT A GLANCE
• ธนาคารไทยพาณิชย์ เป็ นสถาบันการเงินแห่ งแรกของประเทศไทย
• วิสัยทัศน์ ของธนาคาร คือ มุ่งสู่ การเป็ นธนาคารทีล่ ูกค้ า ผู้ถือหุ้น
พนักงาน และ สั งคมเลือก
• เป็ นธนาคารผู้นาทีม่ ีเครือข่ ายการให้ บริการใหญ่ ทสี่ ุ ดในประเทศ
(จานวนสาขา, ตู้เอทีเอ็ม และศูนย์ แลกเปลีย่ นเงินตราต่ างประเทศ)
• มีมูลค่ าตลาดรวมสู งเป็ นอันดับ 1 ในกลุ่มสถาบันการเงินในประเทศ
(617 พันล้านบาท ณ 28 ธ.ค. 55)
• ได้ รับรางวัล “ธนาคารยอดเยีย่ มแห่ งประเทศไทย” จากสถาบันชั้นนาทั้ง
ไทยและต่ างประเทศ ได้ แก่ Euromoney,The Banker,Global Finance,
FinanceAsia, The Asset และนิตยสารการเงินธนาคาร
• กาไรสุ ทธิไตรมาสที่ 2/2556 12,600 ล้านบาท เพิม่ จากปี ก่อน 28.5%
2
รายได้ หลักของธนาคาร
รายได้ หลักมาจากการทาธุรกรรมสิ นเชื่อ , เงินฝาก และค่ าธรรมเนียมต่าง
สั ดส่ วนรายได้ ที่เป็ นดอกเบีย้ : ค่ าธรรมเนียม
70 : 30
จะพยายามให้ เป็ น
60 : 40
3
หน่ วยงานหลักด้ านสิ นเชื่อ
ธนาคารไทยพาณิชย์ มีหน่ วยงานด้ านสิ นเชื่อทั้งหมด 4 กลุ่มธุรกิจ ดังนี้
1. the Wholesale Banking Group
2. the Business Banking Group (serving SME clients)
3. the Retail Banking Group (serving individuals and
small businesses)
1. the Special Assets Group (mainly facilitating loan
restructuring and NPL workout)
4
หน่ วยงานสนับสนุน
•
Risk Management
•
Operation
•
IT
•
Compliance
5
งานด้ านสิ นเชื่อ
พนักงานธุรกิจสั มพันธ์
ทางานร่ วมกันในกรอบ
4 EYES
พนักงานบริหารความเสี่ ยงสิ นเชื่ อ
เพือ่ Check & Balance
6
บทบาทของพนักงานธุรกิจสั มพันธ์
• หาลูกค้ าเป้าหมาย
• นาเสนอสิ นเชื่อเพือ่ ขออนุมตั ิ
• ดูแลให้ บริการลูกค้ า
7
การนาเสนอสิ นเชื่อ
• นโยบายสิ นเชื่อของธนาคาร
• Underwriting Standard (ชอบอะไร ไม่ ชอบอะไร อะไรทา
ได้ อะไร ห้ ามทา!)
• คุณลักษณะของลูกค้ าเป้าหมาย
• หลักเกณฑ์ และเงือ่ นไขในการอนุมัติ
• ระยะเวลาในการตอบสนองลูกค้ า (SLA)
8
ปัญหา
ปัญหาที่มักเกิดขึน้ คือ การไม่ ปฎิบัติตาม
ระเบียบและเงือ้ นไขของธนาคาร
9
การลดความเสี่ ยง
•
•
•
•
ประกันภัยหลักประกัน
การจานองหลักประกัน
การคา้ ประกันโดยผู้บริหาร เจ้ าของ
ทาประกันภัยประเภท PA , CL, IL
10
ความท้ าทายในการทางาน
• ระบบการวัดผลแบบ KPI
• ตัววัดผลงาน O/S, รายได้ Fee , SLA การทางานเป็ น
ทีม
• ความคิดสร้ างสรรค์ ในการทางาน ( Innovation )
• Talent
11
เนื้อหาหลัก
12
โดย
คุณสุ ธารทิพย์ พิสิฐบัณฑูรย์
ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ อาวุโส
รองผู้จัดการกลุ่มลูกค้ าธุรกิจ
ธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน)
24 กรกฎาคม 2556
13
ความสาคัญของการบริหารความเสี่ ยงสิ นเชื่ อ
เป็ นรายได้ หลักของธนาคาร ได้ แก่
ดอกเบีย้ + ค่ าธรรมเนียมรับ จากธุรกรรมด้ านสิ นเชื่อ
เพราะ
สิ นเชื่อ
เป็ น...
หนีเ้ สี ยเป็ นต้ นทุนใหญ่ ของธนาคาร
กระทบส่ วนทุนของธนาคาร ในการตั้งสารองหนีส้ ู ญ
กระทบธนาคารในด้ านทุนไม่ เพียงพอ
ล้มละลาย & Take Over
14
การบริหารความเสี่ ยงด้ านสิ นเชื่ อ
ประกอบด้ วย...
1. วัฒนธรรมสิ นเชื่อ และ นโยบายสิ นเชื่อ
2. กระบวนการสิ นเชื่อ
- การริเริ่มและการวิเคราะห์ สินเชื่อ
- การวัดความเสี่ ยงด้ านสิ นเชื่อ
- การควบคุมสิ นเชื่อ
- การบริหารสิ นเชื่อที่มีปัญหา
15
การบริหารความเสี่ ยงด้ านสิ นเชื่อ
1.วัฒนธรรมและนโยบายสิ นเชื่อ
นิยาม: วัฒนธรรม
• วิธีปฎิบัติที่คนส่ วนใหญ่ ในสั งคมยึดถือปฎิบัติ
– กฎ ระเบียบปฎิบตั ิ ที่กาหนดไว้อย่างชัดเจน
– คาบอกเล่าถ่ายทอดกันมาแต่โบราณ
• แสดงถึงความเชื่อ และการยอมรับในสั งคม
16
ธนาคารที่มวี ฒ
ั นธรรมสิ นเชื่อที่เข้ มแข็ง
• พนักงานทุกระดับในกระบวนการอนุมัตสิ ิ นเชื่อ จะต้ องมีความ
รับผิดชอบต่ อคุณภาพของสิ นเชื่อ
• ผู้บริหารระดับสู งต้ องมีความมุ่งมัน่ ทีจ่ ะให้ มีการปฏิบัติตามหลักการ
สิ นเชื่อทีถ่ ูกต้ อง
– มาตรฐานสิ นเชื่อ จะต้ องสาคัญกว่ า การขยายตัวของสิ นเชื่ อ
– [ ทั้งในระยะสั้ น , ระยะปานกลาง , ระยะยาว ]
• ผู้บริหารระดับสู ง เริ่มตั้งแต่ CEO ต้ องแสดงให้ เห็นว่ ามาตรฐานสิ นเชื่อ
และนโยบายสิ นเชื่อเป็ นเรื่องสาคัญสู งสุ ด
17
ธนาคารที่มวี ฒ
ั นธรรมสิ นเชื่อที่เข้ มแข็ง
• พนักงานสิ นเชื่อและพนักงานบริหารความเสี่ ยง ต่ างมีวตั ถุประสงค์
เดียวกันและทางานร่ วมกัน คือ เพือ่ ให้ ธนาคารได้ ผลตอบแทนทีด่ ที สี่ ุ ด
• พนักงานมีความเข้ าใจอย่ างถ่ องแท้ ในนโยบายสิ นเชื่อของธนาคาร
รับรู้ : ธุรกิจธนาคารเป็ นธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้ องกับความเสี่ ยง
ยอมรับ : การตัดสิ นใจผิดพลาดทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ได้
สิ่ งทีไ่ ม่ ควรจะเกิดขึน้ : ความผิดพลาดในกระบวนการ
18
ธนาคารที่มวี ฒ
ั นธรรมสิ นเชื่อที่เข้ มแข็ง
• เปิ ดโอกาสให้ มีการแสดงความคิดเห็น – โต้ เถียงในประเด็น
ความเสี่ ยงสิ นเชื่ออย่ าง “สร้ างสรรค์ ” [ไม่ มีบรรยากาศของการ
เป็ นศัตรู ] การตัดสิ นใจต้ องโปร่ งใสและอธิบายได้
• พนักงานทุกระดับต้ องมีความเชื่อว่ า ความสามารถในการบริหาร
ความเสี่ ยงสิ นเชื่อของเขา จะเป็ นปัจจัยที่มีอทิ ธิพลต่ อ
ความก้ าวหน้ าในงาน
• พนักงานทุกระดับต้ องได้ รับการอบรม - ฝึ กฝน เพือ่ เพิม่ ทักษะใน
กระบวนการสิ นเชื่อ
19
ธนาคารที่มวี ฒ
ั นธรรมสิ นเชื่อที่เข้ มแข็ง
• ต้ องมีคู่มือกระบวนการสิ นเชื่อทีช่ ัดเจน
- อานาจอนุมัติ
- Risk Rating System
- Loan Monitoring & Reviews
- Documents ต่ าง
• พนักงานสิ นเชื่อต้ องกล้า Say “ NO ” บนหลักการความเสี่ ยงทีถ่ ูกต้ อง
คุณภาพสิ นเชื่อ “ Credit Quality ” ต้ องมีความสาคัญกว่ าการได้
เป้าสิ นเชื่อ “ Growth ”
20
การบริหารความเสี่ ยงด้ านสิ นเชื่อ
1.วัฒนธรรมและนโยบายสิ นเชื่อ
นโยบายสิ นเชื่อ
การอนุมัตแิ ละบังคับใช้ นโยบายสิ นเชื่อเป็ นความรับผิดชอบ
หลักของกรรมการและผู้บริหารระดับสู ง เพือ่ ให้ แน่ ใจว่ าจะบรรลุถงึ
จุดมุ่งหมายของธนาคาร
– นโยบายสิ นเชื่อไม่ เพียงแต่ กาหนดแนวทางในการทาสิ นเชื่อ แต่
ยังเป็ นการส่ งเสริมวัฒนธรรมสิ นเชื่ออีกด้ วย
– นโยบายสิ นเชื่อโดยทั่วไปจะต้ องมีกระบวนการสิ นเชื่อสนับสนุน
21
นโยบายสิ นเชื่อที่ดี
- ต้ องมีการปรับเปลีย่ นให้ เข้ ากับสถานการณ์ เศรษฐกิจ
แต่ ต้องเป็ นไปตามหลักการสิ นเชื่อทีถ่ ูกต้ อง และโปร่ งใส
- ต้ องเป็ นลายลักษณ์ อกั ษร มีความชัดเจน กระชับเจาะจง
และไม่ กากวม
- นโยบายสิ นเชื่อต้ องกาหนดจากส่ วนกลาง
22
นโยบายสิ นเชื่อที่ดี
- การบริหารการกระจุกตัว (concentration) ของความเสี่ ยง
ทุกประเภท ต้ องถูกควบคุมดูแลจากส่ วนกลาง
- ทุกครั้งทีม่ ีการเปลีย่ นแปลงนโยบายสิ นเชื่อ จะต้ องมีการ
สื่ อสารกับพนักงานที่เกีย่ วข้ องอย่ างชัดเจน
- พนักงานทีอ่ ยู่ในกระบวนการสิ นเชื่อทุกคน ต้ องทาความ
เข้ าใจและปฏิบัติตามนโยบายสิ นเชื่ออย่ างเคร่ งครั ด
23
การบริหารความเสี่ ยงด้ านสิ นเชื่ อ
2. กระบวนการสิ นเชื่อ
- การริเริ่มและการวิเคราะห์ สินเชื่อ
- การวัดความเสี่ ยงสิ นเชื่อ
- การควบคุมสิ นเชื่อและการบริหารสิ นเชื่อ
- การแก้ ไขสิ นเชื่อมีปัญหา
24
กระบวนการสิ นเชื่อที่เข้ มแข็ง
องค์ ประกอบ
1. การกาหนด Target Market
- ฝ่ ายธุรกิจสั มพันธ์ และฝ่ ายสิ นเชื่อร่ วมกันกาหนด
ประเภทลูกค้ าเป้าหมาย
- ใช้ งานวิจยั สนับสนุน
- เข้ าใจความเสี่ ยงของลูกค้ าเป้าหมายดังกล่ าว
- กาหนดแผนการตลาดที่เหมาะสม
25
กระบวนการสิ นเชื่อที่เข้ มแข็ง
องค์ ประกอบ
2. การวิเคราะห์ สินเชื่อ
• การจัดโครงสร้ างสิ นเชื่อที่เหมาะสม
• อัตราดอกเบีย้ ต้ องสอดคล้องกับความเสี่ ยง : RAROC
• เอกสาร เงื่อนไขในการลด/ จากัดความเสี ยหาย และหลักประกัน
ต้ องได้ รับพิจารณาอย่ างรอบคอบ ครบถ้ วน และเก็บในทีป่ ลอดภัย
• ความสามารถของผู้ประกอบการ / สภาพเศรษฐกิจ / ภาวะธุรกิจ
• การ Collection การรับชาระ
• การเบิกจ่ าย
26
• ** WAC
กระบวนการสิ นเชื่อที่เข้ มแข็ง
องค์ ประกอบ
3. การบริหารหนีม้ ีปัญหา
4. การบริหาร Portfolio
• มี Credit Risk Rating ทีถ่ ูกต้ อง
• กาหนดเวลาในการทา Annual Review
• มีการดูแล - ควบคุม ติดตามการใช้ สินเชื่ออย่ างใกล้ ชิด
เพือ่ ระบุแนวโน้ มปัญหาได้ ต้งั แต่ เนิ่น ก่อนที่จะ
กลายเป็ นปัญหารุนแรง
• Take Action ได้ ทันท่ วงทีและเพียงพอ
• วิธีการที่จัดการกับหนีม้ ีปัญหาทีม่ ีประสิ ทธิภาพ
27
กระบวนการสิ นเชื่อที่เข้ มแข็ง
องค์ ประกอบ
5. การตรวจสอบสิ นเชื่อ
• ต้ องตรวจสอบขั้นตอน & กระบวนการสิ นเชื่อ
• ตรวจสอบแฟ้มสิ นเชื่อ
6. ต้ องมีการฝึ กอบรมพนักงานทุกระดับ
• เพือ่ ให้ เข้ าใจนโยบายสิ นเชื่อ กระบวนการสิ นเชื่อ
และมี Common Language
7. มีระบบพีเ่ ลีย้ ง [ Coaching ] เป็ น Core Value
28
สาเหตุของหนีม้ ปี ัญหา
วัฒนธรรมสิ นเชื่อ
กระบวนการสิ นเชื่อ
สิ นเชื่อนโยบายจากทางการ
สิ นเชื่อบริษัทในเครือ / ผู้บริหาร
มุ่งรายได้
เน้ นการแข่ งขัน
มีการประนีประนอมใน
หลักการสิ นเชื่อ
• ให้ สินเชื่อกับคนทีค่ ุ้นเคย
• ขาดเทคนิควิเคราะห์ ที่ดี
• ข้ อมูลด้ านสิ นเชื่อไม่ สมบูรณ์
• เลือกประเด็นความเสี่ ยง
ผิดพลาด
• ให้ ก้ยู มื เกินความจาเป็ น
• ขาดการควบคุมดูแลทีด่ ี
•
•
•
•
•
29
การบริหารความเสี่ ยงด้ านสิ นเชื่ อ
2. กระบวนการสิ นเชื่อ
2.1 การริเริ่มและการวิเคราะห์ สินเชื่ อ
2.2 การวัดความเสี่ ยงสิ นเชื่อ
2.3 การควบคุมสิ นเชื่อและการบริหารสิ นเชื่อ
2.4 การแก้ ไขสิ นเชื่อมีปัญหา
30
2.1 การริเริ่มการวิเคราะห์ สินเชื่อ
• การริเริ่มและการวิเคราะห์ สินเชื่อ ควรสร้ างความมั่นใจว่ า
เป็ นไปตามแนวนโยบายสิ นเชื่อ และตามมาตรฐานการ
อานวยสิ นเชื่อ
• ต้ องเป็ นไปตามแนวทางการวิเคราะห์ ซึ่งเริ่มจากการ
รวบรวมข้ อมูลทั้งทีเ่ ป็ นข้ อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
• การวิเคราะห์ ความเสี่ ยงควรมุ่งเน้ นทีป่ ัจจัยหลักทั้ง (5Cs)
31
หลักพืน้ ฐานในการวิเคราะห์ สินเชื่อ
พนักงานสิ นเชื่อทุกคนต้ อง...
– มีความรู้ ความเข้ าใจ ในนโยบายสิ นเชื่อ คู่มือสิ นเชื่อ
มาตรฐานการอานวยสิ นเชื่อ และต้ องปฎิบัติตามอย่ างเคร่ งครัด
– มีทกั ษะในการวิเคราะห์ สินเชื่อเป็ นอย่ างดี
– หลีกเลีย่ งปัญหา Conflict of interest
32
ลูกค้ ากลุ่มเป้ าหมาย
• การปล่ อยสิ นเชื่อในภาคเศรษฐกิจสาคัญ ที่ธนาคารกาหนดใน
Underwriting Standards
• คุณสมบัตขิ องลูกค้าเป้าหมายตามทีร่ ะบุใน Underwriting
Standards
• Products & บริการทีเ่ สนอขาย กาหนดตามประเภทธุรกิจ
และกลุ่มลูกค้ า
• ได้ ผลตอบแทนทีต่ ้ องการ โดยคุ้มความเสี่ ยง
33
กระบวนการริเริ่มวิเคราะห์ สินเชื่อ
กลัน่ กรอง
เก็บรวบรวม
กลุ่มลูกค้ าทีม่ ี
แนวโน้ มทีด่ ี เพือ่ ทีจ่ ะ
ระบุลูกค้ าเป้ าหมาย
ข้ อมูลทีใ่ ช้ ในการ
วิเคราะห์ ความเสี่ ยง
ของลูกค้ าเป้ าหมาย
วิเคราะห์ ความเสี่ ยงของสิ นเชื่อ / โครงการภายใต้
การจัดโครงสร้ างสิ นเชื่อทีเ่ หมาะสม
เพือ่ ผลกาไรสู งสุ ด และลดความสู ญเสี ย
วิเคราะห์ ระดับ
ความเสี่ ยง
ของลูกค้ าเป้ าหมาย
จัดเตรียม
เอกสารเกีย่ วกับการ
วิเคราะห์ สินเชื่อ
เป็ นอย่ างดี
34
หลัก “ 5Cs ”
CHARACTER
ลักษณะนิสัย
CAPACITY
ความสามารถ
CAPITAL
เงินทุน
CONDITIONS
สถานการณ์
COLLATERAL
หลักประกัน
35
2.1 การริเริ่มและการวิเคราะห์ สินเชื่อ
• เมื่อทาการวิเคราะห์ พนื้ ฐานทั้ง 5 ปัจจัยที่กล่ าวมาแล้ ว
ควรจัดโครงสร้ างของสิ นเชื่อโดยมีการคานึงถึงความเสี่ ยง
และผลตอบแทนทีต่ ้ องการ
• เสนออนุมัตติ าม “ลาดับอานาจอนุมัตสิ ิ นเชื่อ” ที่กาหนดไว้
• มีระบบบันทึกข้ อมูลการให้ สินเชื่อไว้ เพือ่ นาไปใช้ ในการ
ควบคุม ติดตามทั้งในส่ วนที่เป็ น Account Management
และ Portfolio Management
36
2.1 การริเริ่มและการวิเคราะห์ สินเชื่อ
การวิเคราะห์ ความเสี่ ยงที่ดี
จะช่ วยลดโอกาสในการเกิดความผิดพลาดในการให้ สินเชื่อ
TYPE 1 ERROR : ธนาคารให้ ก้ สู ิ นเชื่อที่ไม่ ควรให้ สินเชื่อ
TYPE 2 ERROR : ธนาคารปฏิเสธสิ นเชื่อที่ควรให้
37
Matrix การวิเคราะห์
ดี
Rejected
Accepted
Type 2 Error
ข้ อมูล
Accepted
Rejected
ไม่ ดี
ถูก
Type 1 Error
การวิเคราะห์
ผิด
38
2.1 การริเริ่มและการวิเคราะห์ สินเชื่อ
การวิเคราะห์ สินเชื่อ
• การวัดระดับความเสี่ ยงของลูกค้ าเป้าหมาย ( การจัดทาCRR
ของบริษัท / ผู้ก้ ู )
• การวิเคราะห์ ความเป็ นไปได้ ของโครงการ และความสามารถ
ในการชาระหนีจ้ ากโครงการโดยตรง
• การลดความเสี ยหายทีอ่ าจจะเกิดขึน้ เมื่ออนุมัติสินเชื่อแล้ว
39
2.1 การริเริ่มและการวิเคราะห์ สินเชื่อ
การวัดระดับความเสี่ ยงของลูกค้ าเป้าหมาย
( การจัดทาCRR ของบริษทั / ผู้ก้ ู )
• Credit Risk Rating (CRR)
• เพือ่ ระบุโอกาสทีล่ ูกหนีจ้ ะผิดนัดชาระหนี้ : PD
– Industry Risk Rating
– Business Risk Rating
– Financial Risk Rating
40
หลักเกณฑ์ การจัด Credit Risk Rating (CRR)
ระดับ
1. INDUSTRY INFORMATION
2. BUSINESS INFORMATION
3. FINANCIAL
INFORMATION
CRR 13
01 EXCEPTION
02 EXCELLENT
03 STRONG
04 GOOD
05 SATISFACTORY
06 ADEQUATE
07 MARGINAL
08 WEAK
09 VERY WEAK
10 SPECIAL MENTIONED
11 SUB STANDARD
12 DOUBTFUL
13 DOUBTFUL LOSS
41
2.1 การริเริ่มและการวิเคราะห์ สินเชื่อ
การวิเคราะห์ สินเชื่อ
• การวัดระดับความเสี่ ยงของลูกค้ าเป้าหมาย ( การจัดทาCRR
ของบริษัท / ผู้ก้ ู )
• การวิเคราะห์ ความเป็ นไปได้ ของโครงการ และความสามารถ
ในการชาระหนีจ้ ากโครงการโดยตรง
• การลดความเสี ยหายทีอ่ าจจะเกิดขึน้ เมื่ออนุมัติสินเชื่อแล้ว
42
2.1 การริเริ่มและการวิเคราะห์ สินเชื่อ
การวิเคราะห์ ความเป็ นไปได้ ของโครงการ และ
ความสามารถในการชาระหนีจ้ ากโครงการโดยตรง
นิยาม : ความเป็ นได้ ของโครงการ
ในมุมมองของธนาคาร
มีความสามารถ ชาระดอกเบีย้ และ คืนเงินต้ นธนาคาร
ภายในเงื่อนไขและเวลาทีก่ าหนด ด้ วยกระแสเงินสด
ของกิจการโดยตรง
43
2.1 การริเริ่มและการวิเคราะห์ สินเชื่อ
การวิเคราะห์ ความเป็ นไปได้ ของโครงการ = กระแสเงินสดจากโครงการโดยตรง
เพียงพอกับการชาระหนี้
ปัจจัยในการพิจารณา
- โครงการทีล่ งทุนสอดคล้ อง
กับความต้ องการของตลาด
มากน้ อยเพียงใด
- ความสามารถและ
ประสบการณ์ ของทีมผู้บริหาร
ทั้งทางด้ านการผลิต การตลาด
และการจัดการ
- โครงสร้ างเงินลงทุน
ตัวแสดงผล
- การขยายตัวของยอดขาย
- ต้ นทุนการผลิตและค่ าใช้ จ่าย
ในการขายและการบริหาร
- การขยายตัวของยอดขาย
- ภาระดอกเบีย้ จ่ ายและการชาระ
เงินกู้ เทียบกับกระแสเงินสด
ของกิจการ
44
2.1 การริเริ่มและการวิเคราะห์ สินเชื่อ
การวิเคราะห์ ความเป็ นไปได้ ของโครงการฯ
งบกระแสเงินสด
• จะคานึงถึงกระแสเงินสดในการดาเนินงานจริง
• เป็ นการคานวณจากกาลังการผลิตหรือยอดขายของกิจการ
• โดยรวมการปรับปรุงเครดิตเทอมทีไ่ ด้ รับหรือให้ สต็อคสิ นค้ า
รายการทีเ่ ป็ นค้ างรับ ค้ างจ่ าย ภาระการจ่ ายคืนเงินกู้ การจ่ าย
ดอกเบีย้ เป็ นต้ น
• ประมาณการเป็ นตัวแสดงความสามารถในการมีเงินสดคงเหลือที่จะ
นาไปจ่ ายดอกเบีย้ หรือภาระเงินกู้เพิม่ เติม หรือเพือ่ การลงทุน 45
ข้ อกาหนดในการการทาประมาณการกระแสเงินสด
Assumptions
Customer Case Bank Case
Worst Case
Sales Growth
Profit Margin
SGAC Growth
Average Room Rate
Etc.
ผลกระทบความ
สามารถชาระหนี้
46
ข้ อกาหนดในการการทาประมาณการกระแสเงินสด
กรณีที่ไม่ สามารถวิเคราะห์ งบการเงิน
•
•
•
•
•
•
การตรวจสอบ Credit ต่ าง จากในวงการ
การตรวจสอบข้ อมูลภายใน
การตรวจสอบข้ อมูลภายนอก
การตรวจเยีย่ มลูกค้ า ประเมินผลการดาเนินงาน
การเยีย่ มชมกิจการลักษณะใกล้เคียงกันเปรียบเทียบ
การสร้ างงบจาลอง
47
2.1 การริเริ่มและการวิเคราะห์ สินเชื่อ
การวิเคราะห์ สินเชื่อ
• การวัดระดับความเสี่ ยงของลูกค้ าเป้าหมาย ( การจัดทาCRR
ของบริษัท / ผู้ก้ ู )
• การวิเคราะห์ ความเป็ นไปได้ ของโครงการ และความสามารถ
ในการชาระหนีจ้ ากโครงการโดยตรง
• การลดความเสี ยหายทีอ่ าจจะเกิดขึน้ เมื่ออนุมัติสินเชื่อแล้ว
48
2.1 การริเริ่มและการวิเคราะห์ สินเชื่อ
การลดความเสี ยหายทีอ่ าจจะเกิดขึน้ เมื่ออนุมัติสินเชื่อแล้ว
แหล่ งที่มาของการชาระคืนเงินกู้
•
•
•
•
•
กระแสเงินสดจากโครงการ
เงินสดจากการขายสิ นทรัพย์
เงินสดจากการออกหุ้นใหม่ / เพิม่ ทุน / กู้ยมื กรรมการ
จากขายหลักประกันของผู้คา้ ประกัน
การบังคับขายหลักประกันของธนาคาร
49
2.1 การริเริ่มและการวิเคราะห์ สินเชื่อ
• เรามักจะลืมให้ ความสนใจการวิเคราะห์ งบกระแสเงินสด
• กาไร ไม่ ใช่ ตัววัดความสามารถในการจ่ ายคืนหนี้
เงินสด เป็ นตัววัดที่แท้ จริง
• การให้ สินเชื่อโดย base on หลักประกัน โดยไม่ คานึงถึง
กระแสเงินสด ไม่ ใช่ แนวคิดทีถ่ ูกต้ อง
• หลักประกันจะทาให้ ธนาคารเสี ยหายน้ อยลง เมื่อหนีม้ ีปัญหา
– Loss Given Default : LGD
– สั ดส่ วนสิ นเชื่อต่ อหลักประกัน
50
สรุปการวิเคราะห์ สินเชื่อ
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
สิ นเชื่อรายนีส้ อดคล้องกับนโยบาย ?
ลูกค้ าเป็ นทีน่ ่ าเชื่อถือหรือไม่
อะไรเป็ นเหตุผลทีล่ ูกค้ าต้ องการวงเงิน
ผู้บริหารมีความสามารถหรือไม่
ลูกค้ ามีความสามารถในการจ่ ายคืนหนีไ้ ด้ หรือไม่
งบการเงินแสดงฐานะความมั่นคงเพียงพอหรือไม่ ทั้งในภาวะปกติ
และกรณีมีผลกระทบ
อุตสาหกรรมนั้นยังมีแนวโน้ มดี
ภาวะเศรษฐกิจ / ภาวะตลาด
มี second way out สาหรับธนาคาร
51
Structure, การปิ ดความเสี่ ยง, การควบคุมลูกค้ า, ราคา
การบริหารความเสี่ ยงด้ านสิ นเชื่ อ
2. กระบวนการสิ นเชื่อ
2.1 การริเริ่มและการวิเคราะห์ สินเชื่อ
2.2 การวัดความเสี่ ยงสิ นเชื่อ
2.3 การควบคุมสิ นเชื่อและการบริหารสิ นเชื่อ
2.4 การแก้ ไขสิ นเชื่อมีปัญหา
52
การบริหารความเสี่ ยงด้ านสิ นเชื่ อ
ปัจจัยพืน้ ฐานในการวัดความเสี่ ยงสิ นเชื่อ
1. การวัดความเสี่ ยงของตัวผู้ก้ ู
2. การวัดความเสี่ ยงของโครงการ
3. การวัดความเสี่ ยงด้ านหลักประกัน
53
ปัจจัยพืน้ ฐานในการวัดความเสี่ ยงสิ นเชื่อ
ปัจจัยเสี่ ยงทีเ่ กีย่ วกับลักษณะผู้ก้ ู
• ความล้มเหลวของผูบ้ ริ หารในการควบคุมดูแลเกี่ยวกับระบบการ
ตรวจสอบควบคุมภายในและการจัดทางบการเงิน
• การเปลี่ยนแปลงในราคาหุน้ ของกิจการ หรื อเพิ่มราคา
• การให้ความเห็นของผูบ้ ริ หารเกี่ยวกับการประมาณการคู่แข่งขัน /
Suppliers ซึ่งค่อนข้าง Aggressive หรื อเป็ นไปไม่ได้
• ประวัติดา้ นกฎหมายของผูบ้ ริ หาร
• ความสัมพันธ์ระหว่างผูบ้ ริ หารกับผูต้ รวจสอบบัญชีท้ งั คนปัจจุบนั /
คนเดิม
54
ปัจจัยพืน้ ฐานในการวัดความเสี่ ยงสิ นเชื่อ
บุคคลทีต่ ามพฤติการณ์ ไม่ อาจชาระหนีไ้ ด้
หรืออาจชาระหนีไ้ ด้ โดยยาก
• บุคคลซึ่งศาลมีคาสั่ งพิทกั ษ์ ทรัพย์
• บุคคลซึ่งถูกฟ้องบังคับชาระหนีแ้ ละไม่ มีทรัพย์ สินพอที่จะยึดมา
ชาระหนีไ้ ด้
• บุคคลซึ่งมีฐานะการเงินไม่ มั่นคงหรือความสามารถในการหา
รายได้ ต่าจนไม่ น่าเชื่อว่ าจะชาระหนีไ้ ด้
• บุคคลทีด่ าเนินธุรกิจขาดทุนเป็ นเวลาตั้งแต่ 3 ปี ขึน้ ไปหรือ
ขาดทุนเกินกว่ าทุนซึ่งได้ ชาระแล้ว
55
ปัจจัยพืน้ ฐานในการวัดความเสี่ ยงสิ นเชื่อ
บุคคลทีต่ ามพฤติการณ์ ไม่ อาจชาระหนีไ้ ด้
หรืออาจชาระหนีไ้ ด้ โดยยาก
• บุคคลซึ่งไม่ ปรากฎว่ าประกอบธุรกิจแน่ ชัดหรือมีเหตุอนั สงสั ยว่ า
ไม่ ได้ ประกอบธุรกิจจริงและไม่ ปรากฏว่ ามีรายได้ เพียงพอที่จะ
ชาระหนีไ้ ด้
• บุคคลซึ่งค้ างชาระดอกเบีย้ เจ้ าหนีร้ ายใดรายหนึ่งเป็ นเวลาเกินกว่ า
1 ปี ขึน้ ไปซึ่งธนาคารพาณิชย์ น้ันรู้หรือควรรู้
• บุคคลทีไ่ ด้ ขอผ่ อนเวลาการชาระหนีไ้ ว้ แต่ ผดิ นัดไม่ ชาระหนีต้ าม
56
กาหนดเวลาทีต่ กลงกันโดยไม่ มีเหตุผลอันควร
ปัจจัยพืน้ ฐานในการวัดความเสี่ ยงสิ นเชื่อ
ปัจจัยเสี่ ยงเกีย่ วกับการดาเนินงาน
และความมั่นคงทางการเงิน
• ความจาเป็ นในเรื่องการต้ องเพิม่ ทุน
• รายการทีเ่ กีย่ วข้ องทีส่ าคัญ และมีนัยสาคัญ ซึ่งบางรายการผิดปกติ
หรือเป็ นรายการทีก่ ระทากับกิจการที่มีการสอบบัญชีโดยผู้สอบบัญชี
บริษัทเดียวกัน
• รายการผิดปกติที่มีนัยสาคัญในช่ วงการจัดทางบการเงิน
• รายการที่โครงสร้ างของรายการมีขนาดใหญ่ มากและซับซ้ อน
โดยไม่ มีเป้าหมายทางธุรกิจทีช่ ัดเจน
57
• การตบแต่ งงบการเงินทีก่ ฎหมายรับรอง/อนุญาต
ปัจจัยพืน้ ฐานในการวัดความเสี่ ยงสิ นเชื่อ
Financial Reporting Red Flags
• โครงสร้ างทางธุรกิจทีซ่ ับซ้ อน เข้ าใจยาก
• รายการใหญ่ เกิดขึน้ กระทันหันในแต่ ละไตรมาส
• การเปลีย่ นแปลงในผู้สอบบัญชีเกีย่ วกับระบบบัญชี หรือข้ อขัดแย้ ง
โดยเฉพาะเรื่องทีเ่ ป็ นเหตุผลให้ มีการเปลีย่ นผู้สอบบัญชี
• ผลประกอบการ “ ดีเกินกว่ าความเป็ นจริง ” , “ ดีกว่ าตลาด ”
มาก
• ตลาดทีก่ ระจายกว้ าง โดยไม่ มีศูนย์ กลางการบริหารงาน
• ระบบรายงานภายในไม่ ดี
58
ปัจจัยพืน้ ฐานในการวัดความเสี่ ยงสิ นเชื่อ
Financial Reporting Red Flags
•
•
•
•
•
•
•
การทาได้ ตามเป้าหมาย แผนงานอย่ างใกล้เคียงมากผิดสั งเกต
ความเห็นแตกต่ างระหว่ างผู้บริหารกับผู้สอบบัญชีภายนอก
การส่ งงบการเงินในวันสุ ดท้ ายของไตรมาส
ผู้ตรวจสอบภายในไม่ มีระบบการรายงานต่ อ ผู้บริหาร
การปฏิเสธไม่ ทาตามความเห็นของผู้ตรวจสอบภายใน
รายการเปลีย่ นแปลงทีผ่ ดิ ปกติในงบการเงิน
หลักการทางบัญชีทตี่ ่ างไปจากกิจการอืน่ ในประเภทอุตสาหกรรม
เดียวกัน
59
ปัจจัยพืน้ ฐานในการวัดความเสี่ ยงสิ นเชื่อ
Financial Reporting Red Flags
• นโยบายในการบันทึกบัญชีรายได้ และรายจ่ ายทีผ่ ดิ ไปจากปกติ
• วิธีการทางบัญชีทเี่ อือ้ ประโยชน์ ให้ ธุรกิจ
• การใช้ เงินสารองเพือ่ ช่ วยให้ งบดูดี
• การเปลีย่ นแปลงการประมาณการโดยไม่ มีเหตุอนั ควร
• เปลีย่ นวิธีการใหม่ ทางการบัญชีทมี ีผลกระทบต่ อธุรกิจ
60
ปัจจัยพืน้ ฐานในการวัดความเสี่ ยงสิ นเชื่อ
ปัจจัยเสี่ ยงเกีย่ วกับอุตสาหกรรม
• การแข่ งขันทีร่ ุนแรง และทาให้ Margin ลดลง
• ตลาดทีห่ ดตัว และคู่แข่ งขันทีเ่ ริ่มลดลง
• การเปลีย่ นแปลงในตลาดอย่ างชัดเจน / รวดเร็ว
61
การบริหารความเสี่ ยงด้ านสิ นเชื่ อ
2. กระบวนการสิ นเชื่อ
2.1 การริเริ่มและการวิเคราะห์ สินเชื่อ
2.2 การวัดความเสี่ ยงสิ นเชื่อ
2.3 การควบคุมสิ นเชื่อและการบริหารสิ นเชื่อ
2.4 การแก้ ไขสิ นเชื่อมีปัญหา
62
การควบคุมและการบริหารสิ นเชื่อ
• การจัดทา Annual Review
• ติดตามคุณภาพสิ นเชื่อของ Port-folio
• ควบคุมการกระจุกตัวของสิ นเชื่อ
– ประเภทธุรกิจ
– Single Obligor
• ปริมาณหนีจ้ ัดชั้น
• ปริมาณสารองเผือ่ หนีส้ ู ญ
63
การบริหารความเสี่ ยงด้ านสิ นเชื่ อ
2. กระบวนการสิ นเชื่อ
2.1 การริเริ่มและการวิเคราะห์ สินเชื่อ
2.2 การวัดความเสี่ ยงสิ นเชื่อ
2.3 การควบคุมสิ นเชื่อและการบริหารสิ นเชื่อ
2.4 การแก้ ไขสิ นเชื่อมีปัญหา
64
การแก้ ไขสิ นเชื่อทีม่ ีปัญหา
นิยาม : สิ นเชื่อที่มีปัญหา
สิ นเชื่อทีม่ กี ารค้ างชาระดอกเบีย้ / เงินต้ น
• สิ นเชื่อทีไ่ ม่ หมุนเวียนเป็ นเวลาติดต่ อกัน
• เป็ นหนีม้ ปี ัญหากับผู้บุคคลภายนอก
• สิ นเชื่อทีม่ แี นวโน้ มจะชาระหนีไ้ ม่ ได้
65
การแก้ ไขสิ นเชื่อทีม่ ีปัญหา
Early Warning
ด้ านลูกค้ า : Financial
•
•
•
•
•
•
•
ยอดขาย&ความสามารถในการทารายได้ ลดลง
ผลประกอบการจริงต่ างจากที่ประมาณการมาก
รายรับไม่ เข้ ามาตามเวลาที่ควรเป็ น
เกิดการขาดทุน(แม้ จะดูเป็ นการขาดทุนชั่วคราว)
ประสิ ทธิภาพการผลิตต่าลง(margin,asset turnover เลวลง)
สภาพคล่องลดลง
บัญชีเงินกู้ O/Dเพิม่ สู งขึน้ และไม่ เคลือ่ นไหว
66
การแก้ ไขสิ นเชื่อทีม่ ีปัญหา
Early Warning
ด้ านลูกค้ า : Financial
•
•
•
•
•
•
•
การกู้ยมื เริ่มมีรูปแบบทีต่ ่ างไปจากเดิม
มีการก่อหนีม้ ากเกินไป
ถูก Qualified จากผู้ตรวจสอบบัญชี
มีการใช้ สินเชื่อ/เงินทุนผิดวัตถุประสงค์
เริ่มมีความล่าช้ าในการส่ งงบการเงินให้ ธนาคาร
ผิดเงื่อนไข และข้ อกาหนด ของการกู้เงิน
ขอเกินวงเงินเป็ นประจา
67
การแก้ ไขสิ นเชื่อทีม่ ีปัญหา
Early Warning
ด้ านลูกค้ า : Management
•
•
•
•
•
•
•
สู ญเสี ยผู้บริหารหลัก
ขาดผู้นาทีม่ ีวสิ ั ยทัศน์
มีการเปลีย่ นแปลงผู้บริหารระดับกลางเป็ นจานวนมาก
ขาดการกาหนดเป้าหมายที่เน้ นผลการดาเนินงาน
ไม่ ทราบฐานะที่แท้ จริงของกิจการ
มีการถอนเงินลงทุน/จ่ ายปันผลในอัตราสู ง
ลักษณะนิสัยของเจ้ าของ/ผู้บริหารหลักเปลีย่ นแปลงไป
68
การแก้ ไขสิ นเชื่อทีม่ ีปัญหา
Early Warning
ด้ านลูกค้ า : Management
•
•
•
•
•
•
กงสี แตก
มีปัญหาทางครอบครัว
ใช้ เงินมือเติบ
ผู้บริหารมีปัญหาสุ ขภาพ
ถูกเจ้ าหนีภ้ ายนอกฟ้อง
มีการลงทุนในกิจการทีไ่ ม่ มีความชานาญ
69
การแก้ ไขสิ นเชื่อทีม่ ีปัญหา
Early Warning
ด้ านธนาคาร
•
•
•
•
•
•
•
วิเคราะห์ สินเชื่อไม่ รอบคอบ ระบุความเสี่ ยงผิดพลาด
ให้ ก้ยู มื มากเกินไป
กาหนดวงเงินไม่ เหมาะสม
หลักประกันไม่ คุ้มวงเงิน
บกพร่ องด้ านเอกสาร
ไม่ สามารถบังคับใช้ ข้อกาหนดและเงื่อนไขอนุมัติ
ไม่ มีการวิเคราะห์ ติดตามผลการดาเนินงานของลูกค้ าอย่ างใกล้ชิด70
การแก้ ไขสิ นเชื่อทีม่ ีปัญหา
Early Warning
ด้ านธนาคาร
•
•
•
•
•
•
•
ปล่อยสิ นเชื่อแบบงูกนิ หาง พันไปเรื่อย
เร่ งปล่อยสิ นเชื่อ
ให้ เบิกงวดงานผิดเงื่อนไข
ใช้ พนักงานคนเดียวทาทุกเรื่อง
ระบุวตั ถุประสงค์ ใน C/A ไม่ ตรงกับความจริง
ให้ สินเชื่อที่มีหลักประกัน เป็ น Non -Core Assets
ให้ สินเชื่อเพือ่ ลงทุนในต่ างถิ่น ไม่ สามารถติดตามได้ อย่ างใกล้ชิด71
การแก้ ไขสิ นเชื่อทีม่ ีปัญหา
Early Warning
ด้ านปัจจัยภายนอก
•
•
•
•
•
•
•
ภัยพิบัติ
ภาระเศรษฐกิจผันผวน
การผันผวนของราคานา้ มัน
การผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ น
ผลกระทบจากวงจรชีวติ ผลิตภัณฑ์ /บริการ
สภาพแวดล้อมทางด้ านกฎระเบียบที่เปลีย่ นแปลง
ความมั่นใจของนักลงทุนต่ างประเทศต่ อเศรษฐกิจ/การเมืองของไทย
72
การเกิดเหตุการณ์ วกิ ฤต
•
•
•
•
•
•
•
OD ไม่ เคลือ่ นไหว/เกินวงเงิน (ลดไม่ ได้ )
วงเงิน Trade Finance เริ่ม Pastdue
W/C เพิม่ ขึน้ อย่ างต่ อเนื่อง (ยอดขายไม่ ได้ เพิม่ ขึน้ )
ชาระหนีก้ ระท่ อนกระแท่ น
หยุดชาระหนี้
ขอปรับโครงสร้ าง
ถูกเจ้ าหนีภ้ ายนอกฟ้อง
73
การโอนความรับผิดชอบ
โอนจาก “ฝ่ ายสิ นเชื่อปกติ” ไปยัง “ฝ่ ายพัฒนา
สิ นเชื่อ”
วัตถุประสงค์
• ให้ มีการทบทวนความอยู่รอดของธุรกิจอย่ างจริงจัง
จากผู้รับผิดชอบใหม่
- Review แฟ้มสิ นเชื่อ
- Review นิติกรรม
• เปลีย่ น Tone เสี ยงในการเจรจากับลูกหนี้
• ให้ ลูกหนีต้ ระหนักถึงความเอาจริงเอาจังในการจัดการ
กับหนีท้ ี่มีปัญหา
74
การสื่ อสารเรื่องการตัดสิ นใจโอนสิ นเชื่ อ
• แจ้ งให้ ผู้ก้ทู ราบโดยตรงถึงการตัดสิ นใจ
• ส่ งหนังสื อยืนยันการตัดสิ นใจ
– แจ้ งให้ ทราบ
– เขียนให้ ง่ายและตรงประเด็น
– หลีกเลีย่ งการกล่าวถึงเหตุผลต่ าง
– กล่าวถึง
• เงินทีเ่ บิกเกินบัญชี
• การจ่ ายเช็คโดยไม่ สามารถเรียกเก็บเงินได้
• เงินกู้ทเี่ บิกไปแล้ว
– ส่ งสาเนาไปยังผู้คา้ ประกันทุกราย
– ให้ ผู้ก้ลู งนามในฉบับสาเนาและส่ งกลับคืนมา
75
การดาเนินการรับสิ นเชื่อที่มีปัญหา
• ระบุผ้ ูทรี่ ับผิดชอบในการจัดการกับบัญชีทมี่ ปี ัญหา
• วิเคราะห์ หนีท้ มี่ ปี ัญหา : กระบวนการ 9 ขั้นตอน
• ประเด็นที่ควรคานึงถึงเป็ นพิเศษ
76
กระบวนการวิเคราะห์ หนีม้ ปี ัญหา 9 ขั้นตอน
9. ข้ อเสนอแนะ
เบือ้ งต้ น
1. การสอบทาน
เอกสาร
8. การวิเคราะห์
ความอยู่รอดของ
ธุรกิจ
7. การประเมิน
สภาพแวดล้ อม
ทางธุรกิจ
2. การหา
สิ ทธิยดึ หน่ วง
และการประเมิน
หลักประกัน
3. การวิเคราะห์
ทางการเงิน
4. การตรวจหาหนีส้ ิ น
ของผู้ที่เกีย่ วข้ อง
6. การประเมิน
ปัญหาด้ านการเงิน
5. การประเมิน
ปัญหาด้ าน
การดาเนินงาน
77
สิ่ งที่ควรคานึงถึงในการแก้ปัญหา
• ผลิตภัณฑ์ /บริการจะมีอนาคตหรือไม่
• มีตลาดหรือไม่
• มีทรัพยากรทีจ่ าเป็ นหรือไม่
– ผู้บริหารทีม่ คี วามสามารถ
– ทรัพยากรทางด้ านการเงิน
78
สิ่ งที่ควรคานึงถึงในการแก้ปัญหา
• ฐานะของธนาคารจะดีขนึ้ หรือไม่
– ปรับปรุ งการจัดทาเอกสาร
– เรี ยกหลักประกันเพิม่
– ฐานะของธนาคารในภายหลัง
• สามารถระบุแหล่ งเงินชาระคืนได้ หรือไม่
• ผู้ก้ ใู ห้ ความร่ วมมือหรือไม่
• ธนาคารมีอานาจควบคุมหรือไม่
79
การตัดสิ นใจชาระบัญชี
ประเด็นหลักที่ควรพิจารณา
• จุดอ่ อนในด้ านเอกสาร
• จุดอ่ อนของหลักประกันที่ซ่อนอยู่
• ประเด็นด้ านความสั มพันธ์
– ความสั มพันธ์ ของผู้ก้ กู บั ธนาคาร
– ผลกระทบในด้ านภาพพจน์
80
ประเด็นปัญหาที่ควรให้ ความสนใจเป็ นพิเศษ
•
•
•
•
•
•
การเช่ าซื้อ
สิ ทธิยดึ หน่ วง
ภาษี
เจ้ าหนีอ้ นื่
สั ญญาระยะยาว
ผู้คา้ ประกัน
•
•
•
•
•
เทคโนโลยี
โอกาสที่จะล้ มละลาย
กระบวนการทางกฎหมาย
ปัญหาด้ านสภาพแวดล้ อม
ประเด็นด้ านหนีส้ ิ นของผู้ให้ ก้ ู
81
82
Q&A
83