Transcript Document

บทที่ 2
อินเทอร์ เน็ต เว็บ และ
การพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
McGraw-Hill/Irwin
Copyright © 2007 by The McGraw-Hill Companies, Inc. All rights reserved.
วัตถุประสงค์
• อภิปรายเกีย่ วกับต้ นกาเนิดของอินเทอร์ เน็ต Internet และเว็บ Web ได้
• อธิบายการเข้ าถึงเว็บโดยผ่ านผู้ให้ บริการอินเทอร์ เน็ตและเว็บเบราว์ เซอร์ ได้
• อภิปรายเกีย่ วกับการสื่ อสารบนอินเทอร์ เน็ต ไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์ หรือ
อีเมลล์ การแลกเปลีย่ นข้ อความและกลุ่มสนทนาได้
• อธิบายเครื่องมือต่ างๆ ทีใ่ ช้ ในการค้ นหาข้ อมูลบนอินเทอร์ เน็ตได้
• อภิปรายเกีย่ วกับการพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ electronic commerce
• ซึ่งรวมไปถึง B2B B2C C2C และความปลอดภัยได้
• อธิบายโปรแกรมเว็บอรรถประโยชน์ Web utilities
เช่ น เทลเน็ต เอฟทีพี ปลัก๊ อิน และตัวกรอง
2-2
อินเทอร์ เน็ตและเว็บ
• อินเทอร์ เน็ตหมายถึง เครื อข่ ายคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ ที่เชื่ อมโยง
เครือข่ ายเล็กๆ ทัว่ ทั้งโลกเข้ าด้ วยกัน
• อินเทอร์ เน็ต (Internet) หรือเน็ต (NET) เกิดขึน้ ในปี ค.ศ. 1969
– อิ น เทอร์ เน็ ต เกิ ด ขึ้น ณ ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า จากโครงการ
“เครือข่ ายสานักงานโครงการวิจัยขั้นสู ง” (Advanced Research
Project Agency Network) หรือ ARPANET
• เว็บ Web ย่ อมาจาก World Wide Web หรือ WWW เกิดขึน้ ในปี
ค.ศ 1992 ที่ Center for European Nuclear Research หรือ CERN
ซึ่งเป็ นกลุ่มทีท่ างานเกีย่ วกับเรื่องนี้ ณ ประเทศสวิตเซอร์ แลนด์
2-3
การใช้ งานอิเทอร์ เน็ต
• เพือ่ การสื่ อสาร
– ไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์ หรือ อีเมลล์ (e-mail)
– กลุ่มสนทนา หรือ Discussion Groups
• เพือ่ การเลือกซื้อสิ นค้ า หรือ การทาธุรกิจขนาดย่ อม e-retailing หรือ
e-tailing
– ไซเบอร์ มอล Cybermall
• เพือ่ การค้ นหาข้ อมูล
– ห้ องสมุดเสมือน Virtual Libraries
• เพือ่ ความบันเทิง
– ข่ าว
– นิตยสาร
• เพือ่ การศึกษาหรือการเรียนผ่ านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ หรือ e-learning
2-4
การเข้ าถึงอินเทอร์ เน็ต
• อินเทอร์ เน็ตและระบบโทรศัพท์ทำงำนคล้ำยคลึงกัน ดังนั้นเรำ
สำมำรถเชื่ อ มต่ อ อิ น เทอร์ เน็ ต ได้ คล้ ำ ยกั บ กำรเชื่ อ มต่ อ
เครื่ องโทรศัพท์ที่บำ้ นเข้ำกับระบบโทรศัพท์
• เมื่ อ เชื่ อ มต่ อ คอมพิ ว เตอร์ ที่ บ ้ำ นเข้ำ กับ ระบบอิ น เทอร์ เ น็ ต
คอมพิ ว เตอร์ ของคุ ณ ก็ จ ะกลำยเป็ นส่ วนหนึ่ งของระบบ
อินเทอร์เน็ตที่เชื่อมโยงกันทัว่ ทั้งโลก
2-5
ผู้ให้ บริการอินเทอร์ เน็ต
• ผู้ให้ บริการอินเทอร็เน็ต หรือ internet provider เรียกอีกชื่อหนึ่งว่ า
ไอเอสพี (ISP) ย่ อมาจาก Internet Service Providers มีหลายแบบดังนี้
– การให้ บริการแบบครอบคลุมทั้งประเทศ เช่ น บริษัท ทศท คอร์
ปอเรชั่น จากัด (มหาชน)
– การให้ บริการบางพืน้ ที่ เช่ น เฉพาะกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล
– การให้ บริการแบบไร้ สาย เช่ น บริการ ซีดีเอ็มเอ (CDMA) ของ
การสื่ อสารแห่ งประเทศไทย
2-6
เบราว์ เซอร์
• เบราว์ เซอร์ (Browser) หมายถึง โปรแกรมที่ใช้ สาหรับเข้ าถึงทรัพยากร
ต่ างๆ ทีอ่ ยู่บนเว็บ
• ทรัพยากรบนเว็บ ได้ แก่ ข้ อความ ภาพ เสี ยง ภาพเคลือ่ นไหว คลิป วิดีโอ
• การท่ องอินเทอร์ เน็ต เรียกว่ า การเซิร์ฟ (surf)
• เบราว์ เซอร์ ที่ใช้ งานกันมากได้ แก่
– Mozilla Firefox
– Netscape Communications
– Microsoft Internet Explorer
• แหล่งทีอ่ ยู่ของทรัพยากรบนเว็บจะต้ องอ้างด้ วย ยูอาร์ แอล (URL)
2-7
URLs
• URL ย่อมำจำก Uniform Resource Locators
– ยูอำร์แอลประกอบด้วย 2 ส่ วน คือ
• โพรโทคอล (Protocol)
• ชื่ อโดเมน (Domain name)
• URL ที่ควรรู้จกั ได้แก่
– www.yahoo.com
– www.google.com
2-8
ภาษาเอชทีเอ็มแอล
• เว็บเพจ (Web Page) หมายถึง แต่ ละหน้ าบนเบราว์ เซอร์ ที่เชื่อมโยงไปยัง
ทรัพยากรต่ างๆ ทีอ่ ยู่บนเว็บ
• เว็บเพจส่ วนใหญ่ จะเขียนด้ วยภาษาเอชทีเอ็มแอล (HTML) ซึ่งย่ อมาจาก
Hypertext Markup Language
• เบราว์ เซอร์ จะทาหน้ าทีแ่ ปลภาษาเอชทีเอ็มแอลไปเป็ นเอกสารพร้ อมทั้ง
ภาพประกอบ
• อาจมีการเชื่อมโยง (Link) ไปยังสารสนเทศรูปแบบอืน่
เช่ น ภาพ เสี ยง หรือ วิดีโอคลิป เป็ นต้ น
2-9
การติดต่ อสื่ อสาร
• อินเทอร์ เน็ตใช้ ในการติดต่ อสื่ อสารมากทีส่ ุ ด ไม่ ว่าจะเป็ นการสื่ อสารส่ วน
บุคคล หรือระหว่ างองค์ กร
• ชนิดของการติดต่ อสื่ อสาร
– ไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์ หรืออีเมลล์ (E-mail)
• ทีอ่ ยู่อเี มลล์ (E-Mail Address)
– อีเมลล์ขยะ (SPAM)
– กลุ่มอภิปราย (Discussion Groups)
– โปรแกรมสื่ อสาร (Instant Messaging)
2-10
SPAM
• อีเมลล์ขยะ (SPAM) หมายถึง อีเมลล์ที่ไม่ ต้องการ มักจะส่ งมาจากผู้ส่งทีไ่ ม่
รู้จัก รบกวนการทางาน และทาให้ สิ้นเปลืองเนือ้ ทีใ่ นการจัดเก็บอีเมลล์
• ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Computer viruses) อาจถูกแนบติดมากับอีเมลล์ขยะ
อาจสร้ างความเสี ยหายให้ คอมพิวเตอร์ ได้
• ปัจจุบันมีโปรแกรมกาจัดอีเมลล์ขยะ หรือ Spam blockers หลายโปรแกรม
ลองค้ นหาดูจาก google.com และใช้ คาค้ น spam
• วิธีป้องกันอีเมลล์ขยะ
– เลือกอีเมลล์ทดี่ ูซับซ้ อน (แต่ จาให้ ได้ ด้วยนะ)
– อย่ าพยายามกรอกข้ อมูลส่ วนตัวในแบบฟอร์ มบนเว็บไซต์ โดยไม่ จาเป็ น
– อย่ าตอบสนองอีเมลล์ขยะเหล่านั้น
– ใช้ โปรแกรมกรองอีเมลล์
ย้อนกลับ
2-13
คาศัพท์ ทใี่ ช้ กนั บ่ อยในกล่ ุมอภิปราย
คาศัพท์
คาอธิบาย
Flaming
RFD
ดูถูก, หยาบคาย, การโจมตี
การอ่านข่ าว หรืออ่านกลุ่มอภิปรายโดยไม่ เข้ าไปมีส่วนร่ วม
ขอเข้ าไปร่ วมการอภิปรายด้ วย
Saint
คนทีค่ อยช่ วยเหลือ ตอบคาถามผู้ใช้ งานใหม่ ๆ
Thread
ลาดับของข้ อความที่เข้ ามาในหัวข้ อเรื่องเดียวกัน
Wizard
คนทีเ่ ข้ าใจหรือรู้เรื่องในหัวข้ อนั้นๆ เป็ นอย่ างดี
Lurking
ย้อนกลับ
2-16
Search Tools
• โปรแกรมค้นหำ Search engines
• โปรแกรมเมตำเซอร์ช Metasearch engines
• โปรแกรมค้นหำเฉพำะทำง Specialized search engines
2-17
เกร็ดความรู้
• เลือกวิธีการทีเ่ หมาะสม ในกำรค้นหำสำรสนเทศทัว่ ๆไป ให้ใช้กำรค้นหำ
แบบไดเรกทอรี สำหรับสำรสนเทศเฉพำะให้ใช้คำหลักในกำรค้นหำ
• ใช้ คาให้ ถูกต้ องและเป็ นไปได้ มากที่สุด เลือกคำหลักที่มีลกั ษณะเป็ นคำ
เฉพำะที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อที่ตอ้ งกำรให้มำกที่สุด
• ใช้ คาหลายๆ คา ใช้คำสำคัญ ที่จำแนกคำหลักแต่ละคำได้
• ใช้ คาเชื่อมแบบบูลนี พิมพ์คำศัพท์ที่มีคำเหล่ำนี้เป็ นคำเชื่อม เช่น and, not
หรือ or
• ตรวจสอบคาสะกด กำรสะกดผิดเป็ นข้อผิดพลำดที่ทำให้เกิดปั ญหำมำก
ที่สุด
• เปลี่ยนคาหลัก ดูกำรแสดงผลในหน้ำแรก ถ้ำเว็บเพจที่คน้ พบยังไม่ตรง
กับควำมต้องกำร ให้คน้ หำโดยใช้คำหลักอื่นที่แตกต่ำงกัน
2-23
Electronic Commerce
• กำรพำณิ ช ย์อิ เ ล็ก ทรอนิ ก ส์ หรื อ ที่ รู้ จ ัก กัน ในชื่ อ ของอิ เ ล็ก ทรอนิ ก ส์
คอมเมิ ร์ซหรื ออี คอมเมิ ร์ซ (e-commerce) เป็ นสถำนที่ในกำรซื้ อขำย
สิ นค้ำบนอินเทอร์เน็ต
• กำรพำณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์คล้ำยคลึงกับกำรค้ำแบบอื่นๆ คือ มี
ส่ วนประกอบทั้งภำคธุรกิจและผูบ้ ริ โภค ซึ่งมีอยู่ 3 ประเภทคือ
1. Business-to-consumer (B2C)
• Online banking or e-banking
• Online stock trading or e-trading
• Online shopping
• Web storefronts
• Web auctions
2-24
Electronic Commerce
1.
1
2. Consumer-to-consumer (C2C)
• เว็บไซต์ บริษัทรับประมูล
(auction house sites)
• เว็บไซต์ การประมูลระหว่ างบุคคล
(person-person auction sites)
3. Business-to-business (B2B)
2-25
ความปลอดภัย
• วิธีกำรกำรชำระเงินผ่ำนระบบอินเทอร์เน็ตจะต้อง รวดเร็ ว
ปลอดภัยและเชื่อถือได้
• มี 3 วิธี
– เช็ค
– บัตรเครดิต
– เงินสดอิเล็กทรอนิกส์
• E-cash
• Cybercash
• Digital cash
2-28
Web Utilities
• เว็บอรรถประโยชน์ ช่วยทาให้ การใช้ งานอินเทอร์ เน็ตและเว็บง่ าย และ
ปลอดภัยขึน้
• บางโปรแกรมเป็ นบริการของการเชื่อมต่ อ และการแลกเปลีย่ น
ทรัพยากรต่ างๆ กันบนอินเทอร์ เน็ต แต่ บางโปรแกรมก็ทางานเกี่ยวข้ อง
กับเว็บเบราว์ เซอร์
Plug-in
Source
• ตัวอย่ างเช่ น
Acrobat Reader
www.adobe.com
– Telnet
Media Player
www.microsoft.com
– Plug-ins
QuickTime
www.apple.com
– Filters
RealPlayer
www.real.com
Shockwave
www.macromedia.com
– FTP
2-29
Internet Security Suites
• ชุดรักษำควำมปลอดภัยของอินเทอร์เน็ต เป็ นโปรแกรม
อรรถประโยชน์ที่ออกแบบมำเพื่อควำมปลอดภัยและ
Plug-in
Source
รักษำควำมเป็ นส่Acrobat
วนตัวในขณะที่ใช้งำนเว็บ
– McAfee
– Norton
Reader
www.adobe.com
Media Player
www.microsoft.com
QuickTime
www.apple.com
RealPlayer
www.real.com
Shockwave
www.macromedia.com
2-30
Filters
CyberPatrol
www.cyberpatrol.com
ReaderCybersitter
www.cybersitter.com
IProtectYou Pro Web Filter
www.softforyou.com
Net Nanny
www.netnanny.com
Safe Eyes Platinum
www.safeeyes.com
2-31
เว็บมาสเตอร์ (webmasters)
• เว็บมาสเตอร์ (webmasters) เป็ นผูพ้ ฒั นำและดูแลเว็บไซต์ และ
ทรัพยำกรต่ำงๆ บนเว็บ
• ลักษณะของงำน
– เกีย่ วข้ องกับการสารองข้ อมูลเว็บไซต์ ของบริษทั
– ปรับปรุงข้ อมูลหรือการพัฒนาเว็บเพจใหม่ ๆ
– ออกแบบเว็บไซต์ ได้ และจะต้ องออกแบบการใช้ งานเว็บไซต์ ให้ ใช้
งานง่ าย
– ต้ องทางานร่ วมกับฝ่ ายอืน่ ๆ เช่ น ฝ่ ายขาย
2-32
คาถามสาหรับการอภิปราย
• อภิปรำยเกี่ยวกับกำรใช้งำนอินเทอร์เน็ต มีกิจกรรมใดบ้ำงที่คุณ
ได้เข้ำไปมีส่วนร่ วมและคุณคิดว่ำกิจกรรมใดเป็ นทีน่ ิยมที่สุด
• อภิปรำยเกี่ยวกับผูใ้ ห้บริ กำรอินเทอร์เน็ตทั้งสำมแบบ คุณเคยได้
ยินหรื อไม่ หรื อคุณใช้บริ กำรแบบใด เพรำะเหตุใด
• อภิปรำยเกี่ยวกับส่ วนประกอบของอีเมลล์ แลกเปลี่ยนอีเมลล์
ระหว่ำงเพื่อนๆ คุณคิดว่ำกำรใช้อีเมลล์ดีอย่ำงไร
2-33
คาถามสาหรับการอภิปราย
• อภิปรำยเกี่ยวกับ “กลุ่มอภิปรำย”บนอินเทอร์ เน็ต คุณเคยเข้ำร่ วม
หรื อไม่ กลุ่มอภิปรำยใดที่คุณเคยเข้ำร่ วม
• อภิ ป รำยเกี่ ย วกับ ชนิ ด ของโปรแกรมค้น หำบนอิ น เทอร์ เ น็ ต
ยกตัวอย่ำงโปรแกรมค้นหำที่คุณเคยใช้ คุณคิดว่ำเพรำะเหตุใด
คุณถึงเลือกใช้โปรแกรมค้นหำอันนี้
2-34