หลังคาหญ้าคา - WordPress.com

Download Report

Transcript หลังคาหญ้าคา - WordPress.com

ASSIGNMENT
หลังคาหญ้าคากับงานทางสถาปัตยกรรม
นายนิคม เครื อคาจิ๋ว 51710151
จุดประสงค์
1. เพื่อต้องการทราบข้อมูลหลังคาหญ้าคา
2. หาข้อดี-ข้อเสี ยของหลังคาหญ้าคา
3. หาข้อสรุ ปว่าทาไมจึงใช้หลังคาหญ้าคา
แนวทางในการศึกษา
1. ค้นคว้าข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต
2. สอบถามข้อมูลจากผูค้ า้ ขาย
สอบถามข้อดี ข้อเสี ยจากผูท้ ี่ใช้งานเอง
4. สอบถามวิธีการทาหลังคาหญ้าคา
3.
กระบวนการศึกษา
1.ค้ นคว้ าข้ อมูลในภาพรวมจากอินเตอร์ เน็ต
2.ทาการสอบถามข้ อมูลจากผู้ประกอบการหรื อผู้ที่ค้าขายสินค้ าประเภทนี ้
3.รวบรวมข้ อมูลครัง้ ที่หนึง่ และสรุปข้ อมูลที่ทาการสอบถามจากผู้ประกอบการ
4.ทาแบบสอบถาม หรื อเข้ าไปสอบถามด้ วยตนเองจากผู้ใช้ งานวัสดุชนิดนี ้
ที่สมุ่ เลือกจากผู้ที่อาศัยอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก
5.รวบรวมข้ อมูลครัง้ ที่สอง และสรุป ข้ อมูลที่สอบถามจากผู้ใช้ งานวัสดุประเภทนี ้
6.ถ่ายรูป รวบรวมรูปภาพ และสรุปผลการศึกษา
Post script*กระบวนการศึกษานี ้จาเป็ นจะต้ องได้ รับคาปรึกษาของอาจารย์ด้วย
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ทาให้ ผ้ ศู กึ ษามีความกระตือรื อร้ นและรับผิดชอบในการทางานมากขึ ้น
2.ได้ รับข้ อมูล(คุณสมบัติ)ที่ถกู ต้ อง จากการไปสอบถามข้ อมูลจากสถานที่จริ ง
3.ได้ รับฟั งความคิดเห็นจากผู้ที่ใช้ งานจริ ง ว่าวัสดุที่ศกึ ษามีข้อดี ข้ อเสียอย่างไร
4.สามารถนาสิ่งที่ศกึ ษามาปรับใช้ ในการเรี ยนได้
5.ได้ รับความสนุกสนาน ในการลงพื ้นที่
หญ้าคา
• หญ้ าคาเป็ นพืชล้ มลุกที่มีอายุหลายปี มีเหง้ าสีขาวแข็งอยู่
ใต้ ดิน ลาต้ นตังตรง
้ สูงได้ ถึง 15 – 20 เซนติเมตร มีกาบใบ
โอบหุ้มอยู่ กาบใบค่อนข้ างเรี ยบและริ มกาบใบมีขน ตัวใบ
ยาวเรี ยว ยาวประมาณ 1 – 2 เมตร กว้ างประมาณ 4 – 18
มิลลิเมตร ส่วนกลางใบกว้ างกว่าโคนใบและปลายใบ มี
ขนเป็ นกระจุกอยู่ระหว่างรอยต่อของตัวใบและกาบใบ
ออกดอกเป็ นช่อยาวประมาณ 5 เซนติเมตร การปลูกหญ้ า
คาใช้ เมล็ดหรื อไหล ปลูกง่าย ไม่ต้องมีการบารุงรักษา เป็ น
วัชพืชที่พบได้ ทวั่ ไป
ข้ อมูลจาก http:/ /admin .pha. u. ac. th /plant_ for_ primary_ care/UTI/ Imperata_ cylindrica.htm
การทาหลังคาหญ้ าคา
ขันตอนแรกจะรอให้
้
ต้นหญ้ าคา ยาวเต็มที่ก่อน
แล้ วจึงไปตัดมามัดเป็ นกาๆ เก็บไว้ ใช้ ทีละเยอะๆ
วิธีการตัดหญ้ าคาจะตัดให้ ยาวที่สดุ เกือบติดดิน
เลย ให้ มีก้านยาวๆ..สูตรนี ้ไม่คอ่ ยมีใครทากัน แต่
แกบอกว่า เวลาเอาไปมุงแล้ ว มันทนดี ไม่ผพุ งั ง่าย
..เวลาจะมัดก็จะเอาที่ตดั เก็บไว้ ไปแช่น ้า 1 คืน
จากนันเอาขึ
้
้นจากน ้าแล้ วเอากระสอบเปี ยกๆคลุม
ไว้ ค่อยๆทยอยมามัดจนกว่าจะหมด สาคัญอย่า
ให้ กระสอบแห้ งครับ..
ส่วนอันนี ้เป็ นอุปกรณ์เสริ มช่วย
ให้ สะดวกในการมัด และมัดได้ เร็ ว
ขึ ้น..ภูมิปัญญาลุงครับ..ด้ านล่างที่
เห็นเป็ นกระสอบ คือกระสอบ
เปี ยกที่ลงุ เอาคลุมหญ้ าคาที่แช่น ้า
เอาไว้ กันไม่ให้ หญ้ าคาแห้ ง เวลา
มัดจะได้ ไม่กรอบแตกหักเสียก่อน
คับ
เริ่ มมัด ลุงจะเตรี ยมไม้ สองอัน
ความยาวตามสัง่ อันแรกใช้ เป็ นแกน
อีกอันเอาไว้ กนั ไม่ให้ ปลายหญ้ าคา
มันไขว้ กนั ไม้ ที่ใช้ เป็ นไม้ ไผ่ จะเอาไป
รนไฟก่อนเพิ่มความแข็งและช่วย
ป้องกันแมลง..เดิมทีจะใช้ ปอกระสา
มัด แต่เดี๋ยวนี่ปอหายาก และกว่าจะ
มามัดได้ ต้ องผ่านการเตรี ยมหลาย
ขันตอน
้
เลยเอาเชือกฟางมัดแทน ก็
ทนดีเหมือนกัน เพราะตรงส่วนนี ้มัน
ไม่โดนแดดโดยตรง...เริ่ มจากมัด
เชือกติดหัวไม้ ให้ แน่นก่อน เอาหญ้ า
คาที่หมาดน ้าแล้ วมาวางเตรี ยมมัดไว้
ด้ านล่างไม้ แกน ความยาวหญ้ าคาที่
ตัดก็ประมาณ 1-1.20 เมตร
จับหญ้ าคาขึ ้นมาทีละห้ าเส้ น ดึงมาให้
เลยไม้ แกน สักศอกหนึง่ ..ยอดหญ้ าคาอยู่
ด้ านล่างซ้ ายมือของลุง เชือกฟางอยู่ด้านบน
ของหญ้ าคาอีกทีนะครับ ขยับหญ้ าคามา
แนบแกนไม้ แล้ วเอาเชือกฟางอ้ อมลง
ด้ านล่างหญ้ าคา อ้ อมมาทางขวาของแกน
แล้ วพับเชือกทับก้ านหญ้ าคา แล้ วเอาปลาย
เชือก มุดใต้ แกนไม้ กลับมาทางซ้ าย เตรี ยม
ดึงครับ...
เวลาออกแรงดึง
ก้ านคาจะถูกบีบให้
มาชิดอันที่มดั ไปก่อน
หน้ าแล้ ว จากนันพั
้ บ
ก้ านคาอ้ อมไม้ แกน
ลงมาเลย...ตรงนี ้
แหละที่ลงุ บอกว่าลุง
คิดเอง เหลือปลาย
เยอะๆไม่ต้องตัด
ปลายออก จะได้
หนาแน่น เรี ยกว่ามี
หญ้ าคาทังด้
้ านบน
และล่างเลย
- จับหญ้ าคาขึ ้นมาใหม่
ทีละสี่ห้าเส้ น..มัดซ ้าไป
เรื่ อยๆ
- มัดไปเรื่ อยๆ เชือก
หมดก็ต่อเชือกมัดไปจน
สุดไม้ ครับ..
ขนาดความยาวแล้ วแต่จะสัง่ ลุง
คิดสิบเซ็น 1 บาท ขนาด 1.20เมตร
ลุงคิดไพละ 12 บาท..(ไพแปลว่า
การสาน) ตับคือ หญ้ าคา 1 อันที่
สานเสร็จแล้ ว
ตับ
บ้ านที่มงุ หลังคาด้ วยหลังคาหญ้ าคา บริเวณใกล้ ๆ มหาลัยนเรววร
ข้ อดีของหลังคาหญ้ าคา
จากการที่ได้ ไปสอบถามผู้ใช้ หลังคาหญ้ าคาบริ เวณใกล้ ๆ มอ.จะได้ ข้อดีดงั นี ้
1.
เป็ นวัสดุที่หาได้ ง่ายในท้ องถิ่น
2.
เป็ นวัสดุจากธรรมชาติที่ช่วยลดภาวะโลกร้ อนได้
3.
มีราคาถูก
4.
ทาให้ อาคารมีความเย็นไม่ร้อนเหมือนหลังคาชนิดอื่นๆ
5.
ช่วยลดภาวะทางเสียงตอนฝนตก
6.
ย่อยสลายได้ ง่าย
7.
การซ่อมแซมๆได้ ง่ายไม่ย่งุ ยาก
8.
ไม่ต้องใช้ อปุ กรณ์ในการทาหลังคามาก
9.
ให้ ความรู้สกึ เป็ นธรรมชาติ
10. น ้าหนักเบา
ข้ อเสีย
1.
เวลาฝนตกหนักๆน ้าจะรั่ว
2.
ระยะเวลาการใช้ งานสัน้
3.
ติดไฟง่ายเพราะเป็ นวัสดุจากธรรมชาติ
4.
เศษหญ้ าคาร่วงลงพื ้น
5.
วางรูปแบบของหลังคาได้ น้อยเมื่อเทียบกับหลังคาชนิดอื่น
6.
ความแข็งแรงน้ อย
7.
เรื่ องของมอด
สรุ ป
เนื่องจากหญ้ าคาเป็ นวัสดุพื ้นถิ่นที่มีในแต่ละพื ้นที่ ดังนันจึ
้ งนิยม
นามาทาเป็ นหลังคา ซึง่ เกิดจากภูมิปัญญาของคนตังแต่
้ สมัยก่อน
ซึง่ เป็ นการหาวัสดุที่อยูใ่ กล้ ตวั มาใช้ เป็ นที่หลบแดด ลม ฝน และ
เป็ นต้ นแบบของหลังคาชนิดใหม่ๆในปั จจุบนั นี ้ หญ้ าคาอาจจะ
เป็ นวัชพืชที่คนส่วนใหญ่ไม่ต้องการแต่ถ้ารู้จกั การนามาใช้ มันก็
จะเป็ นวัชพืชที่ให้ ประโยชน์เป็ นอันมาก
เอกสารอ้ างอิง
1.
http://www.stou.ac.th/study/sumrit/1-53(500)/page2-1-53(500).html
2.
http://admin.pha.u.ac.th/plant_ for_ primary_ care/UTI/ Imperata_
cylindrica.htm
ถ้ าข้ อมูลในงานนี ้มีความผิดพลาดประการใด ก็ขออภัยไว้ ณ ที่นี ้ด้ วย
นิคม เครื อคาจิ๋ว