ร่างแนวทางกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการบริหารเงินกองทุนหลักประกัน

Download Report

Transcript ร่างแนวทางกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการบริหารเงินกองทุนหลักประกัน

ร่างแนวทางกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการบริหาร
เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพคงเหลือ
ระดับจังหวัดและระดับเขต
กลุ่มประกันสุขภาพ
นาร่วมยกร่างกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจังหวัด
E CONFERENC 17 04 2013
ที่มา
• สปสช.มอบอานาจในการกันงบเหมาจ่ายรายหัวหลักประกันสุขภาพจานวน 10% เพื่อตามจ่ายการส่งต่อ
ช่วยเหลือสภาพคล่อง และเงินกองกลางเพื่อวัตถุประสงค์ลดความเสี่ยงรพ.ในจังหวัด และปรับเกลี่ยในกลุ่มรพ.
ในจังหวัดเพื่อแก้ปัญหาทางการเงิน
• สานักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ ประเมินมีงบหลักประกันสุขภาพคงเหลือที่จงั หวัดจานวน 4-5000 ล้านบาท
• กลุ่มประกันสุขภาพ สป. ตรวจสอบมีเงินในบัญชีที่เกี่ยวข้องกับกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 30-ก.ย.55 คงเหลือบัญชีในรายการเงินรับฝากกองทุนUC จานวน 4,392,147,019.59 บาท
• กระทรวงสาธารณสุขให้ความสาคัญการเฝ้ าระวังปั ญหาการเงิน พบว่าในรายไตรมาส มีรพ.วิกฤติระดับ 7 ใน
สัดส่วนร้อยละ 15 อยูใ่ นช่วง 120-150 รพ. โรงพยาบาลดังกล่าวประสบปั ญหาค่าใช้จา่ ยในการบริการ เป็ นที่
สนใจของหน่ วยต่างๆที่เกี่ยวข้อง
• สานักงานประกันสุขภาพแห่งชาติกาหนดนโยบายแก้ปัญหาเงินค้างท่อในปี 2554-2556 มีเงินเหลือค้างท่อ
ประมาณ 3000 ล้าน ยอดคงเหลือปี 2555 ไม่เกินร้อยล้าน แต่ไม่ทราบยอดเงินคงเหลือที่เขต และแนวทาง
การจัดสรรเงินที่เหลือ
• สานักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ มีการดาเนิ นการให้สสจ.รายงานบัญชีปัจจุบนั และประสานสตง.ลงตรวจงบ
หลักประกันสุขภาพคงเหลือ มีประเด็นจากพื้ นที่มุง่ เน้นการบริหารยอดคงเหลือ และการใช้จา่ ยถูกหลักเกณ์์
ปั ญหา
•
•
•
•
•
•
•
ปั จจุบนั สสจ.มีงบประมาณจากัด แต่ได้รบั งบ PPA เสริมการทาแผนงานโครงการแก้ปัญหาในจังหวัด จาเป็ นต้องพึ่งพางบ
หลักประกันสุขภาพเป็ นอย่างยิง่
การขาดการบริหารแผนงานโครงการ และบริหารงบประมาณหลักประกันที่มีประสิทธิภาพ ของสสจ.หลายแห่ง ทาให้งบที่
อยูใ่ นปี งบประมาณคงเหลือโครงการไม่แล้วเสร็จ ยังแสดงความจาเป็ นขยายแผนงานโครงการอย่างต่อเนื่ อง ทาให้มีเงินค้าง
ท่อจานวนมาก
หลายจังหวัดมีโรงพยาบาลในพื้ นที่ประสบปั ญหาการเงินหลังสิ้ นปี งบประมาณ ขัดแย้งกับข้อเท็จจริงที่มี เงินหลักประกันเหลือ
ค้างที่จงั หวัด
การขาดรูปแบบการบริหารแบบเครือข่ายจังหวัด ทาให้การปรับเกลี่ยและการหมุนเวียนงบหลักประกันประสบปั ญหาการเงิน
บางรพ.มีงบมาก บางรพ.มีงบจากัดไม่เพียง บางสสจ.พิจารณา ไม่กนั และปรับเกลี่ย แต่บางที่มีการกันเงิน
ขาดแนวทางการบริหารจัดการงบคงเหลือค้างท่อสสจ.ประจาปี ทั้งกาหนดวันปิ ดบัญชี กาหนดการโอนเงินลงหน่ วยบริการ
ด้วยหลักการโดยชอบทั้งส่วนของฝ่ ายหน่ วยบริหารของกระทรวงสาธารณสุขและหน่ วยผูซ้ ื้ อบริการสปสช.
ขาดการรับรูแ้ ละร่วมบริหารงบหลักประกันสุขภาพในส่วนสป.ที่อยูใ่ นสปสช.เขต ทาให้การบริหารจัดการเงินคงเหลือเป็ นไป
ในวัตถุประสงค์ของผูซ้ ื้ อบริการ โดยหน่ วยสสจ.ได้รบั อานาจการปรับเกลี่ยปลายงวดแต่หลายจังหวัดกลับขาดหลักเกณ์์
โดยเฉพาะการไม่กล้าเกลี่ยเงินจากรพ.ใหญ่ฐานะดีชว่ ยรพ.เล็ก
หลักเกณ์์การช่วยเหลือกันในจังหวัด ประสบข้อจากัดเรื่อง การแก้ปัญหา การช่วยเหลือรพ.ที่มีปัญหาประสิทธิภาพ ขาด
ข้อมูลดัชนี ดา้ นประสิทธิภาพ ไปจนถึงขาดหลักเกณ์์การประเมินและช่วยเหลือที่เป็ นมาตรฐาน
ความพร้อมหรือจุดแข็ง
• กลุ่มประกันสุขภาพ สป.มีรายงานการเงิน และดัชนี ประสิทธิภาพจัดทาเป็ น
หลักเกณ์์การช่วยเหลือทางการเงินสนับสนุ นสสจ.ได้
• เจ้าหน้าที่กลุ่มงานประกันสุขภาพมีความเข้าใจแนวทางการใช้จ่ายงบหลักประกัน
สุขภาพอย่างดี มีงานการเงินที่ได้รบั พัฒนาเป็ นCFO หรือAuditor กลุ่มงาน
ยุทธศาสตร์และแผนงาน มีความพร้อมจัดทาแผนภาพรวมจังหวัด
• แนวโน้มการแก้ปัญหาการเงินด้วยงบปรับประสิทธิภาพในกองทุนUC จาเป็ นต้อง
เร่งพัฒนาหลักเกณ์์ การจัดสรรเงินให้รพ.ที่มีปัญหาการเงินที่เป็ นธรรมกับระบบ
• สปสช. มอบอานาจการปรับเกลี่ย ให้สสจ. แล้วแจ้งโอนเงินไปยังหน่ วยบริการ
ภายในจังหวัดได้เอง ยังไม่มีหลักเกณ์์ให้โอนเงินกลับสปสช. ซึ่งต้องเร่งประกาศ
หลักเกณ์์ และการดาเนิ นการที่สปสช.พึงยอมรับโดยเร็ว
ร่างหลักเกณ์์การจัดสรรเงินUCคงเหลือบัญชีสสจ.
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ให้เร่งรัดการเบิกจ่าย ชาระหนี้ ก่อนปิ ดงบการเบิกจ่ายทุกหมวดภายใน 90 วัน หลังสิ้ นปี งบประมาณ
จัดสรรเงินลงพื้ นที่หน่ วยบริการ 2 หมวด คือ หมวด PPA และ งบกันส่วนตามจ่าย และเงินกันเพื่อแก้ปัญหาความเสี่ยงใน
หน่ วยบริการจากหมวด OPD ของหน่ วยบริการตั้งแต่ตน้ ปี เข้าบัญชีหน่ วยบริการตามหลักเกณ์์การโอนเงินปิ ดบัญชี UC
สสจ.ประจาปี
หลักเกณ์์จดั สรร พิจารณาจากสถานะการเงินภาพรวมพร้อมด้วยดัชนี ประสิทธิภาพที่สาคัญ ช่วยเหลือใน 2 ลักษณะ คือ
กรณีมีส่วนด้อยประสิทธิภาพ สนับสนุ นในลักษณะ Reform คือต้องทาแผนลดค่าใช้จา่ ยพัฒนาประสิทธิภาพ และ กรณีมี
ส่วนที่มีประสิทธิภาพ ให้ชว่ ยแบบ refund แบบขาดตัว ทั้งนี้ หากมีเงินเหลือหลังช่วยสภาพคล่องแล้วจึงจัดสรรตาม
สัดส่วนเฉลี่ยสาหรับทุกคัพต่อไป
หน่ วยบริการที่ได้รบั การสนับสนุ นตามวงเงินข้อ 3 ต้องทาแผนขอรับสนับสนุ น 2 ส่วน คือ ส่วน PPA เป็ นแผนงาน
โครงการที่กาลังดาเนิ นการในปี ปั จจุบนั ที่มีงบใช้จา่ ยไม่เพียงพอ หรือโครงการส่วนเพิ่มให้บรรลุผลลัพธ์ที่กระทรวง
สาธารณสุขกาหนด ในส่วนงบจากเงินกัน OPD ให้กาหนดแผนสนับสนุ นค่าใช้จา่ ยในระบบบริการ เช่น ค่าตอบแทน ค่า
เวชภัณ์์ ที่จาเป็ นต่อการบริการผูป้ ่ วย
การดาเนิ นแผนงานโครงการระดับจังหวัดที่ยงั มีโครงการค้างอยูใ่ ห้ เปลี่ยนเจ้าภาพดาเนิ นการเป็ นรายคัพ ด้วยเงินส่วน
เหลือที่เฉลี่ยคืนรายคัพที่จดั สรรไว้ให้ต่อไปโดยกรรมการบริหารระบบแบบเครือข่ายทั้งจังหวัด(10 SYSTEM
MANAGEMENT) ภารกิจใดที่ตอ้ งดาเนิ นการเบิกจ่ายเองให้ใช้งบปี ปั จจุบนั แทน
ให้งานประกันสุขภาพ และการเงินรายงานแผนการจัดสรรให้หน่ วยบริการมายังกระทรวงสาธารณสุข เพื่อรวบรวมแจ้ง
ให้สปสช. และสตง.ทราบต่อไป
ร่างแนวทางการบริหารงบเหลือจ่ายสปสช.ระดับเขต
1.
2.
3.
4.
5.
6.
กระทรวงสาธารณสุขประสานสปสช.ตั้งกรรมการบริหารยอดจัดสรรปิ ดงวดปี งบประมาณที่คงเหลือแยกราย
เขต โดยเน้นประเด็น ความแตกต่างต่อOPD VISIT และ RW รายเขต โดยเฉพาะที่เกิดจากปลายปิ ดและ
global แล้วราคาตา่ กว่าที่แจ้งต้นปี แจ้งยอดการปรับเกลี่ยปิ ดท้ายรายเขตให้เขตตรวจราชการและคปสข.
คปสข.ประชุมการจัดสรรงบคงเหลือรายเขตลงจังหวัดตามหลักเกณ์์การจัดสรรงบคงเหลือปลายปี สนับสนุ น
หน่ วยบริการ
จัดสรรเงินลงพื้ นที่หน่ วยบริการ 2 หมวด คือ หมวด PPA และ งบกันส่วนตามจ่าย และเงินกันเพื่อแก้ปัญหา
ความเสี่ยงในหน่ วยบริการจากหมวด OPD ของหน่ วยบริการตั้งแต่ตน้ ปี เข้าบัญชีหน่ วยบริการตามหลักเกณ์์
การโอนเงินปิ ดบัญชี UC สสจ.ประจาปี
หลักเกณ์์จดั สรร พิจารณาจากสถานะการเงินภาพรวมรพ.ทั้งจังหวัดพร้อมด้วยดัชนี ประสิทธิภาพที่สาคัญ
ช่วยเหลือใน 2 ลักษณะ คือ กรณีมีส่วนด้อยประสิทธิภาพ สนับสนุ นในลักษณะ Reform คือต้องทาแผนลด
ค่าใช้จา่ ยพัฒนาประสิทธิภาพ และ กรณีมีส่วนที่มีประสิทธิภาพ ให้ช่วยแบบ refund แบบขาดตัว ทั้งนี้ หากมี
เงินเหลือหลังช่วยสภาพคล่องแล้วจึงจัดสรรตามสัดส่วนเฉลี่ยสาหรับทุกจังหวัดต่อไป
จังหวัดที่ได้รบั การสนับสนุ นตามวงเงินข้อ 4 ตามหลักเกณ์์เช่นเดียวกับเงินUCเหลือค้างของสสจ.เอง
ให้งานประกันสุขภาพ และการเงินรายงานแผนการจัดสรรให้หน่ วยบริการมายังกระทรวงสาธารณสุข เพื่อ
รวบรวมแจ้งให้สปสช. และสตง.ทราบต่อไป