สำน ักโครงกำรขนำดใหญ่ กรมชลประทำน ลุ่มนำ้ ชี • • • • • • • • • • • • • ที่ตงั ้ ลักษณะภูมิประเทศ พืน้ ที่ล่ ุมนำ้ ภูมิอำกำศ ปริมำณนำ้ ท่ ำ-นำ้ ฝน - ตำรำงเปรี ยบเทียบนำ้ ท่ ำ-นำ้ ฝน ในกลุ่มลุ่ม นำ้ ทรั พยำกรดิน กำรใช้ ประโยชน์ ท่ ดี.

Download Report

Transcript สำน ักโครงกำรขนำดใหญ่ กรมชลประทำน ลุ่มนำ้ ชี • • • • • • • • • • • • • ที่ตงั ้ ลักษณะภูมิประเทศ พืน้ ที่ล่ ุมนำ้ ภูมิอำกำศ ปริมำณนำ้ ท่ ำ-นำ้ ฝน - ตำรำงเปรี ยบเทียบนำ้ ท่ ำ-นำ้ ฝน ในกลุ่มลุ่ม นำ้ ทรั พยำกรดิน กำรใช้ ประโยชน์ ท่ ดี.

สำน ักโครงกำรขนำดใหญ่ กรมชลประทำน
ลุ่มนำ้ ชี
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ที่ตงั ้
ลักษณะภูมิประเทศ
พืน้ ที่ล่ ุมนำ้
ภูมิอำกำศ
ปริมำณนำ้ ท่ ำ-นำ้ ฝน
- ตำรำงเปรี ยบเทียบนำ้ ท่ ำ-นำ้ ฝน ในกลุ่มลุ่ม
นำ้
ทรั พยำกรดิน
กำรใช้ ประโยชน์ ท่ ดี นิ
พืน้ ที่ทำกำรเกษตร.
พืน้ ที่ท่ ีมีศักยภำพพัฒนำระบบชลประทำน
กำรประเมินควำมต้ องกำรนำ้
ปั ญหำของลุ่มนำ้
ด้ ำนภัยแล้ ง
แนวทำงแก้ ไข
สว่ นอำนวยกำรและติดตำมประเมินผล
ที่ตั้ง
ลุ่ ม น้ำ ชี ตั้ ง อยู่ ในภำคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ของ
ประเทศไทย ทิศเหนือติดกับลุ่มน้ำโขง ทิศใต้ ติด
กับลุ่มนำ้ มูล ทิศตะวันออกติดกับลุ่มน้ำโขงและลุ่ม
นำ้ มูล ส่ วนทิศตะวันตกติดกับลุ่มนำ้ ป่ ำสั ก
รู ปที่ 4-1 แสดงทีต่ ้งั ลุ่มนำ้ ชี
 ลักษณะภูมิประเทศ
ตำมรูปที่ 4-2
ลั ก ษณะภู มิ ป ระเทศของลุ่ มน้ ำ ชี
ประกอบไปด้ วยเทือกเขำสู ง ทิศตะวันออก
และทิศเหนื อคือเทือกเขำภู พำน
ทิศ
ตะวัน ตกคื อ เทื อ กเขำดงพญำเย็น พื้น ที่
ตอนกลำงเป็ นที่รำบถึงลูกคลื่นลอน และมี
เนินเล็กน้ อยทำงตอนใต้ ของลุ่มนำ้
รู ปที่ 4-2 สภำพภูมปิ ระเทศในเขตพืน้ ทีล่ ่มุ นำ้ ชี
แม่ น้ำชี มีต้นกำเนิดมำจำกเขำยอดชี
ในเทื อ กเขำเพชรบู ร ณ์ ไหลผ่ ำ นจั ง หวั ด
เพชรบู ร ณ์ ขอนแก่ น มหำสำรคำม
ร้ อ ยเอ็ ด ยโสธร แล้ ว ไหลไปบรรจบกั บ
แม่ นำ้ มูลที่จังหวัดอุบลรำชธำนี
พื้นที่ล่มุ น้ำ
ลุ่มนำ้ ชีมพี นื้ ทีร่ วมทั้งสิ้นประมำณ 49,476 ตำรำงกิโลเมตร แบ่ งออกเป็ น 20
ลุ่มนำ้ ย่ อย ตำมตำรำงที่ 4-1 และรูปที่ 4-3 แสดงลุ่มนำ้ ย่ อย
4.11
4.10
4.09
4.02 4.03
4.12
4.08
4.07
4.06
4.04
4.05
รู ปที่ 4-3 แสดงลุ่มนำ้ ย่ อย
ตำรำงที่ 4-1 ขนำดของพืน้ ทีล่ ่มุ นำ้ ย่ อย
รหัส
ชื่อลุ่มนำ้ ย่ อย
พืน้ ทีร่ ับนำ้
(ตร.กม.)
04.02 ลำนำ้ ชีตอนบน
3,393
04.03 ลำสะพุง
725
04.04 ลำกระจวน
876
04.05 ลำคันฉู
1,734
04.06 ลำนำ้ ชีส่วนที่ 2
3,808
04.07 ห้ วยสำมหมอ
774
04.08 ลำนำ้ ชีส่วนที่ 3
3,257
04.09 ลำนำ้ พองตอนบน
4,186
04.10 ห้ วยพวย
951
04.11 ลำพะเนียง
1,859
04.12 นำ้ พรหม
2,253
พื้นที่ล่มุ น้ำ
ตำรำงที่ 4-1 ขนำดของพืน้ ทีล่ ่มุ นำ้ ย่ อย (ต่ อ)
ลุ่มนำ้ ชีมีพนื้ ที่รวมทั้งสิ้น 49,476 ตำรำงกิโลเมตร แบ่ งออกเป็ น 20
ลุ่มนำ้ ย่ อย ตำมตำรำงที่ 4-1 และรู ปที่ 4-3 แสดงลุ่มนำ้ ย่ อย
4.18
4.17
4.14
4.13
4.15
4.19
4.20
4.16
4.21
รหัส
ชื่อลุ่มนำ้ ย่ อย
(ตร.กม.)
04.13 ลำนำ้ เชิญ
2,731
04.14 ลำนำ้ พองตอนล่ำง
2,314
04.15 ห้ วยสำยบำตร
664
04.16 ลำนำ้ ชีส่วนที่ 4
5,255
04.17 ลำปำวตอนบน
3,216
04.18 ลำพันชำด
689
04.19 ลำปำวตอนล่ำง
3,996
04.20 ลำนำ้ ยัง
4,050
04.21 ลำนำ้ ชีตอนล่ำง
2,744
รวมทั้งสิ้น
รู ปที่ 4-3 แสดงลุ่มนำ้ ย่ อย
พืน้ ทีร่ ับนำ้
49,476
ปริมำณน้ำฝน
ตำรำงที่ 4-3 ปริมำณนำ้ ฝนและนำ้ ท่ ำเฉลีย่ รำยเดือน
ลุ่มนำ้ ชีมีปริมำณนำ้ ฝนผันแปรตั้งแต่ 900 มิลลิเมตร จนถึง 1,700 มิลลิเมตรโดยมีปริมำณนำ้ ฝนทั้ง
ปี เฉลีย่ 1,174 มิลลิเมตร ลักษณะกำรผันแปรของปริมำณนำ้ ฝนรำยเดือนเฉลีย่ ได้ แสดงไว้ตำม
ตำรำงที่ 4-3 และมีลกั ษณะกำรกระจำยของปริมำณนำ้ ฝนของลุ่มนำ้ ย่อยต่ ำงๆ ตำมรูปที่ 4-4
รู ปที่ 4-4 ปริมำณนำ้ ฝนเฉลีย่ รำย
เดือนในแต่ ละลุ่มนำ้ ย่ อย
รู ปที่ 4-5 ปริมำณนำ้ ท่ ำเฉลีย่
รำยเดือนในแต่ ละลุ่มนำ้ ย่อย
ปริมำณน้ำท่ำ ลุ่มนำ้ ชีมีพนื้ ที่รับน้ำทั้งหมด 49,476 ตำรำงกิโลเมตร จะมีปริมำณน้ำท่ ำตำม
ธรรมชำติรำยปี เฉลีย่ 11,244 ล้ำนลูกบำศก์เมตร ตำมตำรำงที่ 4-3 และคิดเป็ นปริมำณน้ำท่ ำรำย
ปี เฉลีย่ ต่ อหน่ วยพืน้ ที่รับนำ้ ฝน 7.21 ลิตร/วินำที/ตำรำงกิโลเมตร ตำรำงที่ 4-3 และ ตำมรู ปที่ 45 แสดงปริมำณนำ้ ท่ ำเฉลีย่ รำยเดือนของแต่ ละลุ่มนำ้ ย่ อย
เดือน
ปริมำณนำ้ ฝน
(มิลลิเมตร)
ปริมำณนำ้ ท่ ำ
(ล้ำน ลบ.ม.)
เม.ย.
66.4
106.8
พ.ค.
165.1
331.6
มิ.ย.
171.8
695.4
ก.ค.
160.0
1,032.5
ส.ค.
203.2
1,866.0
ก.ย.
244.0
3,029.6
ต.ค.
96.9
2,683.4
พ.ย.
11.4
949.8
ธ.ค.
4.4
250.5
ม.ค.
3.4
115.3
ก.พ.
13.7
86.7
มี..ค.
33.5
96.6
ฤดูฝน
1,041.1
9,638.4
ฤดูแล้ ง
132.9
1,605.7
ทั้งปี
1,174.0
11,244.0
ภูมิอำกำศ
ข้ อมูลภูมอิ ำกำศทีส่ ำคัญของลุ่มนำ้ นีไ้ ด้ แสดงไว้ แล้ ว ตำมตำรำงที่ 4-2
ซึ่งแต่ ละรำยกำรจะเป็ นค่ ำสู งสุ ด ค่ ำต่ำสุ ด และค่ ำเฉลีย่ เป็ นรำยปี
ตำรำงที่ 4-2 แสดงข้ อมูลภูมิอำกำศที่สำคัญ
ข้ อมูลภูมอิ ำกำศทีส่ ำคัญ
อุณหภูมิ
ควำมชื้นสั มพัทธ์
ควำมเร็วลม
เมฆปกคลุม
ปริมำณกำรระเหยจำกถำด
ปริมำณกำรคำยระเหยของ
พืชอ้ ำงอิง
หน่ วย
ค่ ำสู งสุ ดรำยปี
ค่ ำต่ำสุ ดรำยปี
ค่ ำเฉลีย่ รำยปี
องศำเซลเซียส
เปอร์ เซนต์
น๊ อต
27.8
72.7
3.8
26.6
68.8
1.3
27.0
71.3
2.2
0-10
มิลลิเมตร
6.5
1,918.3
5.0
1,659.3
5.5
1,771.3
มิลลิเมตร
1,896.4
1,785.1
1,824.0
ตำรำงเปรียบเทียบ ปริมำณน้ำฝน - ปริมำณน้ำท่ำ
กลุ่มลุ่มนำ้ สำขำแม่ นำ้ โขง
ลำดับ
ลุ่มนำ้
ที่
ปริมำณนำ้ ฝน
(ฤดูฝน)
(ฤดูแล้ง)
ปริมำณนำ้ ท่ ำ
ทั้งปี
(ฤดูฝน)
(ฤดูแล้ง)
ทั้งปี
1
ลุ่มนำ้ โขง
1,393.1
155.1
1,548.2
2,458.8
2,458.8 30,769.0
2
ลุ่มนำ้ ชี
1,041.1
132.9
1,174.0
9,638.4
1,605.7 11,244.0
3
ลุ่มนำ้ มูล
1,124.3
141.8
1,266.1 17,328.5
2,171.7 19,500.2
4
ลุ่มนำ้ กก
1,298.8
179.2
1,478.0
3,035.0
1,141.8
4,176.8
5
ลุ่มนำ้ โตนเลสำบ
1,300.0
216.0
1,516.0
2,003.0
391.4
2,394.4
ทรัพยำกรดิน
พืน้ ทีล่ ุ่มนำ้ ชี สำมำรถจำแนกประเภทชนิดดินตำมควำมเหมำะสมของกำรปลูกพืชออกได้ 4 ประเภท ซึ่ง
มีลกั ษณะกำรกระจำยของกลุ่มดิน ตำมรูปที่ 4-6 ซึ่งแต่ ละกลุ่มดินจะมีจำนวนพืน้ ที่ ตำมคำรำงที่ 4-4
ตำรำงที่ 4-4
ลักษณะดิน
รู ปที่ 4-6 กำรแบ่ งกลุ่มดินจำแนกตำมควำมเหมำะสมใช้ ปลูกพืช
จำนวนพืน้ ที่
(ตำรำงกิโลเมตร)
ดินทีเ่ หมำะสมสำหรับปลูกข้ ำว และพืชชนิดอืน่ ๆ
15,920.14
ดินทีเ่ หมำะสมสำหรับกำรปลูกพืชไร่ พืชผักและไม้ ผล-ไม้ ยนื ต้ น
(ไม่ เหมำะสำหรับปลูกข้ ำว)
19,118.90
ดินทีไ่ ม่ เหมำะสำหรับปลูกพืชโดยทัว่ ไป
(ต้ องได้ รับกำรปรับปรุงก่อน จึงจะปลูกพืชบำงชนิดได้ )
5,645.50
ดินทีไ่ ม่ เหมำะสมสำหรับปลูกพืชชนิดใดๆเลย
7,494.49
พืน้ ทีช่ ่ ุมนำ้ (wetland) เหมืองแร่ และอืน่ ๆ
1,296.87
รวม
49,476.00
กำรใช้ ประโยชน์ จำกที่ดิน
้ ทีท
1) พืน
่ ำกำรเกษตร......................
62.99 %
พืชไร่.................................... 34.64 %
ไม้ผล-ไม้ยน
ื ต้น...................... 0.03 %
ปลูกข้ำว............................... 64.63 %
อืน
่ ๆ...................................... 0.70 %
รู ปที่ 4-7 กำรทำเกษตร
2) ป่ำไม้......................................... 28.44 %
ั ป่ำ..............08.85 %
เขตอนุร ักษ์พ ันธุส
์ ตว์
อุทยำนแห่งชำติ........................14.92 %
้ ทีป
พืน
่ ่ ำอนุร ักษ์.........................76.23 %
รู ปที่ 4-8 พืน้ ทีป่ ่ ำไม้ และเพือ่ กำรอนุรักษ์
ั
3) ทีอ
่ ยูอ
่ ำศย...............................
4) แหล่งนำ้ ..................................
5) อืน
่ ๆ........................................
รู ปที่ 4-9 ทีอ่ ยู่อำศัยและอืน่ ๆ
2.68 %
2.30 %
3.59 %
พื้นที่ทำกำรเกษตร
ลุ่มนำ้ ชีมีพนื ้ ที่ท่ ที ำกำรเกษตรทัง้ หมดถึง 31,163 ตำรำงกิโลเมตร
และมีพนื ้ ทีเหมำะสมกับกำรเพำะปลูก 20,883 ตำรำงกิโลเมตร
หรื อ คิดเป็ นร้ อยละ 67.01
พืน้ ที่เหมำะสมสำหรั บปลูกข้ ำว
พืน้ ที่เหมำะสมสำหรั บปลูกพืชผัก
พืน้ ที่เหมำะสมสำหรั บปลูกพืชไร่
15,239.85 ตำรำงกิโลเมตร (72.97%)
7.79 ตำรำงกิโลเมตร ( 0.04%)
5,564.06 ตำรำงกิโลเมตร (26.64%)
พืน้ ที่เหมำะสมสำหรั บปลูกไม้ ผล-ไม้ ยืนต้ น 72.24 ตำรำงกิโลเมตร (0.35%)
รู ปที่ 4-10 กำรใช้ ประโยชน์ ทดี่ นิ หลักด้ ำนกำรเกษตร
พืน้ ที่ท่ เี หมำะสมกับกำรเพำะปลูกส่ วนใหญ่ จะอยู่ตลอดบริเวณที่รำบสองฝั่ งลำนำ้ ของแม่ นำ้ ชีและสำขำ
ต่ ำงๆ ซึ่งรวมกันแล้ วประมำณร้ อยละ 42.21 ของพืน้ ที่ทงั ้ ลุ่มนำ้
ในกำรเพำะปลูกพืชในปั จจุบันในลุ่มนำ้ ชี ส่ วนใหญ่ ท่ ปี ลูกข้ ำวและพืชผักได้ ปลูกบนพืน้ ที่ท่ ีมีควำมเหมำะสม
ดีอยู่แล้ ว แต่ กำรปลูกพืชผักและกำรปลูกพืชไร่ ยังปลูกบนพืน้ ที่ท่ ไี ม่ มีควำมเหมำะสมอยู่
พื้นที่ท่ีมศี ักยภำพพัฒนำระบบชลประทำน
พืน้ ทีท่ มี่ ศี ักยภำพกำรพัฒนำระบบชลประทำน ในพืน้ ทีล่ ่ ุมนำ้ ชี ส่ วนใหญ่ จะอยู่ตลอดบริเวณทีร่ ำบ
สองฝั่งลำนำ้ ของแม่ นำ้ ชีและสำขำต่ ำงๆ โดยมีพนื้ ที่ 12,241 ตำรำงกิโลเมตร และคิดเป็ นร้ อยละ 58.62
ของพืน้ ทีก่ ำรเกษตรทีเ่ หมำะสมกับกำรเพำะปลูก หรือร้ อยละ 39.28 ของพืน้ ทีก่ ำรเกษตรทั้งหมด
ตำรำงที่ 4-5 ตำรำงเปรียบเทียบพืน้ ที่กำรเกษตรกับพืน้ ที่ที่มีศักยภำพสำหรับกำรพัฒนำเกษตรชลประทำน
รำยกำร
พืน้ ที่ทำกำรเกษตรทั้งหมด
พืน้ ทีเ่ หมำะสมสำหรับกำร
เพำะปลูก
พืน้ ทีศ่ ักยภำพกำรพัฒนำ
ระบบชลประทำน
จำนวนพืน้ ทีเ่ พำะปลูกพืชแต่ ละชนิด (ตำรำงกิโลเมตร)
ไม้ ผล
รวมทั้งหมด
ข้ ำว
พืชไร่
พืชผัก
อืน่ ๆ
ไม้ ยนื ต้ น
20,142.45 10,796.04 8.03
167.32 49.94 31,163.78
15,239.85
5,564.06
7.79
72.24
-
20,883.94
10,863.46
1,347.89
4.95
25.35
-
12,241.65
กำรประเมินควำมต้องกำรน้ำ
จำกกำรศึกษำด้ ำนเศรษฐกิจและสั งคม ได้ คำดคะเนอัตรำกำรเจริญเติบโตของประชำกรที่อำศัยอยู่ในเขตเมืองและนอก
เขตเมือง รวมทั้งควำมต้ องกำรนำ้ สำหรับกำรขยำยตัวของภำคอุตสำหกรรม ช่ วงปี 2544-2564 สรุปได้ ตำมรู ปที่ 4-11
ชลประทำน
4,000
3,500
ปริมำณนำ้ (ล้ำน ลบ.ม.)
3,000
2,500
2,000
1,500
1,000
500
รักษำระบบนิเวศ
อุตสำหกรรม
0
2510
2520
2530
2540
2550
รู ปที่ 4-11 สรุปแนวโน้ มปริมำณควำมต้ องกำรนำ้ แต่ ละประเภท
2560
อุปโภค - บริโภค
2570
ปัญหำของลุ่มน้ำ
•
ด้ำนอุทกภ ัย สภำพกำรเกิดอุทกภ ัยในลุม
่ นำ้ นี้ แบ่งออกเป็น 2
ล ักษณะคือ∶1) อุทกภ ัยทีเ่ กิดในบริเวณลุม
่ นำ้ ตอนบนและลำนำ้ สำขำต่ำงๆ เกิด
จำกกำรทีม
่ ฝ
ี นตกหน ก
ั และนำ้ ป่ ำไหลหลำกจำกต้น น ำ้ ลงมำมำก จนล ำน ำ้
้ ทำง
สำยหล ักไม่สำมำรถระบำยนำ้ ได้ท ัน ประกอบก ับมีสงิ่ กีดขวำงจำกเสน
คมนำคมขวำงลำนำ้ และมีอำคำรระบำยนำ้ ไม่เพียงพอ
้ ทีท
พืน
่ เี่ กิด น ำ
้ ท่ว มเป็ นประจ ำได้แ ก่ อ ำเภออุ บ ลร ต
ั น์ จ งั หว ด
ั
ิ ธุ ์
ขอนแก่น อำเภอเขำวง และอำเภอกุฉน
ิ ำรำยณ์ จ ังหว ัดกำฬสน
้ ทีร่ ำบลุม
้ ทีร่ ำบลุม
2) อุทกภ ัยทีเ่ กิดในพืน
่ เกิดบริเวณทีเ่ ป็นพืน
่ และ
้ เขิน มีควำมสำมำรถระบำยนำ้ ไม่เพียงพอ ทำให้ไม่
มีแม่นำ้ สำยหล ักตืน
ิ ธิภำพ
สำมำรถระบำยนำ้ ลงได้อย่ำงมีประสท
้ ทีท
พืน
่ เี่ กิดนำ้ ท่วมเป็นประจำ ได้แก่ อำเภอบ้ำนเขว้ำ อำเภอคอน
ั ม ิ อำเภอม ัญจำคีร ี อำเภอชนบท จ ังหว ัดขอนแก่น
สวรรค์ จ ังหว ัดชยภู
ิ ธุ ์ อำเภออำจสำมำรถ อำเภอธว ัชบุร ี
อำเภอกมลำไสย จ ังหว ัดกำฬสน
ั จ ังหว ัดยโสธร
อำเภอเสลภูม ิ จ ังหว ัดร้อยเอ็ด อำเภอมหำชนะชย
 ด้ ำนภัยแล้ง
ปัญ หำภ ย
ั แล้ง ในลุ่ม น ำ
้ ช ี เกิด จำก
ภำวะฝนทิง
้ ช่ ว งยำวนำน ท ำให้พ ื้น ที่
กำรเกษตรนอกเขตชลประทำนเกิด
ควำมแห้งแล้ง ขำดแคลนนำ้ อุป โภคบริโภคและกำรเกษตร
ตำมข้อมูล กชช.2ค. ปี 2542 ลุ่ม
ี ห
นำ
้ ชม
ี มู่บ ำ
้ นท งั้ หมด 8,137 หมู่บ ำ
้ น
พบว่ำมีหมูบ
่ ำ้ นทีป
่ ระสบภ ัยแล้ง จำนวน
4,808 หมูบ
่ ำ้ น (ร้อยละ 59.09) โดย
แยกเป็ นหมู่ บ ้ำ นที่ข ำดแคลนน ้ำ เพื่ อ
กำรเกษตร 2,658 หมู่ บ ำ
้ น (ร้อ ยละ
32.67) และหมู่บ ำ
้ นทีข
่ ำดแคลนท งั้
น ้ ำ เ พื่ อ ก ำ ร อุ ป โ ภ ค - บ ริ โ ภ ค แ ล ะ
กำรเกษตร 2,150 หมู่ บ ้ำ น (ร้อ ยละ
26.42 )
หมู่บ้ำนทีม่ นี ำ้ อุปโภค-บริโภค แต่ ขำดแคลนนำ้ เพือ่ กำรเกษตร
หมู่บ้ำนทีข่ ำดแคลนนำ้ อุปโภค-บริโภค และนำ้ เพือ่ กำรเกษตร
รู ปที่ 4-12 แสดงลักษณะกำรกระจำยตัวของหมู่บ้ำนทีป่ ระสบปัญหำภัยแล้ง
โดยหมู่ บ ้ำ นที่ป ระสบภ ย
ั แล้ง ส่ ว น
้ ทีจ
ใหญ่จะอยูใ่ นพืน
่ ังหว ด
ั ขอนแก่น ถึง
1,207 หมู่ บ ้ำ น หรือ คิด เป็ นร้อ ยละ
25.10 ของหมู่ บ ้ำ นที่ป ระสบภ ย
ั แล้ง
ทงหมด
ั้
แนวทำงกำรแก้ไข
ี ล
้ ทีล
ปัญหำกำรเกิดอุทกภ ัย และภ ัยแล้งในลุม
่ นำ้ ชม
ี ักษณะคล้ำยก ับพืน
่ ม
ุ่ นำ้ อืน
่ ๆ
่ ผลให้เกิดควำมแห้งแล้งในชว
่ งทีฝ
่ ง ในทำงกล ับก ัน
คือกำรผ ันแปรของปริมำณนำ้ ฝน สง
่ นทิง้ ชว
ั และพืน
้ ทีอ
้ ทีก
เมือ
่ มีฝนตกหน ักก็ทำให้เกิดนำ้ ไหลหลำกท่วมพืน
่ ยูอ
่ ำศย
่ ำรเกษตร กำรแก้ไข
ปัญหำด ังกล่ำวจึงมีแนวทำงแก้ไขในภำพรวมโดยสรุปด ังนี้
1)
้ ทีต
ก่อสร้ำงอ่ำงเก็บนำ้ ขนำดใหญ่ ในพืน
่ อนบนของลำนำ้ สำขำทีส
่ ำค ัญ
ี อนบนและลำนำ้ ย ัง เพือ
บริเวณลุม
่ นำ้ ชต
่ เก็บก ักและชะลอปริมำณนำ้ ไหล
่ งฝนตกหน ัก
หลำกในชว
่ นำ้ และสูบนำ้
้ ทีท
2) ก่อสร้ำงระบบสง
เพือ
่ กระจำยนำ้ ให ัก ับพืน
่ ป
ี่ ระสบภ ัยแล้ง
และอยูไ่ ม่หำ
่ งจำกลำนำ้ สำยหล ักมำกน ัก
ิ ธิภำพกำรระบำยนำ้ และก ักเก็บนำ้ ในลำนำ้ สำยหล ัก
3) ปร ับปรุงประสท
ิ ธิภำพกำรระบำยนำ้ และสงิ่ กีดขวำงทำงนำ้
4) ปร ับปรุงประสท
้ ระโยชน์ทด
5) ควบคุมกำรใชป
ี่ น
ิ บริเวณเขตต ัวเมืองป้องก ันกำรบุกรุกลำ้ แนวลำนำ้
สำธำรณะ
้ื ทีต
6) อนุร ักษ์พน
่ น
้ นำ้
7) ขุดสระประจำไร่นำตำมแนวเศรษฐกิจพอเพียง
_________________________