โขนพ้อย

Download Report

Transcript โขนพ้อย

กิจกรรมนันทน
สั นทนาการสาหรับครู (Recreation for
Teacher) รหัสวิชา 441415
เรือ
่ ง
รายงาน
กิจกรรมนันทนาการประเภทละครภาพยนตร ์
( Drama in Recreation )
จัดทาโดย
นายณัฐพล
เพชรบุตร
รหัสนิสิต
55160522
คณะวิทยาการสารสนเทศ
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ
เลขที่ 177
เสนอ
ผู้ช่วยศาสตราจารยเชิ
์ ดชัย
ชาญสมุทร
รายงานนี้เป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชาสั นทนาการสาหรับครู
(Recreation for Teacher) รหัสวิชา 441415
ภาคเรียน
ที่ 2 ปี การศึ กษา 2556
กิจกรรม
นันทนาการ
กิจกรรม
นันทนาการ
ความสาคัญของนันทนาการ
นันทนาการถือเป็ นสิ่ งจาเป็ นและเป็ นปัจจัย
เบือ
้ งตน
ิ ของมนุ ษยทุ
้ ชาติทก
ุ ภาษา
้ สาหรับชีวต
์ กเชือ
ซึง่ มีความตองการที
จ
่ ะแสดงออก และพัฒนาชีวต
ิ ของ
้
ตนเองไปในรูปแบบตางๆ
กัน เช่น มีเพลงประจา
่
ชาติ การเตนร
้ เมือง การเลนพื
้ บาน
เกมกีฬา
้ าพืน
่ น
้
พืน
้ บาน
นิทานพืน
้ บาน
มีภาษาขนบธรรมเนียม
้
้
ประเพณี และวัฒนธรรมประจาชาติ เป็ นตน
้ Joseph
Lee กลาวว
า่ “ นันทนาการเป็ นมรดกรวมกั
นของมวล
่
่
มนุ ษยชาติ
แมว
ปแบบตางๆ
้ าการแสดงออกจะไปในรู
่
่
์
กันไปก็ตาม ”
กิจกรรม
นันทนาการ
กิจกรรมนันทนาการจะช่วยให้เด็กและเยาวชน
ของประเทศ ไดรั
วต
ิ และการ
้ บประการณในชี
์
เจริญเติบโตจากกิจกรรมการเลนต
ทีเ่ ด็กสนใจเข้า
่ างๆ
่
รวม
นอกจากนี้กจ
ิ กรรมนันทนาการยังสามารถช่วยให้
่
มนุ ษยทุ
้ บความสุข
์ กเพศ ทุกวัย ทุกอาชีพ ไดรั
ความสนุ กสนาน ความพึงพอใจ อันเป็ นคุณคา่
เบือ
้ งตนท
ิ ซึง่ มีการทางาน
้ าให้เกิดความสมดุลแหงชี
่ วต
การพักผอนหย
อนใจ
มีความรักความผูกพัน มีส่ิ งยึด
่
่
เหนี่ยวจิตใจดวยการบู
ชา เพราะชีวต
ิ จะไมสมบู
รณ ถ
้
่
์ า้
ปราศจากสิ่ งดังกลาวแล
ว
องการจริ
งๆ ของ
่
้ แตความต
่
้
ชีวต
ิ นั้น ยังมีองคประกอบอื
น
่ ๆ อีกมากมาย เช่น
์
ความสวยงาม ความรู้ อุดมการณ ์ เสี ยงเพลง ดนตรี
กิจกรรม
นันทนาการ
ประเภทของกิจกรรมนันทนาการ
ประเภทของกิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมทาง
นันทนาการนั้นสามารถจะแยกออกไดตามลั
กษณะของ
้
กิจกรรมและเพือ
่ ให้บรรลุผลตามความมุงหมายของการ
่
จัด ของผู้เขาร
้ วมและผู
่
้รับผิดชอบ จึงแยกประเภท
ของกิจกรรมนันทนาการออกได้ ดังตอไปนี
้
่
1. ประเภทการฝี มอ
ื และศิ ลปหัตถกรรม ( Arts
and Crafts Recreation )
เป็ นกิจกรรมประเภท การปั้น การวาดเขียน
กิจกรรมตางๆ
ทีใ่ ช้มือประดิษฐสิ์ ่ งของขึน
้ มา อันทาให้
่
เกิดความเพลิดเพลินบันเทิงใจ เป็ นกิจกรรมทาง
นันทนาการทัง้ สิ้ น
กิจกรรม
นันทนาการ
2. ประเภทเกม กีฬา กรีฑา ( Sport in Recreation
) กิจกรรมประเภทกีฬานี้เป็ นกิจกรรมทีน
่ ิยมกัน
แพรหลายและเป็
นกิจกรรมนันทนาการทีใ่ ห้ประโยชน์
่
มากทีส
่ ุดแกผู
กิจกรรมประเภทนี้แบงได
่ ้เขาร
้ วม
่
่
้ 2
ประเภท คือ
2.1 กีฬากลางแจ้ง ไดแก
้ ่ เกมกีฬาทีใ่ ช้สนาม
กลางแจ้งและเลนกลางแจ
่
้ง เช่น ฟุตบอล รักบี้ ฯลฯ
2.2 กีฬาในรม
่ มักเลนในห
่
้องนันทนาการ โรง
ยิมเนเซีย
่ ม หรือในรม
่ เช่น
เทเบิลเทนนิส บาสเกตบอล วอลเลย
แบดมินตัน
่ บอล
์
เป็ นตน
้
กิจกรรม
นันทนาการ
3. ประเภทดนตรีและรองเพลง
( Music in Recreation
้
)
กิจกรรมดนตรีทก
ุ ชนิดเป็ นเครือ
่ งปลอบประโลมใจให้
เพลิดเพลิน สนุ กสนาน และความบันเทิงแกผู
่ ้เลนและ
่
ผู้ฟัง จะเป็ นดนตรีสากล ดนตรีไทย ฯลฯ และ
รวมถึงการรองเพลงเดี
ย
่ ว การรองเพลงหมู
้
้
่ เพลง
พืน
้ บาน
เพลงไทย เพลงสากล เพลงราวง ลาตัด
้
เพลงฉ่อย ฯลฯ
4. ประเภทการเตนร
้ า ( Dance in Recreation )
กิจกรรมการเคลือ
่ นไหวตางๆ
ทีใ่ ช้จังหวะดนตรีน้น
ั
่
เป็ นกิจกรรมทีใ่ ห้ความสนุ กสนาน ให้ชีวต
ิ เพลิดเพลิน
ซึง่ ถือวาเป็
้ เมือง รา
่ นนันทนาการ เช่น การเตนร
้ าพืน
กิจกรรม
นัน
ทนาการ เรก
5.
ประเภทงานอดิ
( Hobbies in Recreation )
งานอดิเรกเป็ นกิจกรรมนันทนาการทีส
่ าคัญแขนงหนึ่ง
คือ เป็ นสิ่ งทีช
่ ่ วยให้การดาเนินชีวต
ิ ประจาวันของคนมี
ความสุขเพลิดเพลิน สาหรับเด็กควรไดรั
้ บการฝึ กหัดให้รูจั
้ ก
ประกอบกิจกรรมนี้ ทัง้ ในโรงเรียนและทางบาน
ช่วย
้
สนับสนุ น งานอดิเรกแบงได
่
้ 3 แบบ คือ
5.1 แบบงานเก็บสะสม คือ ใช้เวลาวางในการเก็
บสะสม
่
สิ่ งของตางๆ
เช่น สะสมแสตมป์ ใบไมสี
่
้ รูปภาพ ภาพ
วิว ภาพโบราณวัตถุ เหรียญทีร่ ะลึก ธนบัตรเกาๆ
่
เครือ
่ งลายคราม ฯลฯ
5.2 แบบงานทาประดิษฐ์ คือ ใช้เวลาวางในการสร
างสรรค
่
้
์
ประดิษฐสิ์ ่ งตางๆ
เช่น ทีร่ องจาน ดอกไมไฟ
โป๊ะ
่
้
ตะเกียง
กิจกรรม
นันทนาการ
6. ประเภทกิจกรรมทางสั งคม ( Social Recreation )
กิจกรรมนันทนาการทางสั งคม ไดแก
้ ่ กิจกรรม
นันทนาการหลายประเภททีก
่ ลุมคนได
ร้ วมกั
นประกอบ
่
่
ขึน
้ โดยมีจุดมุงหมายอย
างเดี
ยวกัน จึงไดร้ วม
่
่
่
ประกอบกิจกรรมนันทนาการชนิดนั้นเพือ
่ สั งคม เช่น
การประชุมพบปะสั งสรรค ์ การสมาคมสโมสร การ
รับประทานเลีย
้ งในโอกาสตางๆ
ฯลฯ
่
7. ประเภทละครภาพยนตร ์ ( Drama in Recreation )
การแสดงตางๆ
ทีเ่ ป็ นไปในแบบของการละคร จะ
่
บนเวทีหรือไมก็
่ ตามผู้เลนและผู
่
้ดูไดรั
้ บความเพลิดเพลิน
ก็จด
ั วาเป็
่ นกิจกรรมนันทนาการ เช่น ละครทีเ่ ลนทุ
่ ก
แหง่ ภาพยนตรโทรทั
ศน์ ละครกรมศิ ลปากร โขน
์
หนังตะลุง มโนราห ลิเก หุนกระบอก
กิจกรรม
นั
ทนาการาน
8.น
ประเภทการอ
พูด เขียน และทางวรรณกรรม
่
(Reading, Speaking and Writing)
กิจกรรมการอาน
พูด เขียน ในเวลาวางท
าให้
่
่
เกิดประโยชน์ ให้มีความรู้ ความเพลิดเพลิน สนุ กสนาน
เช่น
8.1 กิจกรรมการพูดคุย สนทนา โตวาที
การ
้
ปาฐกถา
8.2 กิจกรรมการอาน
การอานหนั
งสื อพิมพ ์
่
่
หนังสื อตางๆ
่
8.3 กิจกรรมทางการฟัง ฟังวิทยุ ฟังอภิปราย
โตวาที
ฯลฯ
้
8.4 กิจกรรมทางการเขียน เขียนบทความ นว
นิยาย นิทาน
กิจกรรม
นันทนาการ
10. ประเภทกิจกรรมพิเศษ ( Special Recreation )
กิจกรรมทีม
่ ก
ี ารเลนเป็
นครัง้ คราว แตเป็
่
่ นกิจกรรมตาม
ประเพณีของทองถิ
น
่ ทีป
่ ระชาชนทัว่ ไปปฏิบต
ั ก
ิ น
ั เช่น
้
งานวันขึน
้ ปี ใหม่ งานวันตรุษสงกรานต ์ งานเทศกาล
ประจาทองถิ
น
่ กิจกรรมทางศาสนา เช่น ทอดกฐิน
้
ทอดผ้าป่า กิจกรรมพิเศษจัดให้มีขน
ึ้ เพือ
่ ให้ประชาชนใน
ทองถิ
น
่ ไดพั
อนใจ
สนุ กสนาน และทาบุญดวย
้
้ กผอนหย
่
่
้
11. ประเภทอาสาสมัคร ( Voluntary Recreation )
กิจกรรมทีบ
่ ุคคลสมัครใจเขาร
วยความ
้ วมด
่
้
สมัครใจ และเป็ นกิจกรรมทีบ
่ ริการอาสาสมัครแกกลุ
่ มคน
่
หรือชุมชน เพือ
่ ประโยชนส
่
์ ่ วนรวม เช่น กิจกรรมคาย
อาสาสมัคร การบาเพ็ญประโยชนสาธารณสถาน
การ
์
กิจกรรมนันทนาการประเภท
(Drama
In Recreation)
ละครภาพยนตร
์
กิจกรรมนันทนาการประเภท
ละครภาพยนตร ์
ความหมาย
นันทนาการประเภทการละคร เป็ นกิจกรรมการ
แสดงออกเป็ นการระบายอารมณหรื
์ อกิจกรรมของ
ชีวต
ิ ประจาวัน การสรางความรู
สึ้ กการแสดงออกแหงตน
้
่
นันทนาการละครเกิดไดหลายวิ
ธ ี เช่น เกิดจากการแสดง
้
พิธก
ี ารศาสนา การฝัน หรือจินตนาการ ทีส
่ ่ งเสริม
พัฒนาการทางดานอารมณ
สุ
้
้
์ ข สนุ กสนาน เป็ นตน
กิจกรรมนันทนาการประเภท
ละครภาพยนตร ์
รูปแบบของการจัดกิจกรรม
1. การละครในลักษณะการเลียนแบบส่งเสริมจินตนาการ
การเลียนแบบพฤติกรรมของคน สั ตว ์ หรือธรรมชาติ
2. การละครแบบสรางสรรค
้
์ ส่งเสริมการแสดงออก
เพือ
่ ให้เกิดจินตภาพ ภาพพจน์ แนวคิดเพือ
่ ปลุกอารมณใน
์
แบบตาง
ๆ
่
3. การละครเป็ นพิธ ี เป็ นการแสดงละครทีถ
่ ก
ู กากับบทบาท
ลีลาทาทาง
เพือ
่ ให้ผู้ชมเกิดความพึงพอใจในการใช้
่
ความสามารถของผู้แสดง การทองบท
เลียนแบบและวินย
ั
่
ของผู้แสดง
4. ละครรอง
5. ละครรา
6. ละคร
้
ชาตรี
7. มโนราห ์
กิจกรรมนันทนาการประเภท
ละครภาพยนตร ์
ในการนาเสนอนี้ขาพเจ
้
้าขอนาเสนอ
กิจกรรมสั นทนากรประเภท
ละคร ภาพยนตรในรู
ปแบบของโขน ซึง่ จะมี
์
รายละเอียดตางๆต
อไปนี
้
่
่
โขน
(Khone
Drama)
โขน
(Khone
Drama)
ความหมาย
โขนเป็ นนาฏกรรมทีม
่ ศ
ี ิ ลปะเป็ นแบบ
ฉบับของตนเอง คาวา่ "โขน" ไมทราบแน
่
่ ชัดวามี
่ มาตัง้ แต่
สมัยใด ซึง่ ไดมี
ในลิ
ลต
ิ พระลอเลาถึ
้ กลาวไว
่
้
่ งงานมหรสพใน
งานพระศพของพระลอและพระเพือ
่ นพระแพงวา่ "ขยายโรง
โขนโรงรา ทาระทาราวเทียน" คาวา่ "โขน" มีกลาวไว
ใน
่
้
หนังสื อของชาวตางประเทศ
เป็ นการกลาวถึ
งศิ ลปะแหงการ
่
่
่
เลนของไทยในรั
ชสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช
ซึง่ เป็ น
่
์
ทีน
่ ิยมและยึดถือเป็ นแบบแผนกันมานาน มีขอสั
้ นนิษฐานวา่
โขนน่าจะมาจากคาในภาษาตาง
ๆ ดังนี้
่
โขน
(Khone
Drama)
1. โขนในภาษาเบงคาลี ซึง่ มีคาวา่ "โขละ หรือโขล" ซึง่
เป็ นชือ
่ ของเครือ
่ งดนตรีประเภทหนัง ชนิดหนึ่งของฮินดู
โดยตัวรูปรางคล
ายมฤทั
งคะ (ตะโพน) ส่วนใหญเป็
่ ง
่
้
่ นเครือ
ดนตรีทพ
ี่ วกไวษณพนิกายในแควนแบงกอลนิ
ยมใช้
้
ประกอบการเลนชนิ
ดหนึ่งทีเ่ รียกวา่ "ยาตรา" ซึง่ หมายถึง
่
ละครเร่ และหากเครือ
่ งดนตรีชนิดนี้ไดเคยน
าเขามาใน
้
้
ดินแดนไทยแลวน
ดหนึ่ง
้ ามาใช้ประกอบการเลนนาฏกรรมชนิ
่
เราจึงเรียกการแสดงชุดนั้นวา่ "โขล" ตามชือ
่ เครือ
่ งดนตรี
2. โขนในภาษาทมิฬ เริม
่ จากคาวา่ โขล มีคาเพียง
ใกลเคี
้ ยงกับ "โกล หรือ โกลัม" ในภาษาทมิฬ
โขน
(Khone
Drama)
3. โขนในภาษาอิหราน
มาจากคาวา่ "ษู รต
ั ควาน"
่
(Surat khwan) ซึง่ ษู รต
ั แปลวาตุ
อผู้
่ ๊ กตาหรือหุน
่ ซึง่ ผู้อานหรื
่
ขับรองแทนตุ
้
๊ กตาหรือหุนเรี
่ ยกวา่ "ควาน" หรือโขน
(Khon) ซึง่ คลาย
ๆ กับผู้พากยและผู
้
้เจรจาอยางโขน
่
์
หากทีม
่ าของโขนมาจากคาในภาษาเบงคาลี ภาษาทมิฬและ
ภาษาอิหราน
ก็คงจะมาจากพวกพอค
่
่ ้าวาณิช และศาสนา
จารยของชาวพื
น
้ เมืองประเทศนั้น ๆ แพรมาสู
่
่ ดินแดนในหมู่
์
เกาะชวา มาลายูและแหลมอินโดจีน
4. โขนในภาษาเขมร ในพจนานุ กรมภาษาเขมร มีคาวา่
"ละคร" แตเขี
่ ยนเป็ นอักษรวา่ "ละโขน"
ซึง่ หมายถึงมหรสพอยาง
่
หนึ่งเลนเรือ
่ งตาง ๆ กับมีคาวา "โขล" อธิบายไวใน
โขน
(Khone
Drama)
จากขอสั
ยังมิอาจสรุปไดแน
้ นนิษฐานตางๆ
่
้ ่ นอนวา่
"โขน" เป็ นคามาจากภาษาใด แตเมื
่ เปิ ดพจนานุ กรมฉบับ
่ อ
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ซึง่ ใช้กันในยุคสมัยนี้ก็จะ
พบวา่ โขน หมายถึง การเลนอย
างหนึ
่งคลายละครร
า
่
่
้
แตเล
อ
่ งรามเกียรติ ์ โดยผู้แสดงสวมหัวจาลอง
่ นเฉพาะในเรื
่
ตาง
ๆ ทีเ่ รียกวา่ หัวโขน หรืออีกความหมายหนึ่ง
่
หมายถึง ไมที
่ อเสริ
มหัวเรือทายเรื
อให้งอนเชิดขึน
้ ไป
้ ต
่
้
เรียกวา่ "โขนเรือ" เรียกเรือชนิดหนึ่งทีม
่ โี ขนวา่ เรือโขน
เช่น เรือโขนขนาดใหญน
ิ พยุหยา
่ ้ อย เหลือหลาย (ลิลต
ตรา) หรือส่วนสุดทัง้ 2 ขางของรางระนาดหรื
อฆองวง
ที่
้
้
งอนขึน
้ ก็เรียกวา่ "โขน"
โขน
(Khone
Drama)
ประเภทของโขน แบงออกเป็
น 5
่
ประเภท คือ
1. โขนกลางแปลง
2. โขนโรงนอก หรือโขนนั่งราว
3. โขนหน้าจอ
4. โขนโรงใน
5. โขนฉาก
โขน
(Khone
Drama)
ตัวละครในโขน
1. ตัวพระ ผู้แสดงทีเ่ ป็ นมนุ ษยทั
์ ง้ ผู้หญิง
ผู้ชาย และเทวดา ซึง่ ไดแก
้ ่
พระราม พระลักษณ ์ พระพรต พระ
สั ตรุต พระอิศวร พระนารายณ ์
พระพรหม ในปัจจุบน
ั นี้มก
ั สวมเพียง
ชฎา ไมได
วโขนปิ ดหน้าดังสมัย
่ สวมหั
้
โบราณ เพียงแตชฎาของเทพเจ
่
้า
ตางๆนั
้น จะสามารถสั งเกตไดจาก
่
้
ลักษณะของชฎานั้นๆ เช่น พระ
พรหมจะ สวมชฎาทีม
่ พ
ี ระพักตรอยู
์ ่
โขน
(Khone
Drama)
เครือ
่ งแตงกายของตั
วพระ
่
(แขนขวา - แสดงเสื้ อแขนสั้ นไมมี
่
อินทรธนู แขนซ้าย - แสดงเสื้ อแขน
ยาวมีอน
ิ ทรธนู)
1. กาไลเทา้ 2. สนับเพลา
3. ผ้านุ่ ง
ในวรรณคดี เรียกวา่ ภูษา หรือพระ
ภูษา
4. ห้อยขาง
หรือเจียระบาด
้
หรือชายแครง
5. เสื้ อ
ในวรรณคดีเรียกวา่ ฉลององค ์
6.
รัดสะเอว หรือรัดองค ์
7. ห้อยหน้า
หรือชายไหว
8. สุวรรณกระถอบ 9.
เข็มขัด หรือปั้นเหน่ง
10. กรองคอ
หรือ นวมคอ ในวรรณคดีเรียกวา่
กรองศอ
11. ตาบหน้า หรือ ตาบ
โขน
(Khone
Drama)
ตัวละครในโขน (ตอ)
่
2. ตัวนาง ตัวละครตัวนางในเรือ
่ ง
รามเกียรติน
์ ้น
ั มีทง้ั ทีเ่ ป็ นมนุ ษย ์ ปลา
นาค แตละตั
วจะบอกชาติกาเนิดดวยการ
่
้
สวมศี รษะ และหางเป็ นสั ญลักษณ ์ ตัว
นางในโขน และละครรานั้น มี 2
ประเภท คือนางกษัตริย ์ ซึง่ มีลล
ี าและ
อิรย
ิ าบถแสดงถึงความนุ่ มนวล แลดูเป็ น
ผู้ดี กับนางตลาด ซึง่ จะมีบทบาททาทาง
่
กระฉับกระเฉงวองไว
่
สะบัดสะบิง้ ผู้ทีจ
่ ะรับบทนางตลาดได้
โขน
(Khone
Drama)
เครือ
่ งแตงกายและเครื
อ
่ งประดับ
่
ของตัวนาง
1. กาไลเทา้ 2. เสื้ อในนาง
3. ผ้านุ่ ง
ในวรรณคดี เรียกวา่ ภูษา หรือพระ
ภูษา
4. เข็มขัด
5. สะอิง้
6. ผ้า
หมนาง
7. นวมนาง ในวรรณคดี
่
เรียกวา่ กรองศอ หรือสรอยนวม
8.
้
จีน
้ าง หรือ ตาบทับ ในวรรณคดี
เรียกวา่ ทับทรวง
9. พาหุรด
ั
10. แหวนรอบ
11. ปะวะหลา่
12.
กาไลตะขาบ
13. กาไลสวม ใน
วรรณคดีเรียกวา่ ทองกร
14.
ธามรงค ์
15. มงกุฎ
16.
โขน
(Khone
Drama)
ตัวละครในโขน (ตอ)
่
3. ตัวยักษ์ ตัวยักษจะต
องมี
ลก
ั ษณะสูง
้
์
วงเหลีย
่ มตลอด
จนการทรงตัวตองดู
แข็งแรง บึกบึน
้
ลีลาทาทางมี
สงา่
่
ซึง่ ตองได
รั
เพรา
้
้ บการฝึ กหัดมาอยางดี
่
ถือกันวาหั
่ ด
ยากกวาตั
่ ๆ
่ วอืน
โขน
(Khone
Drama)
เครือ
่ งแตงกายและเครื
อ
่ งประดับ
่
ของตัวยักษ์
1. กาไลเทา้ 2. สนับเพลา
3. ผ้านุ่ ง
ในวรรณคดี เรียกวา่ ภูษา หรือพระ
ภูษา
4. ห้อยขาง
หรือเจียระบาด
้
หรือชายแครง
5. ผ้าปิ ดกน
ง
้ หรือห้อยกน
้ อยูข
่ างหลั
้
6. เสื้ อ ในวรรณคดีเรียกวา่ ฉลององค ์
7. รัดสะเอว หรือรัดองค ์ หรือรัดพัสตร ์
8. ห้อยหน้า หรือชายไหว
9. เข็ม
ขัด หรือปั้นเหน่ง
10. รัดอก หรือ
รัดองค ์ ในวรรณคดีเรียกวา่ รัดพระ
11.
ตาบหน
บ้ ตา่
บรรดาพญายักษตั
่ อุๆระ ในเรื
อ
่ งโขนก็
แต
นนี
้ างกายคล
่ หรือ ายกั
้ ตาบทั
์ วสาคัญอืน
โขน
(Khone
Drama)
ตัวละครในโขน (ตอ)
่
4. ตัวลิง ตัวลิงจะตองมี
ทาทางลุ
กลีล
้ ก
ุ ลน
้
่
กระโดดโลดเตนตามลั
กษณะธรรมชาติของ
้
ลิง โดยเฉพาะตัวหนุ มานทหารเอกซึง่ จะ
ตองได
รั
้
้ บการฝึ กมาเป็ นอยางดี
่
โขน
(Khone
Drama)
เครือ
่ งแตงกายและเครื
อ
่ งประดับ
่
ของตัวลิง
1. กาไลเทา้
2. สนับเพลา
3.
ผ้านุ่ ง ในวรรณคดี เรียกวา่ ภูษา
หรือพระภูษา
4. ห้อยขาง
หรือ
้
เจียระบาด หรือชายแครง 5. หางลิง
6. ผ้าปิ ดกน
7. เสื้ อ
้ หรือห้อยกน
้
แตในที
น
่ ี้สมมติเป็ นขนตามตัวของลิง
่
8. รัดสะเอว
9. ห้อยหน้า หรือชาย
ไหว 10. เข็มขัด หรือปั้นเหน่ง
11.
กรองคอ หรือ นวมคอ
12. ทับ
บรรดาวานรตั
ญอืสัน
่ งๆวาล
ในเรือ
่ 14.
งโขนก็
แตศงกายค
ทรวงวสาคั13.
ตาบทิ
่
นอกจากจะแตกตางกั
นทีเ่ ครือ
่ งสวมศี
รษะ
หน้า และสี
15. พาหุ
รด
ั สีตามปกติ
เย็บก
ติายแล
ดไวกั
้ องยัง
่
้บเสืลิ
้ ว
สรุปกิจกรรม
นันทนาการ
สรุปกิจกรรม
นันทนาการ
ขาพเจ
้
้าไดจั
้ ดทารายงานกิจกรรมนันทนาการประเภท
ละครภาพยนตร ์ ( Drama in Recreation ) เรือ
่ ง โขน (
Khone Drama )
ประโยชนจากการที
ข
่ ้าพเจ้าไดรั
้ บจากกิจกรรมนันทนาการ
์
ประเภทนี้ คือ
ขาพเจ
อ
่ ง โขน
้
้ามีความรู้ ความเขาใจในเรื
้
มากขึน
้
ความสุขทีไ่ ดรั
้ บจากกิจกรรมนันทนาการประเภทนี้ คือ
ขาพเจ
อนหน
้
้าเคยทาการเลนละครโขนมาก
่
่
้ านี้ ทาให้ขาพเจ
้
้า มี
ความสุข สนุ กนานกับการไดเล
นอยางมาก
้ นละครโขนเป็
่
่
เหตุผลทีช
่ อบและรักในกิจกรรม ประเภทนี้ คือ
โขน
เป็ นละครหนังใหญ่ ทีแ
่ สดงให้เห็นถึงวัฒนธรรมไทยเป็ นอยาง
่
มาก เพราะองคประกอบในด
านต
างๆ
ลวนมาจากความเป็
นไทย
้
่
้
์
แท้ ทัง้ ดานการร
องเล
น
่ งแตงกาย
แตละตั
ว
้
้
่ โดยเฉพาะเครือ
่
่
ละคร มีความสวยสดงดงามเป็ นอยางยิ
ง่
ทาให้ ขาพเจ
่
้
้ามี
ความชืน
่ ชอบและรักในกิจกรรมประเภทนี้
เรือ
่ ง
รายงาน
กิจกรรมนันทนาการประเภทละครภาพยนตร ์
( Drama in Recreation )
จัดทาโดย
นายณัฐพล
เพชรบุตร
รหัสนิสิต
55160522
คณะวิทยาการสารสนเทศ
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ
เลขที่ 177
เสนอ
ผู้ช่วยศาสตราจารยเชิ
์ ดชัย
ชาญสมุทร
รายงานนี้เป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชาสั นทนาการสาหรับครู
(Recreation for Teacher) รหัสวิชา 441415
ภาคเรียน
ที่ 2 ปี การศึ กษา 2556