คุณสุรศักดิ์ เจือสุคนธ์ทิพย์ รองอธิบดีกรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ กระทรวง

Download Report

Transcript คุณสุรศักดิ์ เจือสุคนธ์ทิพย์ รองอธิบดีกรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ กระทรวง

การสั มมนาเรื่องไทยกับประเทศเพือ่ นบ้ าน
ความร่ วมมือเพือ่ การพัฒนาสู่ อนาคต
นายสุ รศักดิ์ เจือสุ คนธ์ทิพย์
รองอธิบดีกรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
กระทรวงการต่างประเทศ
3 มิถุนายน 2553
กรอบความร่ วมมือระหว่างไทยกับ
ประเทศเพื่อนบ้าน
GMS / ACMECS / BIMSTEC /
Mekong-Japan / IMT-GT /
Emerald Triangle
แนวนโยบายการต่ างประเทศของไทย
กับประเทศเพื่อนบ้ าน
 ฟื ้ นฟู กระชับความสัมพันธ์ และส่ งเสริมความร่ วมมือเพื่อการพัฒนา
ระหว่ างไทยกับประเทศเพื่อนบ้ าน และประเทศในภูมิภาคเอเชีย
 ริเริ่มหรือสานต่ อความสัมพันธ์ และความร่ วมมือเพื่อการพัฒนา
ทัง้ ในระดับทวิภาคีและพหุภาคี
 สร้ างความเข้ าใจอันดีระหว่ างกันในการแก้ ไขปั ญหา
 แสวงหาผลประโยชน์ ร่วมกันอย่ างสร้ างสรรค์ และจริงใจ
 ลดช่ องว่ างทางเศรษฐกิจ สร้ างความมั่นใจ และความไว้ เนือ้ เชื่อใจ
กับประเทศเพื่อนบ้ าน
ยุทธศาสตร์ ความร่ วมมือทางเศรษฐกิจ
กับประเทศเพื่อนบ้ าน
 ส่ งเสริมการดาเนินความร่ วมมือภายใต้ กรอบความร่ วมมือทางเศรษฐกิจใน



อนุภมู ภิ าคต่ างๆ ให้ มีความสอดคล้ องและเกือ้ กูลอย่ างไม่ ซา้ ซ้อนกัน
เพื่อส่ งเสริมการค้ า การลงทุน และการท่ องเที่ยวระหว่ างกัน
ให้ ความช่ วยเหลือเพื่อการพัฒนา ทัง้ การพัฒนาโครงสร้ างพืน้ ฐานและ
ทรั พยากรมนุษย์ รวมทัง้ กระชับความร่ วมมือกับประเทศหุ้นส่ วนเพื่อการ
พัฒนา
สนับสนุนการดาเนินงานแบบบูรณาการระหว่ างหน่ วยงานภาครั ฐและ
เอกชน ทัง้ ในระดับส่ วนกลางและท้ องถิ่น
ส่ งเสริมบทบาทและอานวยความสะดวกให้ แก่ ภาคธุรกิจ โดยเฉพาะการใช้
ประโยชน์ จากโครงสร้ างพืน้ ฐานด้ านคมนาคมในอนุภูมภิ าคที่ได้ รับการ
พัฒนาไปอย่ างมาก
GMS: กรอบความร่ วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมภิ าคลุ่มแม่ นา้ โขง
Greater Mekong Subregion



ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) เพื่อดาเนินความร่ วมมือในการพัฒนา
โครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่ งและร่ วมมือในการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคม
มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 6 ประเทศ ได้แก่ จีนตอนใต้ (ยูนนานและ
กวางสี ) สปป.ลาว พม่า ไทย กัมพูชา และเวียดนาม
ครอบคลุมความร่ วมมือ 9 สาขา ได้แก่ 1. คมนาคมขนส่ ง
2.โทรคมนาคม 3. พลังงาน 4. การค้า 5. การลงทุน 6. เกษตร
7. สิ่ งแวดล้อม 8. การท่องเที่ยว 9. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ที่มา : สานักคณะกรรมการ
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ
บทบาทที่สาคัญของไทย

การพัฒนาโครงสร้ างพืน้ ฐานทางคมนาคมตามแนว Economic Corridors
 EWEC - ก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ าโขงแห่งที่ 2 (มุกดาหาร-สะหวันนะเขต) สะพานแม่
สอด-เมียวดี และถนนแม่สอด-เมียวดี-เชิงเขาตะนาวศรี -กอกะเร็ ก
 NSEC - ก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ าโขงไทย - ลาวแห่งที่ 4 (เชียงของ-ห้วยทราย) ร่ วมกับ
จีน และก่อสร้างเส้นทาง R3 (ห้วยทราย-หลวงน้ าทา)
 SEC - ก่อสร้างถนนสาย 48 เชื่อมเกาะกง-สแรอัมเปิ ล

ความช่ วยเหลือทางวิชาการ
-เน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็ นสาคัญ โดย สพร. และสถาบันการศึกษาภาครัฐและ
เอกชนของไทยให้ทุนการศึกษาและฝึ กอบรมเพื่อเสริ มสร้างขีดความสามารถให้แก่บุคลากร
ของประเทศเพื่อนบ้านในสาขาต่างๆ เช่น การเกษตร สาธารณสุ ข การบริ หารจัดการ การ
ท่องเที่ยว เป็ นต้น
-ความช่วยเหลือโครงสร้างพื้นฐาน 19 โครงการ รวม 11,412 ล้านบาท
ไทยได้ อะไรจาก GMS






การดาเนินการตามยุทธศาสตร์ 3 Cs (Connectivity – เชื่อมโยงเส้ นทางคมนาคม,
Competitiveness – เพิ่มขีดความสามารถในการแข่ งขัน และ Community – พัฒนา
ชุมชน) ตอบสนองนโยบายการพัฒนาสังคมเศรษฐกิจ และนโยบายการต่ างประเทศ
ของไทย
เมื่อเส้ นทางแนวพืน้ ที่เศรษฐกิจพัฒนาเสร็ จสมบูรณ์ จะช่ วยขยายการค้ า การลงทุน
การบริการ การท่ องเที่ยวในพืน้ ที่ ซึ่งจะช่ วยยกระดับชีวิตความเป็ นอยู่ของประชาชน
ในภูมิภาค
แสวงหาแหล่ งลงทุนเช่ น การลงทุนสร้ างสิ่งอานวยความสะดวกในเส้ นทางแนว
เศรษฐกิจ เช่ น จุดขนถ่ ายสินค้ า แหล่ งพักรถ สถานีบริการนา้ มัน พัฒนาแหล่ ง
ท่ องเที่ยว
ส่ งเสริมความร่ วมมือพัฒนาแหล่ งพลังงานไฟฟ้า แก๊ สธรรมชาติ ฯลฯ
กระชับความสัมพันธ์ กับประเทศสมาชิก ทัง้ ประเทศเพื่อนบ้ านและจีน
ยกระดับบทบาทของไทยในฐานะหุ้นส่ วนเพื่อการพัฒนา
Regional Development Trends
Subregional
Connectivity in
the GMS:
2015
2006
1992
Roads
Telecommunications
Power Transmission
Line

ื่ มโยง
ในอนาคตจะมีการเชอ
้ ฐานใน
ระบบโครงสร้างพืน
้ ทาง
้ ทงเส
อนุภม
ู ภ
ิ าคเพิม
่ มากขึน
ั้ น
คมนาคมทางบก โทรคมนาคม และ
่ ไฟฟ้าและพล ังงาน
โครงข่ายสายสง
1 สะพาน มิตรภาพแห่ งที่ 4 เชียงของ-ห้ วย
ทราย 2100 ลบ. ไทยออกครึ่งหนึ่ง เริ่ม
ก่ อสร้ างปลายปี 2552
ความช่ วยเหลือด้ านโครงสร้ างพืน้ ฐานของไทย
2 ถนนในหลวงพระบาง18ลบ.แล้วเสร็จ
15. สะพานแม่ นา้ สาย 40 ลบ.. แล้ วเสร็จ
16. ถนนสายเมียวดี-กอกะเร็ก-ท่ าตอน
(189 ก.ม.) ไทยช่ วยพัฒนา 18 กม.แรก และ
ออกแบบช่ วงบนเขา 40 กม. แล้ วเสร็จ
วงเงินก่ อสร้ างช่ วงบนเขาแนวใหม่ 872ลบ.
ลดระยะทางเหลือ 29 กม.
3. ถนน R3E เชียงราย-คุนหมิง (ในลาว
228 กม.) 1385 ลบ. แล้ วเสร็จ
4. ถนนสายห้ วยโก๋ น-ปากแบ่ ง (49 กม.)
วงเงิน 820 ลบ. ก่ อสร้ างเสร็จปี 2552
5. เส้ นทางรถไฟหนองคาย-ท่ านาแล้ ง (3.5
กม.) วงเงิน 197 ลบ. แล้ วเสร็จ
6. สนามบินวัดไต 320 ลบ. แล้ วเสร็จ
7. ปรับปรุงร่ องระบายนา้ ในนครหลวง
เวียงจันทน์ 160 ลบ. แล้ วเสร็จ
17. ถนน 67 ช่ องสะงา-เสียมราฐ (151 ก.ม.)
1300 ลบ. อยู่ระหว่ างก่ อสร้ าง
8. ถนนสาย 11 เวียงจันทน์ -ไซยะบุลี (62
กม.)600 ลบ. ศึกษาความเหมาะสม8 ลบ.
18. ถนน 68 ช่ องจอม- กลอรันห์ (113
ก.ม.) 1400 ลบ. เจรจาเงือ่ นไขเงินกู้
9. สะพานแม่ นา้ เหือง 43 ลบ. แล้ วเสร็จ
19. เส้ นทางสาย 48 เกาะกง-สแรแอม ปึ ล
(151 ก.ม.) 1156 ลบ.แล้ วเสร็จ
่ ยเหลือ 19 โครงการ
โครงการให้ความชว
วงเงินรวม 11,412 ลบ.
พม่า 2 โครงการ วงเงินรวม 152 ลบ.
สปป.ลาว 14 โครงการ วงเงินรวม 7,278 ลบ.
กัมพูชา 3 โครงการ วงเงินรวม 3,982 ลบ.
10. สะพานมิตรภาพแห่ งที่ 3 นครพนม-คา
ม่ วน 1,885 ลบ. เริ่มก่ อสร้ างปี 2552
11. ถนนเชื่อมท่ าเทียบเรือ – ถนน 13
วงเงิน 30 ลบ. แล้ วเสร็จ
12. สะพานมิตรภาพ 2 แล้ วเสร็จ
13. การใช้ ประโยชน์ สนามบินสะหวันนะ
เขตอยู่ระหว่ างคุยรายละเอียดกับลาว
14. สนามบินปากเซ 320 ลบ. อยู่ระหว่ าง
ก่ อสร้ าง
ACMECS: ยุทธศาสตร์ ความร่ วมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี-เจ้าพระยา-แม่โขง
(Ayeyawady-Chao Phraya-Mekong Economic Cooperation Strategy)



ก่ อตั้งเมือ่ เดือนพฤศจิกายน 2546
ประเทศสมาชิก 5 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม (พ.ค. 2547)
ความร่ วมมือ 8 สาขา (มีประเทศประสานงานหลักรายสาขา)
•
•
•
•
•
•
•
•
การอานวยความสะดวกทางการค้าและการลงทุน(ไทย)
เกษตรกรรม (พม่า)
อุตสาหกรรมและพลังงาน (เวียดนาม)
การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม (ลาว)
การท่องเที่ยว (กัมพูชา)
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (เวียดนาม)
สาธารณสุ ข (ไทย)
สิ่ งแวดล้อม (ที่ประชุมผูน้ า ACMECS ครั้งที่ 3 เห็นพ้องเมื่อ 7 พฤศจิกายน 2551)
วัตถุประสงค์ ในการจัดตั้ง
ACMECS เป็ นกรอบความร่ วมมือทีไ่ ทยผลักดันให้ เกิดขึน้ โดยดาเนินงาน
อยูบ่ นผลประโยชน์ร่วมกันของทุกฝ่ าย โดยมีวตั ถุประสงค์ หลัก ดังนี้





ลดช่องว่างทางเศรษฐกิจระหว่างไทยกับประเทศเพื่อนบ้านที่ยากจนกว่า และลด
ความแตกต่างของระดับการพัฒนาระหว่างประเทศสมาชิก
ลดผลกระทบที่ไทยได้รับจากความแตกต่างของระดับการพัฒนาในอนุภมู ิภาค
อาทิ การลักลอบเข้าเมืองของประชาชนจากประเทศเพื่อนบ้าน อาชญากรรมข้าม
ชาติ ขบวนการค้ายาเสพติดข้ามแดน โรคติดต่อร้ายแรง และแรงงานอพยพ
ใช้โอกาสและศักยภาพของแต่ละประเทศสมาชิกเกื้อกูลกันให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด
พัฒนาความเจริ ญทางเศรษฐกิจตามแนวชายแดน โดยสร้างงานและสร้างรายได้
เพื่อความกินดีอยูด่ ีของประชาชนในพื้นที่
ส่ งเสริ มความสัมพันธ์และสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างประเทศสมาชิก
ความร่ วมมือที่สาคัญ

โครงการทาการเกษตรแบบมีสัญญา (Contract Farming)

ความตกลงตรวจลงตราเดียว ACMECS (ACMECS Single Visa)

ความร่ วมมือเรื่องข้ าว (Rice Cooperation)

การเชื่อมโยงคมนาคม (Transport Linkages)

โครงการความร่ วมมือกับหุ้นส่ วนเพือ่ การพัฒนา (Development Partners – DP)

การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Development)

สาธารณสุ ข (Public Health)
ไทยได้ อะไรจาก ACMECS


ความร่ วมมือภายใต้ กรอบ ACMECS ตอบสนองต่ อทั้งนโยบายการพัฒนาสั งคม เศรษฐกิจ
และการต่ างประเทศของไทย โดยมีไทยเป็ นประเทศนา หรือ ประเทศผู้ให้
ประโยชน์ ที่ไทยได้ รับเป็ นประโยชน์ ที่ประเทศสมาชิกอืน่ ได้ รับเช่ นกัน
• เพิม่ ขีดความสามารถและศักยภาพในการผลิตตามแนวชายแดนและพืน้ ที่เชื่อมโยงใน
ลักษณะเกือ้ กูลซึ่งกันและกัน ทั้งด้ านการเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ
• ไทยสามารถย้ ายฐานการผลิตสิ นค้ าบางประเภทไปประเทศเพือ่ นบ้ าน โดยเฉพาะใน
อุตสาหกรรมที่ไทยไม่ มคี วามได้ เปรียบ เพือ่ ใช้ แรงงานและวัตถุดบิ จากประเทศเพือ่ น
บ้ านก่ อนส่ งผลผลิตกลับไทย
• มูลค่ าการค้ าทั้งนาเข้ าและส่ งออกระหว่ างไทยกับประเทศเพือ่ นบ้ าน มีสัดส่ วนของ
การค้ าบริเวณชายแดนเพิม่ มากขึน้ และมีแนวโน้ มเพิม่ ขึน้ อย่ างต่ อเนื่องและเป็ นไปอย่ าง
มีประสิ ทธิภาพ
ACMECS :ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงาน

บรรยากาศความสั มพันธ์ ระหว่ างไทยกับประเทศเพือ่ นบ้ าน

ปัจจัยทีเ่ ป็ นอุปสรรคในการดาเนินโครงการ Contract Farming
Lashio
Jinghong
Dien Bian Phu
Kentung
Bagan
Bo Ten
Meiktila
Muang Xai
Luang Prabang
Nan
Payaggi
Nakhon Phanum
Thaton
LT30
Mae Sot
Khon KaenMukdaharn
Thanbuzayat
Three Pagoda Pass
Nakon
Ratchasima
Tavoy
Ubon
Ratchathani
Quang Ngai
Poipet
Stung Treng
Kanchanaburi
Siem Reap
Trat
Kaw Thong
Sihanouk Ville
Ranong
Ca Mau
Quy Nhon
BIMSTEC: ความริเริ่มแห่งอ่าวเบงกอลสาหรับความร่วมมือหลากหลายสาขาทางวิชาการ
และเศรษฐกิจ Bay of Bengal Initiative for Multi-Sectoral Technical and Economic Cooperation
 ก่ อตั้งจากการริเริ่มของไทยเมือ่ วันที่ 6 มิถุนายน 2540
 มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 7 ประเทศ ได้แก่ บังคลาเทศ ภูฏาน อินเดีย พม่า เนปาล ศรี ลงั กา และไทย
 ครอบคลุมความร่ วมมือ 14 สาขา
- การค้าการลงทุน (บังคลาเทศ)
- การสื่ อสารและคมนาคม (อินเดีย)
- เทคโนโลยี (ศรี ลงั กา)
- เกษตร (พม่า)
- ปฏิสัมพันธ์ในระดับประชาชน (ไทย)
- วัฒนธรรม (ภูฏาน)
- การลดความยากจน (เนปาล)
- การท่องเที่ยว (อินเดีย)
- พลังงาน (พม่า)
- ประมง (ไทย)
- การต่อต้านการก่อการร้าย(อินเดีย)
- สาธารณสุ ข (ไทย)
- การจัดการด้านสิ่ งแวดล้อมและภัยพิบตั ิ (อินเดีย)
- การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (บังกลาเทศ)
วัตถุประสงค์ ในการจัดตั้ง
BIMSTEC เป็ นกรอบความร่ วมมือทีไ่ ทยผลักดันให้ เกิดขึน้
โดยมีวตั ถุประสงค์ หลัก ดังนี้




ช่วยประสานนโยบาย Look West ของไทย เข้ากับนโยบาย Look East ของ
อินเดีย
ช่วยเน้นนโยบายต่างประเทศมุ่งกระชับความสัมพันธ์กบั ประเทศพันธมิตรเดิม
และบุกเบิกความสัมพันธ์กบั พันธมิตรใหม่ๆ
BIMSTEC เป็ นการประสานจุดแข็งของแต่ละประเทศเข้าด้วยกัน และเป็ นตัวอย่าง
ของความร่ วมมือระหว่างประเทศกาลังพัฒนา (south-south cooperation) ที่จะทา
ให้ไทยมีบทบาทสร้างสรรค์ในเวทีระหว่างประเทศต่อไป
ใช้จุดเด่นของแต่ละประเทศมาสนับสนุนการผลิต/ส่ งออก เช่น แรงงาน อาหาร
วัตถุดิบ ทรัพยากรธรรมชาติ ทักษะ ความรู้ความชานาญ(Comparative
Competitiveness)
ประโยชน์ ที่ไทยจะได้ รับ
การเชื่อมโยงเส้ นทางคมนาคม (connectivity)
 การจัดทาความตกลงเขตการค้ าเสรี BIMSTEC ประชากร 1400 ล้านคน
 ความร่ วมมือด้ านฮาลาล มีมุสลิม 480 ล้านคน
 การที่จีนและอินเดียก้าวสู่ ความเป็ นมหาอานาจทางเศรษฐกิจของภูมิภาคทาให้ไทย
ต้องปรับตัว/นโยบาย
- พัฒนาระบบ logistic เชื่อมโยงทั้งทางบก ทะเล อากาศ
- สนับสนุนการค้า/ลงทุน แลห่วงโซ่ทางเศรษฐกิจไทย-จีน-อินเดีย
- เชื่อมโยงวัฒนธรรม สร้างความใกล้ชิดทั้งเชิงรุ กทางธุรกิจ การค้า ลงทุน
- ถ่วงดุลอานาจจีน-อินเดียและประเทศผูใ้ ห้ความช่วยเหลืออื่นๆ

ไทยได้ อะไรจาก BIMSTEC


BIMSTEC FTA เมื่อเสร็จสมบูรณ์ การค้ าของกลุ่มประเทศสมาชิกจะขยายตัว
ประมาณ 43,000-59,000 ล้ านดอลลาร์ สหรั ฐ
การเปิ ดตลาดฮาลาลในกลุ่มประเทศ BIMSTEC
• จานวนประชากรมุสลิมในอินเดีย 227 ล้ านคน และบังกลาเทศมีประชากร
มุสลิม 131 ล้ านคน
• ไทยมีความก้ าวหน้ าในด้ านวิทยาศาสตร์ และวิชาการในด้ านมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์ ฮาลาล
• ความร่ วมมือในด้ านการขยายเส้ นทางเครื อข่ ายคมนาคมในประเทศสมาชิก
BIMSTEC จะช่ วยสนับสนุนความร่ วมมือในสาขาต่ างๆ ทัง้ ในด้ านเกษตร
อุตสาหกรรม การค้ าและการลงทุน การท่ องเที่ยวเพิ่มมากขึน้
• การจัดตัง้ BIMSTEC Weather and Climate Centre จะช่ วยพัฒนาความร่ วมมือ
ในการป้องกันและแก้ ไขปั ญหาภัยพิบัตแิ ละสิ่งแวดล้ อมบริเวณชายฝั่ งทะเล
• แลกเปลี่ยนข้ อมูลและกระชับความร่ วมมือในด้ านอื่นๆ เช่ น พลังงาน การ
ต่ อต้ านการก่ อการร้ ายเพื่อความมั่นคงในภูมิภาค
BIMSTEC: ปัญหาและอุปสรรค





ปัจจุบันยังไม่ มกี ารจัดตั้งสานักเลขาธิการถาวร (ศรีลงั กาและบังกลาเทศเสนอตัว
เป็ นประเทศทีต่ ้งั )
ประเทศสมาชิกหลายประเทศเป็ นประเทศยากจน ทาให้ มขี ้ อจากัดด้ านงบประมาณ
การพัฒนาโครงสร้ างพืน้ ฐานในพม่ าเพือ่ เชื่อมโยงอนุภูมภิ าคลุ่มแม่นา้ โขงกับอนุ
ภูมภิ าคเอเชียใต้ ทาได้ ไม่ เต็มที่ เพราะปัญหาการเมืองภายใน
บางประเทศในเอเชียใต้ มคี วามหวาดระแวงอินเดีย ในฐานะประเทศใหญ่
ประเทศสมาชิกให้ ความสาคัญกับสาขาความร่ วมมือแต่ ละสาขาในระดับทีแ่ ตกต่ าง
กัน
Mekong-Japan Cooperation:
ความร่ วมมือประเทศลุ่มนา้ โขงกับญีป่ ุ่ น



ญี่ปุ่นริ เริ่ มความร่ วมมือนี้ โดยเป็ นเจ้าภาพจัดการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศ Mekong-Japan
ครั้งแรก เมือ่ เดือนมกราคม 2551
มีประเทศสมาชิก 6 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และญี่ปุ่น หรื อ
ACMECS + ญีป่ ุ่ น
วัตถุประสงค์ หารื อแนวทางในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม เพื่อมุ่งลดช่องว่าง
ทางเศรษฐกิจและการพัฒนาของ 4 ประเทศลุ่มน้ าโขงที่เป็ นประเทศอาเซี ยนใหม่ คือ กัมพูชา
ลาว พม่า และเวียดนาม (CLMV) และเป็ นการเพิ่มบทบาทของญี่ปุ่นในการสนับสนุนพัฒนา
อนุภูมิภาค โดยใช้งบประมาณและการช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาที่ญี่ปุ่นได้ให้แก่ประเทศ
CLMV ที่มีอยูแ่ ล้ว ทั้งในรู ปแบบทวิภาคีและไตรภาคีร่วมกับไทย ในขณะที่ไทยมีฐานะเป็ น
ประเทศผูใ้ ห้ร่วม (co-donor / co-sponsor) กับญี่ปุ่น โดยเฉพาะในด้านการพัฒนาทรัพยากร
มนุษย์
ความช่วยเหลือของญี่ปุ่นต่อการพัฒนาอนุภูมิภาค


รัฐบาลญี่ปุ่นเสนอให้ความช่วยเหลือพม่า ลาว กัมพูชาและเวียดนาม ใน
ระหว่างการประชุมสุ ดยอดผูน้ าเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2552 เป็ นเงิน
500,000 ล้านเยน
การส่ งเสริ มการเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม การใช้ประโยชน์และอานวย
ความสะดวกในการผ่านแดน การฝึ กอบรมบุคลากร
Mekong-Japan Cooperation : ปัญหาและอุปสรรค

สถานการณ์ การเมืองในพม่ ายังทาให้ ญี่ปุ่นไม่ สามารถให้ ความช่ วยเหลือในการ
พัฒนาอนุภูมภิ าคโดยเฉพาะการเชื่อมโยงโครงสร้ างพืน้ ฐานได้ อย่ างเต็มที่
IMT-GT: แผนงานการพัฒนาเขตเศรษฐกิจ 3 ฝ่ าย อินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย
Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle



ก่อตั้งเมื่อปี 2536 (ค.ศ. 1993)
ประเทศสมาชิก 3 ประเทศ ได้แก่ มาเลเซี ย อินโดนีเซี ย และไทย
พืน้ ทีค่ วามร่ วมมือ
• ไทย: 14 จังหวัดในภาคใต้
สงขลา สตูล ปั ตตานี ยะลา นราธิ วาส ตรัง พัทลุง นครศรี ธรรมราช ภูเก็ต พังงา
กระบี่ สุ ราษฎ์ธานี ระนอง และชุมพร
• มาเลเซีย: 8 รัฐบนแผ่นดินใหญ่
• อินโดนีเซีย: เกาะสุ มาตราทั้งเกาะ (10 จังหวัด)
เป็ นพื้นที่รวมกัน 592,576 ตร.กม. และมีประชากรรวมกัน 70 ล้านคน
ความร่ วมมือ 6 สาขา






โครงสร้างพื้นฐานและคมนาคม (มาเลเซียเป็ นประเทศนา)
การค้าและการลงทุน (มาเลเซีย)
การท่องเที่ยว (ไทย)
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (อินโดนีเซีย)
การเกษตร อุตสาหกรรมการเกษตรและสิ่ งแวดล้อม (อินโดนีเซีย)
ผลิตภัณฑ์และบริ การฮาลาล (ไทย)
ไทยได้ อะไรจาก IMT-GT




สามารถผลักดันกรอบความร่ วมมือเขตเศรษฐกิจสามฝ่ ายฯ ในทิศทางที่
เป็ นประโยชน์กบั ไทย
เสริ มสร้างความร่ วมมือด้านการการค้า การลงทุน การถ่ายทอด
เทคโนโลยีและความร่ วมมือด้านการผลิต
พัฒนาความเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐานโดยเฉพาะโครงข่าย
คมนาคมขนส่ ง สาธารณูปโภค และสาธารณูปการเพื่อลดต้นทุน
ยกระดับของประชาชนในพื้นที่ 14 จังหวัดในภาคใต้ของไทย โดยเฉพาะ
3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ให้มีความกินดีอยูด่ ี
IMT-GT: ปัญหาและอุปสรรค


แผนงาน/โครงการไม่ ได้ มคี วามคืบหน้ าเท่ าที่ควรหลายโครงการเป็ น
โครงการทวิภาคี
ประเทศสมาชิกไม่ มีเจตนารมณ์ มากพอในการดาเนินการให้ เป็ นไปตามที่
ผู้นาได้ ตกลงกันไว้ เช่ น การแก้ไขกฎ ระเบียบด้ านการค้ าและการลงทุน
Emerald Triangle: สามเหลีย่ มมรกต




แนวคิดริเริ่มขึน้ เมื่อเดือนมิถุนายน 2543
ประเทศสมาชิก 3 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ลาว และไทย
ความร่ วมมือเน้ นด้ านการท่ องเทีย่ ว โดยมุ่งพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่
เชื่อมโยง 3 ประเทศสมาชิก
พืน้ ทีค่ วามร่ วมมือ
• ไทย : จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดศรี สะเกษ
• กัมพูชา : จังหวัดพระวิหาร จังหวัดอุดรมีชยั และต่อมาเมื่อปี 2547 กัมพูชา
เสนอเพิม่ จังหวัดสตึงเตร็ ง
• ลาว : แขวงสาละวันและแขวงจาปาสัก
สามเหลีย่ มมรกต : ปัญหาและอุปสรรค




ปัญหาทางการเมืองระหว่ างประเทศสมาชิก
เป็ นความร่ วมมือเฉพาะพืน้ ที่ ในขณะทีช่ าติสมาชิกมีกรอบความร่ วมมืออืน่ ที่
ครอบคลุมพืน้ ทีก่ ว้ างกว่ า
พืน้ ทีค่ วามร่ วมมือครอบคลุมบริเวณพระวิหาร ซึ่งมีปัญหาเส้ นแบ่งเขตแดนทีไ่ ม่
ชัดเจนและยังไม่ ได้ ข้อยุติ และมีปัญหาการเก็บกู้ท่ ุนระเบิด
ขาดการเชื่อมโยงเส้ นทางคมนาคมแหล่ งท่ องเทีย่ วต่ าง ๆ
ความร่ วมมือสามเหลีย่ มมรกต (Emerald Triangle)
ตาดเลาะ
ผาแต้ ม
ตาดผาส้ วม
ทยานฯเขาพระวิหาร
ตาดเลาะ
ผาชนะได
บันทายสรี
ด่ านสากลวังเต่ า-ช่ องเม็ก
บายน
หมู่บ้านช้ าง หมู่บ้านทอผ้าไหม
ด่ านสากลช่ องจอม-โอเสม็ด
วัดพู
ตาดผาส้ วม
เขื่อนสิรินธร ผาแต้ ม
ปากซอง
เซเปี ยง
วัดพู
อุทยานฯเขาพระวิหาร
ช่ องตาเฒ่ า
หลีผ่ ี
จุดผ่ อนปรนช่ องผามออีแดง
หลีผ่ ี
จุดผ่ อนปรนช่ องอานม้ า
คอนพะเพ็ง
ภูจองนายอย
ปราสาทเขาพระวิหาร
สะพานโบราณโอชิค
ด่ านสากลช่ องสะงา-จวม แหล่งโบราณประวั
โลมาอิรวดี
ตศิ าสตร์
อัลลองเวง
ตาพรม
ด่ านสากลเวินคาม-ตระเพงเครล
(เดิมเรียกดอนกะลอร์ )
ภูจองนายอย
บันทายสรี
นครวัด
ปราสาทเขาพระวิหาร
นครวัด
บายน
คอนพะเพ็ง
ตาพรม
แหล่ งท่ องเทีย่ ว
จุดผ่านแดนสากล
จุดผ่านแดนผ่อนปรน
โลมาอิรวดี