ศูนย์กลางโลจิสติกส์ของAEC - Tanit Sorat V

Download Report

Transcript ศูนย์กลางโลจิสติกส์ของAEC - Tanit Sorat V

“ไทยกับการเป็ นศูนย์กลางด้ านโลจิสติกส์ ของ AEC”
โดย
ดร.ธนิต โสรัตน์
สมาชิกและรองประธานคณะทางานเศรษฐกิจมหภาค การเงิน การคลัง
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ
วันที่ 7 พฤษภาคม 2557
ณ โรงแรมรามา การ์ เด้ นส์
1/24
www.tanitsorat.com
AEC : ASEAN ECONOMIC COMMUNITY
จุดเปลี่ยนประเทศไทยโอกาสและความท้าทาย
Single Market
Under Free
Trade
One
Production
Base Under
Free
Investment
Free Trade
Finance
Free
Logistics Free
Flow???
Co-Tourism
Cross border Trade
Immigrant
Labour
Borderless
Economy
www.tanitsorat.com
neighbor
Investment
Free
Skill Labour
Free
2/24
AEC LOGISTICS CONNECTIVITY
การเชื่อมโยงการเปิ ดเสรีโลจิสติกส์ กบั ภาคเศรษฐกิจ
East India
South China
เชื่อมโยงด้ านธุรกิจการส่ งออก OUTBOUND TRADE
มูลค่า 1.910 ล้ านล้ านบาท
เชื่อมโยงด้ านธุรกิจนาเข้ า INBOUND TRADE
มูลค่า 1.356 ล้ านล้ านบาท
เชื่อมโยงการท่ องเที่ยวและธุรกิจบริการ
(TOURISM & SERVICE)
เชื่อมโยงด้ านการลงทุน (FDI & TDI INVESTMENT)
3/24
www.tanitsorat.com
การเชื่อมโยงโซ่ อุปทานภายใต้ การเปิ ดเสรี ประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน (1)
การเป็ นตลาดเดียว (Single Market)
• ผู้บริโภคจะมีทางเลือกมากขึ ้นทังจากด้
้
านราคา ด้ านรู ปแบบและ
หรื อช่องทางจาหน่าย
• โอกาสจากขนาดตลาดที่ใหญ่ขึ ้นแต่ภยั คุกคามก็มาจากตลาด
ภายใน อาจถูกสินค้ าซึง่ ผลิตในประเทศเพื่อนบ้ านและมีต้นทุน
การผลิตต่าเข้ ามาแย่งส่วนแบ่งตลาด
• ภาคบริการโลจิสติกส์ของไทยส่วนใหญ่เป็ น SME ศักยภาพการ
แข่งขันอาจไม่สามารถแข่งขันกับประเทศสิงค์โปรและมาเลเซีย
4/24
การเชื่อมโยงโซ่ อุปทานภายใต้ การเปิ ดเสรี ประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน (2)
การเป็ นฐานการผลิตร่ วมกันของอาเซียน (One Base Production)
• เป็ นทังโอกาสและภั
้
ยคุกคามเนื่องจากจะเพิ่มคูแ่ ข่งจากภายนอกหรื อ
การย้ ายฐานการผลิตจากภายนอกประเทศเข้ ามาผลิตแข่งขันกับ
ตลาดภายใน
• การใช้ ประโยชน์แรงงานและทรัพยากรประเทศเพื่อนบ้ าน
• การเปิ ดตลาดจะทาให้ มีสนิ ค้ ารูปแบบใหม่เงื่อนไขที่ดีกว่า อาจทาให้
สามารถทดแทนสินค้ าที่เคยผลิตอยูก่ ่อนในประเทศ
5/24
โครงข่ ายโลจิสติกส์ กับการเป็ น HUB ของประเทศไทย
ไทยเป็ นศูนย์ กลางของระเบียนเศรษฐกิจ GMS
1. North-South Economic Corridor (NSEC)
2. East-West Economic Corridor (EWEC)
3. South Economic Corridor (SEC)
6
www.tanitsorat.com
6/24
ผลประโยชน์ แห่ งชาติของ AEC
อยู่ทกี่ ารเชื่อมโยงเศรษฐกิจ (จริง) กับประเทศเพือ่ นบ้ าน
7
ที่มา: กระทรวงคมนาคม
7/24
ด่ านชายแดนเชื่อมโยงการค้ า-อุตสาหกรรมชายแดน ไทย-เมียนมาร์
ด่ านแม่ สอด-เมียวดี-ย่ างกุ้ง (จ.ตาก)
ด่ านแม่ สาย-ท่ าขีเ้ หล็ก-ตองจี-เนปิ ดอร์
ด่ านพุนา้ ร้ อน-ทิกกี-้ ทวาย-เยห์ (จ.กาญจนบุร
มูลค่ าการค้ าชายแดน
(จ.เชียงราย)มูลค่ าการค้ าชายแดน
นาเข้ า 1,410.58 ล้ านบาท
นาเข้ า 115.81 ล้ านบาท ส่ งออก 9,443.06 ล้ านบาท
ส่ งออก 37,966.31 ล้ านบาท
ด่ านสิงขร-มะริด (จ.ประจวบคีรีขันธ์ )
มูลค่ าการค้ าชายแดน
นาเข้ า 27.34 ล้ านบาท
ส่ งออก 47.36 ล้ านบาท
ท่ าเรื อระนอง -เกาะสอง (จ.ระนอง)
มูลค่ าการค้ าชายแดน
นาเข้ า 1,801.02 ล้ านบาท
ส่ งออก 18,195.41ล้ านบาท
ท่ าเรื อทวาย
8/24
8
ด่ านชายแดนเชื่อมโยงการค้ า-บริการ การลงทุน
ไทย – สปป.ลาว –เวียดนาม - จีนตอนใต้
รถไฟ ไทย-ลาว หนองคาย-ท่ านาแล้ง
ด่ านนครพนม-คาม่ วน-วิงห์
(เวียดนาม)
ด่ านช่ องเม็ก – ปากเซ (สปป.ลาว) – สะวายเรี ยง
(กัมพูชา) มูลค่ าการค้ าชายแดน
นาเข้ า 1,628.72ล้ านบาท
ส่ งออก 9,396.45 ล้ านบาท
ด่ านศุลกากรหนองคาย-เวียงจันทน์
มูลค่ าการค้ าชายแดน
นาเข้ า 1,998.73 ล้ านบาท ส่ งออก 61,349.80 ล้ านบาท
ด่ านมุกดาหาร – สะหวันนะเขต-ด่ งฮา
(เวียดนาม) - ลังซอน- ผิวเซียง-หนานหนิง(จีน)
มูลค่ าการค้ าชายแดน
นาเข้ า 16,670.24 ล้ านบาท ส่ งออก 12,006.95
เส้นทาง R12 – ท่าเรือวิ งห์ (เวียดนาม)
ล้ านบาท
ด่ านเชียงของ – คุณหมิง (R3E)
มูลค่ าการค้ าชายแดน
นาเข้ า 540.08 ล้ านบาท ส่ งออก 4,265.94 ล้ าน
บาท
9/24 9
ด่ านชายแดนเชื่อมโยง การค้ า-บริการ-อุตสาหกรรมชายแดน ไทย -กัมพูชา
ด่านหาดเล็ก (ตราด)– เกาะกง (กัมพูชา)
มูลค่าการค้าชายแดน
นาเข้า 482.58 ล้านบาท
ส่งออก 24,454.14 ล้านบาท
ด่านอรัญประเทศ – ปอยเปต-ศรี โสภณ (กัมพูชา)
มูลค่าการค้าชายแดน
นาเข้า 3,143.17 ล้านบาท
ส่งออก 44,976.38 ล้านบาท
ท่าเรื อสี หนุววิ ล์
10/24
10
ด่ านชายแดนเชื่อมโยงการค้ า-บริการ-โลจิสติกส์ ไทย-มาเลเซีย
ด่ านสะเดา จ.สงขลา
การค้ าชายแดน
นาเข้ า
165,815.88 ล้ านบาท
ส่ งออก 144,236.46 ล้ านบาท
ด่ านปาดังเบซาร์ จ.สงขลา
การค้ าชายแดน
นาเข้ า
165,815.88 ล้ านบาท
ส่ งออก
42,675.08 ล้ านบาท
ท่ าเรื อปี นัง ประเทศมาเลเซีย
ด่ านประกอบ จ.สงขลา
11/24 11
AEC LOGISTICS FREE TRADE (1)
การเปิ ดเสรี ด้านบริการโลจิสติกส์ ด้านใดบ้ าง (ปี 2013)
1. MARITIME CARGOES HANDING การยกขนสินค้ าขนส่งทางทะเล
2. STORAGE & WAREHOUSING SERVICES บริการธุรกิจเก็บสินค้ า –
คลังสินค้ า
3. FREIGHT TRANSPORT AGENCY SERVICES บริการตัวแทนรับจัดการ
ขนส่งสินค้ า
4. COURIER SERVICES บริการจัดส่งพัสดุ
5. PACKAGING SERVICES บริการด้ านบรรจุภณ
ั ฑ์
6. CUSTOMS CLEARANCE SERVICES บริการด้ านพิธีการศุลกากร
www.tanitsorat.com
12/24
AEC
FREE TRADE
TRADE(2)
(2)
AEC LOGISTICS
LOGISTICS FREE
การเปิ
ดเสรี
ด
้
า
นบริ
ก
ารโลจิ
ส
ติ
ก
ส์
ด
้
า
นใดบ้
า
ง
การเปิ ดเสรี ด้านบริการโลจิสติกส์ ด้านใดบ้ าง (ปี 2013)
7. INTERNATIONAL MARITIME TRANSPORT การขนส่งสินค้ าทางทะเล
ระหว่างประเทศ
8. AIR FREIGHT SERVICE บริการขนส่งทางอากาศของอาเซียน
9. INTERNATIONAL RAIL FREIGHT TRANSPORT บริการขนส่งทางราง
ระหว่างประเทศ
10. INTERNATIONAL ROAD FREIGHT TRANSPORT บริการขนส่งสินค้ า
ทางถนนระหว่างประเทศ
11. OTHER AUXILIARY SERVICE บริการเสริมด้ านโลจิสติกส์อื่นๆ
www.tanitsorat.com
13/24
Cross Border Transport Key Achievement
การขนส่ งข้ ามแดนหัวใจแห่ งความสาเร็จสู่ AEC
 การขนส่ งข้ามแดนประเทศเพื่อนบ้าน
CLMV+ China
 การเชื่อมโยงการค้า-บริ การ
 การเชื่อมโยง การลงทุนและอุตสาหกรรม
ชายแดน
 การเชื่อมโยงการท่องเที่ยว
 การเชื่อมโยงเศรษฐกิจเมืองชายแดน
 การเชื่อมโยงด้านทรัพยากรธรรมชาติและ
พลังงาน
14
ที่มา: กระทรวงคมนาคม
www.tanitsorat.com
14/24
การเตรียมพร้ อมสาหรับเป็ นศูนย์ กลางขนส่ งอาเซียน (1)
1. BORDER & INFRASTRUCTURE CONNECTIVITY
ความสามารถการเชื่อมโยงโครงสร้ างพื ้นฐานคมนาคมขนส่ง
2. CUSTOMS - IMMIGRATION -QUARANTINE (CIQ)
การสอดคล้ องระบบศุลกากร ตรวจคนเข้ าเมือง และการกักกันโรค
3. COMMUNICATION & IT SYSTEMS LINKAGE
การเชื่อมโยงระบบโทรคมนาคมและสารสนเทศ
4. CROSSBORDER & TRANSSHIPMENT FACILITATION
การสอดคล้ องด้ านกฎหมายและด้ านอานวยความสะดวก
การขนส่งข้ ามพรมแดนที่เป็ นสากล
5. DRIVER & MOTOR VEHICLE STANDARD
ระบบมาตรฐานพนักงานขับรถและยานยนต์ของภูมิภาค
15/24
การเตรียมพร้ อมสาหรับเป็ นศูนย์ กลางขนส่ งอาเซียน (2)
6. TRUCK ROUTE - INSURANCE - LIABILITIES
ข้ อตกลงกาหนดเส้ นทางขนส่งผ่านแดน การประกันภัย
และความรับผิดชอบทังสิ
้ นค้ าและบุคคลที่ 3
7. FORBIDDEN CARGOES AGREEMENT FACILITATION
ข้ อตกลงการตรวจสอบว่าด้ วยสินค้ าต้ องห้ าม เช่น ยาเสพติด สินค้ าอันตราย
และสินค้ าต้ องห้ ามที่เป็ นสากล
8. HEALTH & ENVIRONMENT STANDARD
มาตรฐานด้ านสุขอนามัยและสิ่งแวดล้ อม
9. ASIAN MULTIMODAL TRANSPORT AGREEMENT
ข้ อตกลงขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบของอาเซียน
10. ASIAN LOGISTICS SERVICE PROVIDER STANDARD
มาตรฐานผู้ให้ บริการโลจิสติกส์ของอาเซียน
16/24
องค์ ประกอบการขับเคลือ่ นการเป็ นศูนย์ กลางโลจิสติกส์ อาเซียนของไทย
Cross Border Logistics Service Supply Chain Connectivity
ขีดความสามารถในการแข่ง ขัน การเชื่อมโยงโซ่อปุ ทานกับภาค
และให้ บริ การแบบ D to D ข้ าม เศรษฐกิจจริ งทังด้
้ านการค้ า-การ
แดนในประเทศ GMS รวมทั ง้
ลงทุน-บริ การ
World Class Standard การพัฒนาผู้ประกอบการ
ให้ บริการโลจิสติกส์
HRD การพัฒนาทรัพยากรบุคคล
ด้ านขนส่งและการยกระดับการ
บริ การ Responsibility
Reliability
Liability
Trade Facilitation & CBTA
ด้ านการบริ หารจัดการและ
กฎระเบียบที่เอื ้อต่อการขนส่งทังใน
้
ประเทศและข้ ามแดน
17
17/24
ผู้ให้ บริการโลจิสติกส์ ...จุดอ่ อนของการเปิ ดเสรี AEC (1)
(มูลค่าในอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ประมาณ 432,000 ล้านบาท / ปี )
ขาดกฎหมายกากับดูแล และขาดหน่วยงานรัฐที่เป็ นเจ้ าภาพในการขับเคลื่อน
โอกาสถูกแย่ งพืน้ ที่ตลาด ส่วนใหญ่เป็ น SMEs ขาดขีดความสามารถในการ
แข่งขันด้ านการเชื่อมโยงในระดับภูมิภาค
ขาดความเป็ นมืออาชีพในระดับสากล ในการให้ บริการในระดับสากลและ
ขาดเป็ นมืออาชีพทังด้
้ านเทคโนโลยี นวัตกรรม
ลักษณะธุรกิจไม่ ครบวงจร ที่เป็ น Integrated Logistics Service โดยทางาน
แยกส่วน
www.tanitsorat.com
18/24
ผู้ให้ บริการโลจิสติกส์ ...จุดอ่ อนของการเปิ ดเสรี AEC (2)
(มูลค่าในอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ประมาณ 432,000 ล้านบาท / ปี )
ขาดเครือข่ ายทัง้ ในประเทศและระดับภูมิภาค ทาให้ เป็ นข้ อจากัดในการ
ให้ บริการ
ขาดความน่ าเชื่อถือ (Reliability) ในการใช้ บริการทังในด้
้ านการให้ บริ การ
ความรับผิดชอบและการชดใช้ คา่ เสียหาย
ขาดการรวมตัวเป็ นคลัสเตอร์ การให้ บริการมีการแข่งขันด้ านราคาอย่าง
รุนแรง ขาดการรวมตัวในลักษณะองค์กรหรื อสถาบันอย่างมีประสิทธิภาพ
สายป่ านสัน้ ทาให้ เป็ นข้ อจากัดด้ านบริการและการลงทุน
www.tanitsorat.com
19/24
การปรับตัวของผู้ประกอบการ
ภายใต้ การเปิ ดเสรี AEC (1)
1. News Business platform การว่างแผนเผชิญหน้ าการแข่งขันใหม่
บนบริบท AEC
การสร้ างคุณค่าจากจุดแข็งของธุรกิจ
ซึง่ เป็ นความเชี่ยวชาญเฉพาะตัว
หรื อมีอยูใ่ นองค์กร
3. Strategy Corporate Design การออกแบบยุทธศาสตร์ ให้ สอดคล้ อง
กับทิศทางและการแข่งขันของธุรกิจ
2. Strength Point Value
4. Competitive Advantage
การปรับเปลี่ยนการดาเนินงานและการ
ให้ บริ การซึง่ เหนือกว่าคูแ่ ข่งและหรื อ
ต่างชาติไม่สามารถดาเนินการได้ ดีกว่า
20/24
การปรับตัวของผู้ประกอบการ
ภายใต้ การเปิ ดเสรี AEC (2)
5. Team Building
การสร้ างทีมงานให้ มีขีดความสามารถในการ
แข่งขันในระดับภูมิภาคและระดับสากล
6. Regional Network Building การสร้ างเครื อข่ายเพื่อให้ มีขีดความสามารถ
ในการให้ บริ การระดับภูมิภาคและระดับสากล
7. Reliability Strategy การสร้ างยุทธศาสตร์ ด้านความเชื่อมัน่ ให้ กบั ลูกค้ าทัง้ ใน
ด้ านคุณภาพ มาตรฐานการทางาน ความสอดคล้ อง
ของระบบสารสนเทศ การส่งมอบที่ตรงต่อเวลา
การตรวจสอบย้ อนหลัง ด้ านสุขลักษณะ และสิง่ แวดล้ อม
8. Blue Ocean Strategy การสร้ างภูมิทศั น์ทางธุรกิจในพื ้นที่ใหม่ของ
ประเทศเพื่อนบ้ านโดยการใช้ ประโยชน์ของ AEC
ในด้ านการเชื่อมโยง การค้ า การบริการ และการลงทุน
21/24
การเปิ ดพืน้ ที่ใหม่ ภายใต้ AEC
1. New Cake การเปิ ดเสรี การค้ าภายใต้ กรอบต่างๆจะส่งผลให้ เกิดมิติใหม่เชิง
พื ้นที่ ถึงแม้ นจะมีภยั คุกคามแอบแฝงตามมาด้ วยก็ตาม
2. “Blue Ocean Strategy” ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะทาให้ เปิ ดพื ้นที่ใหม่ทงด้
ั ้ าน
ตลาด และฐานการผลิต ที่คแู่ ข่งส่วนใหญ่ยงั เข้ าไม่ถงึ เป็ นโอกาสต่อการขยาย
ตลาดและการลงทุน โดยต้ องปรับให้ เป็ นยุทธศาสตร์ เชิงรุก
3. Connectivity การเชื่อมโยงภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการโลจิสติกส์จะต้ อง
ปรับตัวเข้ าสูโ่ ซ่อปุ ทานการผลิตของอุตสาหกรรมแกนหลักใดอุตสาหกรรมหนึง่
4. ภาค SMEs ต้ องเชื่อมโยงกับโซ่ อุปทานหลัก
ในการเป็ นซับคอนแทรกรับงานซอยย่อยจากธุรกิจทังภาคอุ
้
ตสาหกรรม
หรื อภาคบริการโลจิสติกส์ซงึ่ อยูใ่ นโซ่อปุ ทานอีกทอดหนึง่
5. REGIONAL COMPETITIVENESS
การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในระดับภูมิภาค
22/24
AEC เหรียญสองด้ าน
เป็ นทัง้ โอกาสและความท้ าท้ าย ขึ ้นอยูก่ บั ว่าการปรับตัวหรื อรอโชคชะตา
เศรษฐกิจ (ใหม่ ) และชุมชนไร้ พรมแดนของ AEC จะก่อให้ เกิดการ
เปลี่ยนแปลงอย่างคาดไม่ถึง ทังในระดั
้
บปั จเจกบุคคล และธุรกิจ
แน่ ใจแล้ วหรือว่ าได้ มีการเตรียมพร้ อมสู่ AEC ??
23/24
END
ข้ อมูลเพิ่มเติมที่ www.tanitsorat.com
24
www.tanitsorat.com
24/24