ประโยชน์ด้านเศรษฐกิจ (ต่อ)

Download Report

Transcript ประโยชน์ด้านเศรษฐกิจ (ต่อ)

โอกาสทางธุรกิจ
ด้ วยเทคโนโลยีส่ ีจี
ศ.ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน
นายกอาวุโสตลอดชีพ สมาคมธุรกิจอินเทอร์ เน็ตไทย
บุ
ร
ุ
ษ
คอมพิ
ว
เตอร์
แ
ห่
ง
เอเชี
ย
บิ
ด
าอิ
น
เทอร์
เ
น็
ต
ไทย
[email protected]
www.charm.SiamTechU.net บิดาอีเลิร์นนิ่งไทย และราชบัณฑิตแห่ งบริเทนใหญ่
เอกสารประกอบการประชุมเชิงสัมมนาเพื่อก้ าวสู่ประชาคมอาเซียน
จัดโดย สมาคมธุรกิจอินเทอร์ เน็ตไทย ณ โรงแรม อโนมา ราชประสงค์ กรุ งเทพมหานคร
1
วันที่ 7 สิงหาคม 2557 เวลา 8.00 -13.40 น.
พรพิสุทธิ์ มงคลวนิช
อธิการบดี วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม
นายกสมาคมอินเทอร์ เน็ตนานาชาติ สาขาประเทศไทย
[email protected] นายกสมาคมคอมพิวเตอร์ เอซีเอ็ม สาขาประเทศไทย
www.SiamTechU.net นายกสมาคมคอมพิวเตอร์ ไอทริปเปิ ลอี สาขาประเทศไทย
2
ฉัตรปวีณ์ ตรี ชัชวาลวงศ์
เจ้ าหญิงไอทีไทย
เจ้ าของบริษัท โซเซียลแลป จากัด
อุปนายกสมาคมคอมพิวเตอร์ แห่ งประเทศไทยฯ
[email protected]
อุ
ป
นายกสมาคมอิ
น
เทอร์
เ
น็
ต
www.ceemeagain.com
พิธีกร ผู้ส่ ือข่ าว ผู้เขียน
ผู้จัดรายการวิทยุและโทรทัศน์ ด้านไอที
3
สารบัญ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
บทนา
ภาพรวมและประโยชน์ ท่ สี ังคมจะได้ รับจากเทคโนโลยี 4G
โอกาสในการเข้ าถึงข้ อมูลและบริการสาธารณะสาหรับประชาชน
การเอือ้ อานวยประโยชน์ ด้านเศรษฐกิจ สาหรับธุรกิจยุคใหม่
แนวโน้ มการให้ บริการจากภาครัฐที่จะเกิดขึน้ จากเทคโนโลยี 4G
การค้ นหาข้ อมูลเกี่ยวกับ 4G ให้ ทนั สมัย
สรุ ป
4
1. บทนา
 เว็บ “เท็คอินเอเชีย (TechInAsia)” เมื่อปลายเดือนธันวาคม 2556
ระบุว่าถึงปลายปี พ.ศ. 2560 จะมีเครือข่ าย 4G ทั่วโลก
ประมาณ 500 เครือข่ ายใน 128 ประเทศ
 ทัง้ นี ้ ถึงปลายปี 2556 บางประเทศในเอเชีย
อาทิ ญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ เป็ นต้ น มีระบบ 4G ที่เร็วที่สุดในโลก
ยิ่งกว่ านัน้ เกาหลีใต้ ยังประกาศว่ ากาลังพัฒนา 5G อยู่
ส่ วนหัวเว่ ยในประเทศจีนก็กาลังพัฒนาอุปกรณ์ 5G อยู่
5
บทนา (ต่ อ)
 ขอเสนอข้ อมูลเกี่ยวกับ 4G ในอาเซียน
- บรูไน ซึ่งมีพลเมืองไม่ ถงึ 5 แสนคน ก็มี 4G
ตัง้ แต่ ปลายปี พ.ศ. 2556
- เขมร ซึ่งมี 4G ใน 25 เมือง ตัง้ แต่ ปลายปี พ.ศ. 2555
- อินโดนีเซีย ซึ่งเริ่มเปิ ดบริการ 4G
ตัง้ แต่ การประชุมสุดยอดเอเปค (APEC) เมื่อตุลาคม 2556
6
บทนา (ต่ อ)
 ขอเสนอข้ อมูลเกี่ยวกับ 4G ในอาเซียน
- ลาว ซึ่งทดลองใช้ 4G ในการประชุมสุดยอดเอเชีย-ยุโรป
เมื่อต้ นเดือน พฤศจิกายน 2555 แต่ หยุดใช้ หลังการประชุม
- มาเลเซีย ซึ่งมีอินเทอร์ เน็ต 4G แล้ ว และมี 4G ให้ ใช้ ท่ วั ไป
ตัง้ แต่ กุมภาพันธ์ 2557
- พม่ า ซึ่งยังไม่ มี 4G
- ฟิ ลิปปิ นส์ ซึ่งมี 4G ตัง้ แต่ สิงหาคม 2555
7
บทนา (ต่ อ)
 ขอเสนอข้ อมูลเกี่ยวกับ 4G ในอาเซียน
- สิงคโปร์ ซึ่งเป็ นประเทศแรกในอาเซียนที่มี 4G ทัง้ ประเทศ
โดยมีตงั ้ แต่ มิถุนายน 2555
- ไทย ซึ่งบริษัท ทรู ได้ เปิ ดบริการ 4G ให้ ทดลองใช้ ใน กทม.
8
บทนา (ต่ อ)
- เวียดนาม ซึ่งยังไม่ มี 4G และต้ องรอถึง 2558 จึงจะมี
(แต่ จากเว็บ “โอเคเนชั่น (oknation)”
ซึ่งโพสเมื่อ พฤษภาคม 2554 ระบุว่า เวียดนามมี 4G
ให้ ใช้ ตงั ้ แต่ พฤษภาคม 2554)
9
บทนา (ต่ อ)
 การบรรยายนีจ้ งึ ขอเสนอเรื่อง โอกาสทางธุรกิจกับเทคโนโลยี 4G
- ด้ านเศรษฐกิจ ด้ านการศึกษา ด้ านสาธารณสุข
และ ด้ านเกษตรกรรม
- โอกาสในการเข้ าถึงข้ อมูลและบริการสาธารณะสาหรับประชาชน
- การเอือ้ อานวยประโยชน์ ทางด้ านเศรษฐกิจสาหรับธุรกิจยุคใหม่
- แนวโน้ มการให้ บริการภาครัฐที่จะเกิดขึน้ จากเทคโนโลยี 4G
10
2. ภาพรวมและประโยชน์ ท่ สี ังคม
จะได้ รับจากเทคโนโลยี 4G
 บทนีจ้ ะกล่ าวถึงภาพรวมของเทคโนโลยี 4G ในประเทศไทย
และประโยชน์ ท่ จี ะได้ รับจากเทคโนโลยี 4G
โดยมีหวั ข้ อย่ อยดังนี:้
2.1 ภาพรวมของเทคโนโลยี 4G ในประเทศไทย
2.2 ประโยชน์ ท่ สี ังคมจะได้ รับจากเทคโนโลยี 4G
11
2.1 ภาพรวมของเทคโนโลยี 4G ในประเทศไทย
 ประเทศไทยเปลี่ยนผ่ านเข้ าสู่ยุคการใช้ งาน
เครือข่ ายโทรศัพท์ เคลื่อนที่ยุคที่ 3 หรือ 3G
rd
(3 Generation Mobile Telecommunications)
 เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2555 คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง
กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่ งชาติ (กสทช.)
ได้ จัดให้ มีการประมูลความถี่ 2.1 GHz
เพื่อทาโครงข่ าย 3G ในประเทศไทย กสทช.
12
ภาพรวมของเทคโนโลยี 4G ในประเทศไทย (ต่ อ)
 ปั จจุบันโครงข่ าย 3G เปิ ดให้ บริการเต็มรูปแบบมาระยะหนึ่งแล้ ว
และหน่ วยงานด้ านโทรคมนาคมยังมีเป้าหมาย
เพื่อพัฒนาให้ เกิดเทคโนโลยี 4G ในประเทศไทย
เพื่อตอบสนองความต้ องการของผู้บริโภค
ที่ต้องการความรวดเร็วในการส่ งผ่ านข้ อมูลมากยิ่งขึน้
และเพื่อลดข้ อจากัดของระบบ 3G
ที่มีต่อความต้ องการระบบสื่อสารในอนาคต
13
ภาพรวมของเทคโนโลยี 4G ในประเทศไทย (ต่ อ)
 มาตรฐานเครือข่ ายโทรศัพท์ เคลื่อนที่ หรือ 4G
เป็ นมาตรฐานที่พัฒนาต่ อจาก 3G โดย เทคโนโลยี 4G
จะให้ ความเร็วสูงยิ่งขึน้ ในการเชื่อมต่ ออินเทอร์ เน็ต
(Mobile Ultra-Broadbrand Internet Access)
สาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ แบบพกพา
(Laptops with USB Wireless Modems)
สมาร์ ทโฟน และอุปกรณ์ เคลื่อนที่ต่างๆ (Other Mobile Devices)
สาหรับการใช้ งานแอพพลิเคชันต่ างๆ ได้ อย่ างรวดเร็ว
14
ภาพรวมของเทคโนโลยี 4G ในประเทศไทย (ต่ อ)
 เช่ น การท่ องเว็บ ไอพีโฟน เกมส์ โมบายทีวีความคมชัดสูง
วีดีโอคอนเฟอเรนซ์ ทีวีสามมิติ
การถ่ ายทอดสด แบบ Live Broadcast แบบ Realtime
บริการ Cloud Service สนับสนุนการเรียนผ่ านทาง e-Learning
การรักษาโรคทางไกล (Telemedicine)
รวมไปถึงการชมภาพยนตร์ ความละเอียดสูงบนเครื อข่ ายอินเทอร์ เน็ต
ซึ่งเหมาะสาหรับการทาธุรกิจด้ านมัลติมีเดีย
และวีดีโอออนไลน์ ในอนาคต
15
ภาพรวมของเทคโนโลยี 4G ในประเทศไทย (ต่ อ)
 ปั จจุบันเครื่องคอมพิวเตอร์ แบบพกพา สมาร์ ทโฟน
และอุปกรณ์ เครื่องที่ต่างๆ สามารถรองรับการใช้ งาน 4G ได้ แล้ ว
ทาให้ การเชื่อมต่ ออินเทอร์ เน็ตมีความเร็วในการรับ-ส่ งข้ อมูล
ที่สูงกว่ าการเชื่อมต่ อผ่ าน Wi-Fi ด้ วย
โดยจะเร็วกว่ า 3G เดิมประมาณ 5-7 เท่ า
16
ภาพรวมของเทคโนโลยี 4G ในประเทศไทย (ต่ อ)
 อย่ างไรก็ตามสิ่งที่สาคัญเหนือสิ่งอื่นใด
จากการมีโครงข่ ายดังกล่ าว
ก็คือการใช้ ประโยชน์ จากโครงข่ าย
อย่ างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทัง้ นีเ้ พื่อ
17
ภาพรวมของเทคโนโลยี 4G ในประเทศไทย (ต่ อ)
- ยกระดับมาตรฐานคุณภาพชีวิต การศึกษา การสาธารณสุข
- พัฒนาฐานะทางเศรษฐกิจของคนในสังคม
ทัง้ ภาคอุตสาหกรรม และเกษตรกรรม
- การเชื่อมโยงเครือข่ ายเข้ ากับระบบวิทยุส่ ือสาร
เพื่อรองรับสถานการณ์ ฉุกเฉินและภัยพิบัตทิ ่ สี าคัญในระดับชาติ
- ลดความเหลื่อมลา้ ทางดิจทิ ลั (Digital Divide) ของคนในสังคม
ตามเจตนารมณ์ ของการใช้ คลื่นความถี่อันเป็ นทรัพยากรของชาติ
ซึ่งระบุไว้ ในบทบัญญัตขิ องรัฐธรรมนูญ
18
2.2 ประโยชน์ ท่ สี ังคมจะได้ รับจากเทคโนโลยี 4G
 ประโยชน์ ท่ สี ังคมจะได้ รับจากเทคโนโลยี 4G
จะขอเสนอประโยชน์ ด้านเศรษฐกิจ ประโยชน์ ด้านสังคม
ประโยชน์ ด้านสาธารณสุข และ ประโยชน์ ด้านเกษตรกรรม
 โดยมีหวั ข้ อย่ อยดังนี:้
2.2.1 ประโยชน์ ด้านเศรษฐกิจ
2.2.2 ประโยชน์ ด้านการศึกษา
2.2.3 ประโยชน์ ด้านสาธารณสุข
2.2.4 ประโยชน์ ด้านเกษตรกรรม
19
2.2.1 ประโยชน์ ด้านเศรษฐกิจ
 การลงทุนเพื่อการพัฒนาโครงข่ ายโทรคมนาคม
ทัง้ 3G และ 4G สามารถกระตุ้นการเจริญเติบโต
ทางเศรษฐกิจได้ อย่ างมากทัง้ ทางตรงและทางอ้ อม
ดังต่ อไปนี ้
- รายได้ ของภาครัฐที่ได้ จากการประมูลคลื่นความถี่
20
ประโยชน์ ด้านเศรษฐกิจ (ต่ อ)
- การเพิ่มปริมาณผู้ใช้ งานอินเทอร์ เน็ตแบบไร้ สาย
- การขยายตัวของหน่ วยธุรกิจทัง้ เก่ าและใหม่
นาไปสู่อัตราการจ้ างงานที่เพิ่มขึน้
- การเพิ่มผลิตภัณฑ์ มวลรวมประชาชาติ
(Gross Domestic Product: GDP)
21
ประโยชน์ ด้านเศรษฐกิจ (ต่ อ)
 ผลกระทบทางบวกต่ อธุรกิจโทรคมนาคม
และเศรษฐกิจไทยจากการประมูลคลื่น 2100 MHz นัน้
อาจจะสรุ ป ดังแสดงในตาราง
22
ประโยชน์ ด้านเศรษฐกิจ (ต่ อ)
ผลบวกทางตรงต่ อธุรกิจโทรคมนาคมและ
เศรษฐกิจไทยจากการประมูลคลื่น
2100 MHz
 4.1 หมื่นล้ านบาท-จากการประมูล
ใบอนุญาตนาส่ งเป็ นค่ าทรั พยากรสาธารณะ
ให้ แก่ กระทรวงการคลัง
เป็ นรายได้ เข้ าประเทศ
ผลบวกทางอ้ อมต่ อธุรกิจโทรคมนาคมและ
เศรษฐกิจไทยจากการประมูลคลื่น
2100 MHz
 6-7 หมื่นล้ านบาทต่ อไป-ขนาด
การลงทุนรวมในอุปกรณ์ โครงข่ าย
เช่ น core network และสายเคเบิล
ในช่ วง 3-5 ปี แรก ภายหลังการประมูล
23
ประโยชน์ ด้านเศรษฐกิจ (ต่ อ)
ผลบวกทางตรงต่ อธุรกิจโทรคมนาคมและ ผลบวกทางอ้ อมต่ อธุรกิจโทรคมนาคมและ
เศรษฐกิจไทยจากการประมูลคลื่น 2100 MHz เศรษฐกิจไทยจากการประมูลคลื่น 2100 MHz
 3 พันล้ านบาทต่ อปี -ประมาณ
การค่ าธรรมเนียมการกากับดูแล (regulatory sees)
อย่ างต่าต่ อปี ซึ่งคิดเป็ น 5.75% ของรายรั บ
ของผู้ประกอบการบนคลื่น 2100 MHz
โดยเม็ดเงินจะนามาสนับสนุน
การพัฒนาโทรศัพท์ ชนบท
และบริหารระบบโทรคมนาคมรวมของประเทศ
 6 หมื่นล้ านบาท- มูลค่ าตลาดสมาร์ ทโฟน
ในปี 2014 ซึ่งเติบโตปี ละ 30%
จากช่ วงก่ อนการประมูล 3G ในปี 2012
ทาให้ การเข้ าถึงสมาร์ ทโฟนสูงเกือบ 40%
ในปั จจุบัน
24
ประโยชน์ ด้านเศรษฐกิจ (ต่ อ)
ผลบวกทางตรงต่ อธุรกิจโทรคมนาคมและ ผลบวกทางอ้ อมต่ อธุรกิจโทรคมนาคมและ
เศรษฐกิจไทยจากการประมูลคลื่น 2100 MHz เศรษฐกิจไทยจากการประมูลคลื่น 2100 MHz
 1.5 หมื่นล้ านบาท-มูลค่ าการใช้ งานผ่ านมือถือ
ในปี 2014 ซึ่งเติบโตเฉลี่ยปี ละ 26% จากปี ก่ อน
หน้ า จากอานิสงส์ ตลาดสมาร์ ทโฟน การใช้ งานโซ
เชียวมีเดีย และโมบายคอมเมิร์ช
 2 พันล้ านบาท- มูลค่ าตลาดของ Internet Data
Center ในปี 2014 ซึ่งเติบโตเฉลี่ย 20% จากความ
ต้ องการขององค์ กร เมื่อการส่ งผ่ านข้ อมูลทาได้ เร็ว
ขึน้ เมื่อใช้ บริการ 3G
25
ประโยชน์ ด้านเศรษฐกิจ (ต่ อ)
ผลบวกทางตรงต่ อธุรกิจโทรคมนาคมและ ผลบวกทางอ้ อมต่ อธุรกิจโทรคมนาคมและ
เศรษฐกิจไทยจากการประมูลคลื่น 2100 MHz เศรษฐกิจไทยจากการประมูลคลื่น 2100 MHz
 1 พันล้ านบาท- ประมาณการเม็ดเงินโฆษณา
ผ่ านมือถือ ดึงดูดให้ เกิดการพัฒนาแอพพลิเคชั่น
และคอนเทนต์ บนสมาร์ ทโฟนในรู ปแบบใหม่ ๆ
26
2.2.2 ประโยชน์ ด้านการศึกษา
 การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ เพื่อการศึกษา
มีความสาคัญอย่ างมากสาหรับเด็กและเยาวชน
(กลุ่มอายุ 6-24 ปี )
27
ประโยชน์ ด้านการศึกษา (ต่ อ)
 จากการสารวจ ของสานักงานสถิตแิ ห่ งชาติ
พบว่ า เด็กและเยาวชนมีการใช้ คอมพิวเตอร์ และอินเทอร์ เน็ต
เพื่อการเรียนและหาความรู้มากถึงร้ อยละ 87.5
โดยที่เด็กและเยาวชนมีการใช้ คอมพิวเตอร์ ลดลง
แต่ หนั มาให้ ความสนใจกับการใช้ อนิ เทอร์ เน็ตสูงขึน้ มาก
28
ประโยชน์ ด้านการศึกษา (ต่ อ)
 จากผลการสารวจ ของสานักงานสถิติแห่ งชาติ
ยังพบอีกว่ า คนวัยทางานและวัยสูงอายุ
ก็ให้ ความสาคัญกับการเรียนและค้ นคว้ าหาความรู้
เช่ นเดียวกับเด็กและเยาวชนที่อยู่ในวัยเรี ยน
 โดยร้ อยละ 83.1 ของวัยทางานมีการใช้ อินเทอร์ เน็ต
เพื่อการเรียนและหาความรู้
 รวมทัง้ ผู้สูงอายุกใ็ ห้ ความสนใจกับการใช้ อนิ เทอร์ เน็ต
เพื่อการเรียนและหาความรู้มากถึงร้ อยละ 72.7
29
ประโยชน์ ด้านการศึกษา (ต่ อ)
 ประโยชน์ ของเทคโนโลยี 4G
ที่มีต่อการพัฒนาการศึกษาเยาวชน
และประชาชนทั่วไป ดังต่ อไปนี ้
- การเรียนการสอนผ่ าน Video Conference
ประหยัดค่ าเดินทาง ทานอาหารนอกบ้ าน
30
ประโยชน์ ด้านการศึกษา (ต่ อ)
- การเรียนรู้ผ่านวีดีโอคลิป
- การเข้ าถึงแหล่ งความรู้อย่ างเท่ าเทียม
- การเรียนรู้ผ่านศูนย์ การเรี ยนรู้
และเว็บไซต์ ต่างๆ มากมายแล้ วแต่ ประยุกต์ ใช้
31
2.2.3 ประโยชน์ ด้านสาธารณสุข
 ระบบแพทย์ ทางไกล (Telemedicine)
เป็ นหนึ่งในการนาเทคโนโลยี
ของ 4G มาประยุกต์ ใช้ ทางการแพทย์
โดยเฉพาะอย่ างยิ่งการรักษาผู้ป่วยในพืน้ ที่ห่างไกล
โดยไม่ จาเป็ นต้ องเคลื่อนย้ ายผู้ป่วย
หรือในพืน้ ที่ท่ ยี ากต่ อการเดินทางเข้ าถึง
32
ประโยชน์ ด้านสาธารณสุข (ต่ อ)
 ด้ วยเทคโนโลยีดังกล่ าว
ผู้ป่วยสามารถรับการรักษาจากแพทย์ ท่ ปี ระจา
อยู่ในตัวเมืองใหญ่ ได้ ทนั ที
ผ่ านทางระบบวีดีโอคอนเฟอเรนซ์
โดยมีพยาบาลและแพทย์ ประจาท้ องถิ่นเป็ นผู้ประสานงาน
 ในปั จจุบันมีการประยุกต์ ใช้ งานเทคโนโลยีของโครงข่ าย 4G
ทางการแพทย์ ในหลากหลายประเทศ
เช่ น ไนโรบี เคนยา เปรู ฯลฯ
33
ประโยชน์ ด้านสาธารณสุข (ต่ อ)
 ขณะที่ในประเทศไทยเริ่มมีการใช้ โครงข่ าย 3G
ในการทางานระบบแพทย์ ทางไกล
โดยมีโครงการสาธิตที่ บริษัท กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน)
ร่ วมกับคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่ งชาติ
กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ
ONFEC บริษัท Axesstel Inc.,
และ บริษัท ควอลคอมม์ อินเตอร์ เนชั่นแนบ อินคอร์ ปอเรทเต็ด อิงค์
34
ประโยชน์ ด้านสาธารณสุข (ต่ อ)
 ทาให้ โครงการนาร่ องโดยการประยุกต์ ใช้ เทคโนโลยี 3G
ในการรักษาทางไกลเกิดขึน้ เป็ นรูปธรรม
35
ประโยชน์ ด้านสาธารณสุข (ต่ อ)
 ในการทาระบบ Telemedicine ในอนาคต
คาดว่ าการดูแลผู้ป่วยจะมีมาตรฐานที่ดีย่ งิ ขึน้
โดยที่คนไข้ ไม่ จาเป็ นต้ องนอนรอแพทย์ เป็ นเวลานานๆ อีกต่ อไป
36
ประโยชน์ ด้านสาธารณสุข (ต่ อ)
 เพียงแค่ อาศัยเทคโนโลยีท่ ลี า้ สมัย
เช่ น หุ่นยนต์ ท่ ตี ดิ ตัง้ อุปกรณ์ รับส่ งสัญญาณ 4G
ไว้ ให้ แพทย์ สามารถบังคับจากระยะไกลได้ จากทุกมุมโลก
แล้ วในห้ องผู้ป่วยมีเพียงพยาบาลที่คอยดูแล
และแจ้ งอาการต่ างๆ ไปจนถึงรับคาแนะนาจากแพทย์
ผ่ านทางหน้ าจอมอนิเตอร์ ท่ ตี ดิ ตัง้ ไว้ บนหุ่นยนต์ ตัวนัน้ ๆ
37
ประโยชน์ ด้านสาธารณสุข (ต่ อ)
 ที่สาคัญยังสามารถส่ งข้ อมูลอาการป่ วยของผู้ป่วย
ไปยังโรงพยาบาลที่ใหญ่ กว่ า และมีอุปกรณ์ พร้ อมกว่ า
เพื่อขอรับคาปรึกษาแนะนาจากแพทย์ ในโรงพยาบาลนัน้ ๆ
โดยไม่ จาเป็ นต้ องเคลื่อนย้ ายผู้ป่วยแต่ อย่ างใด
38
2.2.4 ประโยชน์ ด้านเกษตรกรรม
 การนาเทคโนโลยี 4G มาช่ วยพัฒนาด้ านเกษตรกรรมของประเทศ
เป็ นอีกมุมมองหนึ่งซึ่งยังไม่ ได้ รับความสนใจมากนัก
 ปั จจุบันแม้ จะมีการพัฒนาแอพพลิเคชั่น
ที่เป็ นประโยชน์ ด้านการเกษตรบนโทรศัพท์ และอุปกรณ์ เคลื่อนที่
ออกมาหลากหลายรูปแบบแล้ ว
แต่ จากสถิตพ
ิ บว่ ามีผ้ ูเข้ าถึงอินเทอร์ เน็ตความเร็วสูง
เป็ นกลุ่มเกษตรกรจานวนน้ อยมาก
39
ประโยชน์ ด้านเกษตรกรรม (ต่ อ)
 ตัวอย่ างแอพพลิเคชั่นด้ านการเกษตรของประเทศไทย
อาทิ
- แอพพลิเคชั่นฝนหลวง
- ฟาร์ เมอร์ อินโฟ (Farmer Info)
- ใบข้ าว
- คลอรีน
40
ประโยชน์ ด้านเกษตรกรรม (ต่ อ)
 ในต่ างประเทศ เช่ น สหรัฐอเมริกา
มีการใช้ แอพพลิเคชั่นด้ านการเกษตรเป็ นผู้ช่วย
ในการจัดการฟาร์ มเกษตรอย่ างแพร่ หลาย
โดยสามารถช่ วยลดต้ นทุนได้ อย่ างมาก
เช่ น จากเดิมเกษตรกรต้ องลงทุนซือ้ เครื่อง GPS
ที่ช่วยบริหารจัดการพืน้ ที่ฟาร์ มเกษตร
41
ประโยชน์ ด้านเกษตรกรรม (ต่ อ)
 แต่ ปัจจุบันเกษตรกรสามารถดาว์ นโหลดแอพพลิเคชั่น GPS
รวมถึงแอพพลิเคชั่นในการบริหารจัดการฟาร์ มอื่นๆ
เช่ น การควบคุมนา้ ปุ๋ย อุณหภูมิ
การสารวจราคาตลาดสินค้ าเกษตร มาใช้ ได้
อีกทัง้ ยังเป็ นการช่ วยเพิ่มผลผลิตของเกษตรกรได้ อีกทางหนึ่ง
42
ประโยชน์ ด้านเกษตรกรรม (ต่ อ)
 จึงเป็ นประเด็นที่น่าสนใจและท้ าทาย
ในการพัฒนาให้ เกษตรกรผู้เป็ นประชาชนส่ วนใหญ่ ของประเทศ
สามารถเข้ าถึงแหล่ งข้ อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อช่ วยยกระดับคุณภาพชีวิต และเศรษฐกิจของเกษตรกร
รวมถึงศักยภาพด้ านการแข่ งขันทางการเกษตรของประเทศ
43
3. โอกาสในการเข้ าถึงข้ อมูล
และบริการสาธารณะสาหรั บประชาชน
 ที่ผ่านมารัฐบาลในหลายสมัย มีนโยบายเพื่อกระจายความสามารถ
ในการเข้ าบริการอินเทอร์ เน็ตสู่ประชาชนที่อยู่ห่างไกลตัวเมือง
และด้ อยโอกาสในการเข้ าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ
ไม่ ว่าจะเป็ นการเดินสายไฟเบอร์
การติดตัง้ Wi-Fi ตามสถานที่ราชการหรือโรงเรี ยนต่ างๆ ในชนบท
44
โอกาสในการเข้ าถึงข้ อมูล
และบริการสาธารณะสาหรั บประชาชน (ต่ อ)
 อย่ างไรก็ตาม การขยายพืน้ ที่ให้ บริการเพื่อให้ เกิดความสามารถ
ในการเข้ าถึงแก่ ประชาชนในพืน้ ที่ห่างไกลนัน้ ยังมีการพัฒนาล่ าช้ าอยู่
จากหลายๆ สาเหตุ ไม่ ว่าจะเป็ นเรื่องงบประมาณ การจัดหา
การหาสถานที่ซ่ งึ เหมาะสมและพร้ อมกับการติดตัง้ ดูแลรักษา
รวมทัง้ ความพร้ อมของปะชาชนในพืน้ ที่ต่างๆ เอง
ยังเป็ นอุปสรรคมากพอสมควร
45
โอกาสในการเข้ าถึงข้ อมูล
และบริการสาธารณะสาหรั บประชาชน (ต่ อ)
 ในอนาคตที่ประเทศไทยจะมีโอกาสได้ ใช้ เทคโนโลยี 4G
การกาหนดนโยบายให้ ประชาชนได้ มีโอกาสในการเข้ าถึงข้ อมูล
และบริการสาธารณะจึงเป็ นเรื่องควรพิจารณาในอับดับต้ นๆ
46
โอกาสในการเข้ าถึงข้ อมูล
และบริการสาธารณะสาหรั บประชาชน (ต่ อ)
 กรณีศึกษาจากประเทศสวีเดน
ที่นับเป็ นประเทศแรกในโลกที่มีการเปิ ดให้ บริการโครงข่ าย 4G
ในเชิงพาณิชย์ ตงั ้ แต่ พ.ศ. 2552
 ปั จจุบันสวีเดนกลายเป็ นประเทศ
ที่มีพนื ้ ที่สัญญาณ 4G เร็วที่สุดในโลก
และที่สาคัญมีจุดเชื่อมต่ อ Wi-Fi
ถึง 1,230,834,497 จุดทั่วประเทศ
47
โอกาสในการเข้ าถึงข้ อมูล
และบริการสาธารณะสาหรั บประชาชน (ต่ อ)
 เนื่องจากรัฐบาลสวีเดนกาหนดชัดเจนว่ าภายใน ค.ศ. 2020
พลเมืองสวีเดนควรจะได้ ใช้ อนิ เทอร์ เน็ตความเร็วสูง 100 Mbps
ครอบคลุมถึง 90% ของประชากร
48
โอกาสในการเข้ าถึงข้ อมูล
และบริการสาธารณะสาหรั บประชาชน (ต่ อ)
 เพื่อให้ เป็ นไปตามนโยบายของรัฐ
บวกกับภูมิประเทศที่หลากหลายทัง้ ภูเขาสูงและลุ่มนา้
ทาให้ โอเปอเรเตอร์ สวีเดนต้ องพัฒนา 4G
ให้ ครอบคลุมทุกพืน้ ที่ และเทคโนโลยี 4G
สามารถส่ งสัญญาณบรอดแบนด์ ไร้ สายได้
โดยไม่ ต้องลากสายทองแดงเข้ าบ้ านอย่ างในอดีต
49
โอกาสในการเข้ าถึงข้ อมูล
และบริการสาธารณะสาหรั บประชาชน (ต่ อ)
 ในเรื่องค่ าใช้ จ่ายในการเข้ าถึงเทคโนโลยี 4G ของประชาชน
รัฐบาลสวีเดนก็มีการส่ งเสริมให้ เกิดการร่ วมทุน
ระหว่ าง 2 โอเปอเรเตอร์ ได้ แก่ เทเลนอร์ (Telenor) และเทเลทู (Tele2)
ร่ วมทุนกันตัง้ บริษัท Net4Mobility พร้ อมนาคลื่นความถี่
และใบอนุญาตประกอบกิจการ 4G มาแบ่ งปั นกัน
50
โอกาสในการเข้ าถึงข้ อมูล
และบริการสาธารณะสาหรั บประชาชน (ต่ อ)
 คาร์ ล เอริค ลาเกอร์ แครนซ์ ประธานบริษัท Net4Mobility
ให้ ข้อมูลว่ าต้ นทุนการสร้ างโครงข่ ายนัน้ ลดลงถึงครึ่งหนึ่ง
ทาให้ ราคาให้ บริการลดลงตามไปด้ วย
ทาให้ ผ้ ูบริโภคสวีเดนที่ต้องการใช้ 4G
จะมีค่าใช้ จ่ายสูงกว่ า 3Gราว 30% เท่ านัน้
51
โอกาสในการเข้ าถึงข้ อมูล
และบริการสาธารณะสาหรั บประชาชน (ต่ อ)
 การลงทุนในโครงข่ ายทัง้ 3G และ 4G ให้ สามารถครอบคลุม
ทุกตารางนิ่วของประเทศใช้ ปริมาณเงินลงทุนค่ อนข้ างสูง
แต่ เพื่อให้ บรรลุเป้าหมายในการพัฒนาให้ ประชาชนของประเทศ
ได้ เข้ าถึงข้ อมูลและบริการสาธารณะสาหรับประชาชน
อาจต้ องพิจารณาใช้ แนวทางการบูรณาการเทคโนโลยีทุกระดับ
52
โอกาสในการเข้ าถึงข้ อมูล
และบริการสาธารณะสาหรั บประชาชน (ต่ อ)
 กล่ าวคือ ผู้คนที่อาศัยอยู่ในเขตเมือง ซึ่งมีประชากรหนาแน่ น
มีความต้ องการใช้ งานด้ านข้ อมูลข่ าวสารในระดับสูงมาก
ซึ่งเหมาสาหรับเทคโนโลยี 4G
53
โอกาสในการเข้ าถึงข้ อมูล
และบริการสาธารณะสาหรั บประชาชน (ต่ อ)
 ในขณะเดียวกัน พืน้ ที่ชานเมืองที่ไม่ ได้ มีจานวนผู้ใช้ งานมากนัก
ก็สามารถให้ บริการแบบ 3G ได้ อย่ างครอบคลุม
ในคลื่นความถี่ท่ รี องรับ 850 MHz, 900 MHz, หรือ 2100 MHz
54
โอกาสในการเข้ าถึงข้ อมูล
และบริการสาธารณะสาหรั บประชาชน (ต่ อ)
 ในส่ วนที่เป็ นพืน้ ที่กันดารห่ างไกลจริงๆ
เทคโนโลยี 2G หรือการส่ งผ่ านข้ อมูลด้ วยเทคโนโลยี Edge
ก็สามารถให้ บริการได้
55
4. การเอือ้ อานวยประโยชน์ ด้านเศรษฐกิจ
สาหรั บธุรกิจยุคใหม่
 กสทช. ประมาณการได้ ว่าปั จจุบันประเทศไทย
มีผ้ ูใช้ บริการโทรศัพท์ เคลื่อนที่จานวนทัง้ สิน้ 93.7 ล้ านเลขหมาย
โดยเป็ นผู้ใช้ บริการโทรศัพท์ เคลื่อนที่ระบบ 2G 50.8 ล้ านเลขหมาย
และเป็ นผู้ใช้ บริการโทรศัพท์ เคลื่อนที่ระบบ 3G และ4G
อีก 42.9 ล้ านเลขหมาย เมื่อเทียบดูแล้ วเท่ ากับว่ าประชากรไทย
ทุกคนสามารถเข้ าถึงข้ อมูลได้ ไม่ ทางใดก็ทางหนึ่ง
56
การเอือ้ อานวยประโยชน์ ด้านเศรษฐกิจ
สาหรั บธุรกิจยุคใหม่ (ต่ อ)
 ด้ วยเหตุนีท้ าให้ โทรศัพท์ เคลื่อนที่และอินเทอร์ เน็ต
กลายเป็ นเครื่องมือและช่ องทางที่นักการตลาดนิยมนามาใช้
ในการโฆษณาประชาสัมพันธ์ หรือทาการตลาด
 ผู้บริโภคจะได้ รับสื่อประชาสัมพันธ์
จากการที่พกพาโทรศัพท์ เคลื่อนที่ตดิ ตัวไปด้ วย
ทุกที่ ทุกเวลาตลอด 24 ชั่วโมง
57
การเอือ้ อานวยประโยชน์ ด้านเศรษฐกิจ
สาหรั บธุรกิจยุคใหม่ (ต่ อ)
 ความรวดเร็วของเทคโนโลยีระบบ 4G (4th Generation)
ที่เป็ นระบบเครือข่ ายไร้ สายความเร็วสูงพิเศษสามารถส่ งผ่ านข้ อมูล
ทาให้ ผ้ ูบริโภคสามารถดาวน์ โหลดข้ อมูลของสื่อโฆษณา
ในรูปแบบต่ างๆได้ เช่ น QR Code, AR
ธุรกิจยุคใหม่ สามารถนาเทคโนโลยี 4G มาใช้ ประโยชน์
เพื่อเพิ่มโอกาสทางธุรกิจได้ ตามหัวข้ อที่ 4.1 – 4.8
58
การเอือ้ อานวยประโยชน์ ด้านเศรษฐกิจ
สาหรั บธุรกิจยุคใหม่ (ต่ อ)
 มีหวั ข้ อย่ อยดังนี ้
4.1 การโฆษณาและประชาสัมพันธ์ (Advertising and Public Relations)
4.2 การจัดการทาธุรกรรมออนไลน์ (Online: Banking and Shopping)
4.3 ทากิจกรรมทางการตลาดและการสร้ างความสัมพันธ์
(Marketing Activity and CRM)
4.4 การบริหารจัดการ (Management)
59
การเอือ้ อานวยประโยชน์ ด้านเศรษฐกิจ
สาหรั บธุรกิจยุคใหม่ (ต่ อ)
 มีหวั ข้ อย่ อยดังนี ้
4.5 การปรับปรุ งคุณภาพของสินค้ าและบริการ
(Improvements in products and services)
4.6 เพิ่มช่ องทางการจัดจาหน่ าย (Distribution Channels)
4.7 นาเทคโนโลยีมาช่ วยลดต้ นทุน (Direct cost reductions)
4.8 เพิ่มผลิตภาพในการผลิต (Increase Productivity)
60
4.1 การโฆษณาและประชาสัมพันธ์
(Advertising and Public Relations)
 จากคุณสมบัตแิ ละความสามารถ
ที่หลากหลายของระบบ 4G
นักการตลาดและองค์ กรธุรกิจ
สามารถทาการโฆษณาประชาสัมพันธ์
ข้ อมูลข่ าวสารที่เกี่ยวข้ องกับธุรกิจหรือผลิตภัณฑ์ ต่างๆ
ของตนเองได้ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึน้
61
การโฆษณาและประชาสัมพันธ์
(Advertising and Public Relations) (ต่ อ)
 นาเสนอข้ อมูลให้ ผ้ ูบริโภคได้ อย่ างรวดเร็ว
การอัพเดทข้ อมูลอยู่ตลอดเวลา
เช่ น ธุรกิจสามารถนา 4G มาใช้
ร่ วมกับเทคโนโลยี AR (Augmented Reality)
หรือ “การผสานระหว่ างโลกเสมือนและโลกแห่ งความเป็ นจริง”
เพื่อทาให้ การประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่ าวสารของธุรกิจ
หรือผลิตภัณฑ์ ต่างๆ มีประสิทธิภาพและน่ าสนใจมากยิ่งขึน้
62
การโฆษณาและประชาสัมพันธ์
(Advertising and Public Relations) (ต่ อ)
 หรือใช้ ร่วมกับโปรแกรมออนไลน์
ประเภท Social Media, Social Network และ Contents ต่ างๆ
ที่มีจานวนผู้ใช้ บริการสูง
63
4.2 การจัดการทาธุรกรรมออนไลน์
(Online: Banking and Shopping)




การฝากถอนโอนเงินชาระค่ าบริการต่ างๆ
การซือ้ ขายและชาระค่ าบริการของสินค้ า
การบริการเลือกภาพยนตร์ รอบเวลาฉายสารองที่น่ ัง
การสั่งขนมและเครื่องดื่ม
64
การจัดการทาธุรกรรมออนไลน์
(Online: Banking and Shopping) (ต่ อ)
 การชาระค่ าบริการหรือการสารองที่น่ ังสาหรับร้ านอาหาร
 การสั่งรายการอาหาร
 การชาระเงินผ่ านทางโทรศัพท์ มือถือแบบ Real time
โดยไม่ จาเป็ นต้ องทาธุรกรรมเหล่ านีผ้ ่ านทางพนักงาน
หรือผู้ให้ บริการของสถานที่เหล่ านัน้
65
การจัดการทาธุรกรรมออนไลน์
(Online: Banking and Shopping) (ต่ อ)
 ความปลอดภัยในการดาเนินธุรกรรม
ที่เกี่ยวข้ องกับการเงินที่มีระบบ 4G
ได้ ทาการพัฒนาโปรแกรมที่มีความปลอดภัยสูง
จึงเหมาะสาหรับทาธุรกรรมที่มีความเกี่ยวข้ องกับการเงิน
66
4.3 ทากิจกรรมทางการตลาดและการสร้ างความสัมพันธ์
(Marketing Activity and CRM)
 ด้ วยความที่ผ้ ูบริโภคส่ วนมากจะนาโทรศัพท์ เคลื่อนที่
พกติดตัวไปด้ วยเสมอนักการตลาดสามารถนาข้ อได้ เปรี ยบด้ านนี ้
มาใช้ ในการสร้ างความสัมพันธ์ กับผู้บริโภคได้ มากยิ่งขึน้
67
ทากิจกรรมทางการตลาดและการสร้ างความสัมพันธ์
(Marketing Activity and CRM) (ต่ อ)
 กลยุทธ์ เช่ น ส่ งคูปองหรือข้ อความลดราคาอาหาร
และเครื่องดื่มก่ อนเวลา 12.00น.
เพื่อให้ ลูกค้ าสามารถนาคูปองมาใช้ กับร้ านค้ า
ในช่ วงเวลาอาหารกลางวัน การบริการส่ งการ์ ด
คลิปวีดีโอ AR Market เพื่ออวยพรวันเกิด
68
ทากิจกรรมทางการตลาดและการสร้ างความสัมพันธ์
(Marketing Activity and CRM) (ต่ อ)
 การบริการตอบปั ญหาและสาธิตวิธีแก้ ปัญหา
ในกรณีท่ ลี ูกค้ าต้ องการความช่ วยเหลือเบือ้ งต้ น
ในการแก้ ไขปั ญหาที่เกิดขึน้ กับผลิตภัณฑ์
 การให้ ข้อมูลเมื่อผู้บริโภคเดินทางผ่ านร้ านค้ า
ขององค์ กรธุรกิจนัน้ ๆ เป็ นต้ น
69
ทากิจกรรมทางการตลาดและการสร้ างความสัมพันธ์
(Marketing Activity and CRM) (ต่ อ)
 สิ่งต่ างๆ เหล่ านีส้ ามารถช่ วยให้ องค์ กรธุรกิจ
และกลุ่มผู้บริโภคของตนเองมีความใกล้ ชิดกันมากยิ่งขึน้
รวมถึงสามารถเพิ่มรายได้ ให้ กับองค์ กรธุรกิจอีกทางหนึ่ง
70
4.4 การบริหารจัดการ (Management)
 การใช้ เทคโนโลยี 4G สาหรับการบริการจัดการ
ภายในองค์ กรธุรกิจของตนเอง
เช่ น การประชุมแบบวิดีโอคอนเฟอร์ เรนซ์
ที่พนักงานและองค์ การธุรกิจสามารถทาได้ ตลอดเวลา
โดยไม่ มีข้อจากัดทางด้ านสถานที่
71
การบริหารจัดการ (Management) (ต่ อ)
 การตรวจสอบข้ อมูลทางด้ านการตลาด
แนวโน้ มของยอดขาย จานวนการผลิตวัตถุดบิ และสินค้ าคงเหลือ
โดยที่พนักงานและผู้เกี่ยวข้ องสามารถทางานได้ ทุกที่
แม้ ว่าจะไม่ ได้ อยู่ในสานักงาน
72
การบริหารจัดการ (Management) (ต่ อ)
 ธุรกิจออนไลน์ สามารถตรวจสอบสถานะ
การซือ้ -ขายสินค้ า การชาระค่ าสินค้ าและบริการ
ของธุรกิจได้ ตลอดเวลา
พร้ อมทัง้ ยังสามารถรับทราบความต้ องการ-ข้ อคิดเห็น
ของลูกค้ าได้ อย่ างทันท่ วงที
73
การบริหารจัดการ (Management) (ต่ อ)
 ธุรกิจออนไลน์ สามารถตรวจสอบสถานะ
การซือ้ -ขายสินค้ า การชาระค่ าสินค้ าและบริการ
ของธุรกิจได้ ตลอดเวลา
พร้ อมทัง้ ยังสามารถรับทราบความต้ องการ-ข้ อคิดเห็น
ของลูกค้ าได้ อย่ างทันท่ วงที
 ช่ วยให้ องค์ กรธุรกิจสามารถประหยัดต้ นทุน
ทางด้ านเงินและเวลาในการบริหารดาเนินงานได้ อีกทางหนึ่ง
74
4.5 การปรั บปรุ งคุณภาพของสินค้ าและบริการ
(Improvements in products and services)
 ธุรกิจสามารถรับทราบคาสั่งซือ้
ความต้ องการจาเพาะ หรือข้ อคิดเห็นของลูกค้ าได้ ตลอดเวลา
และรวดเร็ว และสามารถนามาปรับปรุ งคุณภาพสินค้ า
และบริการเพื่อตอบสนองความต้ องการของลูกค้ าได้ ทนั ท่ วงที
75
4.6 เพิ่มช่ องทางการจัดจาหน่ าย
(Distribution Channels)
 การจาหน่ ายสินค้ าผ่ าน social network, YouTube ฯลฯ
ขยายฐานลูกค้ าไปได้ ท่ วั โลก
76
4.7 นาเทคโนโลยีมาช่ วยลดต้ นทุน
(Direct Cost Reductions)
 ลดต้ นทุนด้ านการดาเนินของธุรกิจ
เช่ น ไม่ จาเป็ นต้ องมีอาคารสานักงานขนาดใหญ่
พนักงานสามารถทางานในสถานที่ใดก็ได้
ลดการใช้ อุปกรณ์ สานักงาน การพิมพ์ การถ่ ายเอกสาร
เพราะสามารถส่ งผ่ านข้ อมูลเป็ นไฟล์ ดจิ ทิ ลั ขนาดใหญ่ ได้
77
นาเทคโนโลยีมาช่ วยลดต้ นทุน
(Direct Cost Reductions) (ต่ อ)
 ลดต้ นทุนด้ านการสื่อสารโทรคมนาคม
เช่ น การติดต่ อสื่อสารผ่ านแอพลิเคชันโดยไม่ ต้องเสียค่ าใช้ จ่าย
 ลดต้ นทุนในด้ านอุปกรณ์ เครื่องมือต่ างๆ
ธุรกิจสามารถใช้ แอพลิเคชันทดแทนได้
78
4.8 เพิ่มผลิตภาพในการผลิต
(Increase Productivity)
 การควบคุมระบบการผลิตด้ วยเทคโนโลยี 4G
79
5. แนวโน้ มการให้ บริการจากภาครั ฐ
ที่จะเกิดขึน้ จากเทคโนโลยี 4G
 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
จะเข้ ามามีบทบาทในการขับเคลื่อนเพื่อตอบโจทย์
ของยุทธศาสตร์ ประเทศใน ๔ เรื่อง ได้ แก่
- การสร้ างความเติบโตและขีดความสามารถในการแข่ งขัน
(Growth and Competitiveness)
- การพัฒนาความเติบโตให้ ท่ วั ถึงทุกภาคส่ วนและชุมชน
(Inclusivity Growth)
80
แนวโน้ มการให้ บริการจากภาครั ฐ
ที่จะเกิดขึน้ จากเทคโนโลยี 4G (ต่ อ)
- การพัฒนาความเติบโตตามแนวทางการอนุรักษ์ ส่ งิ แวดล้ อม
(Green Growth)
- การสร้ างความเติบโตตามแนวทางหลักธรรมาภิบาลที่ดี
(Good Governance Growth)
พัฒนาโครงสร้ างพืน้ ฐาน ICT
ที่เป็ นอินเทอร์ เน็ตความเร็วสูงอย่ างทั่วถึง
81
แนวโน้ มการให้ บริการจากภาครั ฐ
ที่จะเกิดขึน้ จากเทคโนโลยี 4G (ต่ อ)
 ประเด็นสาคัญที่รัฐบาลมุ่งพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสารของประเทศ ประกอบด้ วย 7 ตัวอย่ าง ดังต่ อไปนี ้
 ตัวอย่ างที่ 1 การพัฒนาโครงข่ ายสื่อสารอัจฉริยะ
(Smart Communication Network: SCN)
โดยการบูรณาการโครงข่ ายอินเทอร์ เน็ต
และโครงข่ ายระบบโทรศัพท์ เคลื่อนที่ 3G, 4G, XG เข้ าด้ วยกัน
82
แนวโน้ มการให้ บริการจากภาครั ฐ
ที่จะเกิดขึน้ จากเทคโนโลยี 4G (ต่ อ)
 ตัวอย่ างที่ 2 การใช้ ประโยชน์ จาก Cloud Computing
ซึ่งนาไปสู่การบริหารจัดการทรัพยากรและการประยุกต์ ใช้ ICT
ในยุคหน้ าอย่ างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ทัง้ ในด้ านโครงสร้ างพืน้ ฐาน ฮาร์ ดแวร์ ซอฟต์ แวร์
และระบบงานประยุกต์ ต่างๆ
83
แนวโน้ มการให้ บริการจากภาครั ฐ
ที่จะเกิดขึน้ จากเทคโนโลยี 4G (ต่ อ)
 ตัวอย่ างที่ 3 SMD : Smart Mobile Device การประยุกต์ ใช้
(Smart Mobile Device: SMD) ในแนวทางที่จะเกิดประโยชน์
ในการดารงชีวิตและการประกอบอาชีพของประชาชน
โดยให้ ความสาคัญกับประเด็นการนาเสนอสารสนเทศ
ในรูปแบบที่เหมาะสมและพอเพียงเป็ นหลัก
84
แนวโน้ มการให้ บริการจากภาครั ฐ
ที่จะเกิดขึน้ จากเทคโนโลยี 4G (ต่ อ)
 ซึ่งจะเป็ นในรูปของข้ อความ ภาพ และเสียง
เพื่อให้ สารสนเทศที่จาเป็ นเหล่ านีส้ ามารถเข้ าถึงอุปกรณ์ SMD
ของประชาชนในทุกระดับชัน้
ซึ่งแนวทางนีส้ อดคล้ องกับทิศทางการพัฒนาในยุคใหม่
ในรูปแบบที่เรียกว่ า (Bring Your Own Device: BYOD)
85
แนวโน้ มการให้ บริการจากภาครั ฐ
ที่จะเกิดขึน้ จากเทคโนโลยี 4G (ต่ อ)
 ตัวอย่ างที่ 4 GC : Global Community
การพัฒนาไปสู่ (GLOBAL Community: GC)
เป็ นการพัฒนา ICT ไปสู่ชุมชนที่มีการเชื่อมโยงกันโดยทั่วถึง
โดยประชาชนในทุกชุมชนสามารถเข้ าถึงโลกดิจทิ ลั
เพื่อใช้ ประโยชน์ ในการดารงชีวิต
และประกอบอาชีพได้ โดยถ้ วนหน้ า
86
แนวโน้ มการให้ บริการจากภาครั ฐ
ที่จะเกิดขึน้ จากเทคโนโลยี 4G (ต่ อ)
 ตัวอย่ างที่ 5 GA : Global Application
การพัฒนาระบบงานประยุกต์ ในรูปแบบ (Global Application: GA)
ซึ่งประชาชนสามารถใช้ ประโยชน์ ได้ ทุกหนทุกแห่ ง ดังต่ อไปนี ้
- Information สารสนเทศกลางที่บูรณาการกัน
- Knowledge พัฒนาไปสู่ระบบองค์ ความรู้กลางที่มีคุณค่ า
- eLearning ระบบศูนย์ กลางในการเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์
- eCommerce การค้ าขายผ่ านระบบพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์
- eServices การใช้ บริการอิเล็กทรอนิกส์
87
6. การค้ นหาข้ อมูลเกี่ยวกับ 4G ให้ ทนั สมัย
 เนื่องจากเทคโนโลยีและการประยุกต์ ใช้ อินเทอร์ เน็ต
อุปกรณ์ เคลื่อนที่ และ 4G มีการพัฒนาก้ าวหน้ าอย่ างรวดเร็วมาก
จึงขอเสนอตัวอย่ างการค้ นหาข้ อมูลให้ ทนั สมัยจากกูเกิล
 ค้ น "แนวโน้ มอินเทอร์ เน็ต 2557 (Internet Trends 2014)"
จากกูเกิล พบกว่ า 227 ล้ านรายการ
อาทิ "KPCB Internet Trends"
มี 28 บทความซึง้ มีผ้ ูเข้ าไปอ่ านแล้ วเกือบหกแสนราย เป็ นต้ น
88
การค้ นหาข้ อมูลเกี่ยวกับ 4G ให้ ทนั สมัย (ต่ อ)
 ค้ น "แนวโน้ มอุปกรณ์ โมบาย 2557
(Mobile Devices Trends 2014)"
จากกูเกิล พบกว่ า 74 ล้ านรายการ
อาทิ จะมี 4G ทุกหนทุกแห่ งให้ ดาวน์ โหลด
ได้ ด้วยความเร็ว 150 Mbps
และ อัพโหลดได้ ด้วยความเร็ว 50 Mbps
แต่ ยังไม่ มีเทคโนโลยีใหม่ ๆ เกี่ยวกับแบตเตอรี เป็ นต้ น
89
การค้ นหาข้ อมูลเกี่ยวกับ 4G ให้ ทนั สมัย (ต่ อ)
 ค้ น "แนวโน้ ม 4G 2557 (4G Trends 2014)"
จากกูเกิล พบกว่ า 6 ล้ านรายการ
อาทิ แนวโน้ มเกี่ยวกับโทรศัพท์ มือถือ 4G
(Global 4G Handset Trends Industry)"
วิเคราะห์ อุปกรณ์ 4G ทั่วโลกโดยมีตารางรายละเอียดต่ างๆ
6 ตาราง ให้ ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท 4G รวม 32 บริษัท เป็ นต้ น
90
การค้ นหาข้ อมูลเกี่ยวกับ 4G ให้ ทนั สมัย (ต่ อ)
 ค้ น "ประโยชน์ ทางธุรกิจ 4G (Business Benefits of 4G)"
จากกูเกิล พบกว่ า 52 ล้ านรายการ
 ตัวอย่ างที่ 1 คือ "อะไรที่ 4G ทาได้ แต่ 3G ทาไม่ ได้
(What 4G can do that 3G can't)“
 ตัวอย่ างที่ 2 คือ "ประโยชน์ ทางธุรกิจของ 4G
(The Business Benefits of 4G)"
91
การค้ นหาข้ อมูลเกี่ยวกับ 4G ให้ ทนั สมัย (ต่ อ)
 ตัวอย่ างที่ 3 คือ "4G : ประโยชน์ ทางธุรกิจ
(4G : The business benefits)"
 ตัวอย่ างที่ 4 คือ "ประโยชน์ ทางธุรกิจสุดยอด 4 ประการของ 4G
(Top 4 business benefits of 4G) และ
 ตัวอย่ างที่ 5 คือ "ข้ อดีและข้ อเสียของการเชื่อมต่ อ
เครือข่ าย 4G (Advantages and Disadvantages of 4G
Mobile Network Connectivity)"
92
7. สรุ ป
 ทุกประเทศทั่วโลกรวมทัง้ ประเทศไทยต่ างพากันเร่ งรัดพัฒนา
นาเทคโนโลยี 4G มาใช้ ให้ สามารถแข่ งขันกับประเทศอื่น ๆ
บทความนีเ้ สนอเรื่อง โอกาสทางธุรกิจกับเทคโนโลยี 4G
โดยเริ่มด้ วยหัวแรก คือ ภาพร่ วมและประโยชน์ ท่ สี ังคม
จะได้ รับจากเทคโนโลยี 4G ทัง้ ด้ านเศรษฐกิจ ด้ านการศึกษา
ด้ านสาธารณสุข และ ด้ านเกษตรกรรม
93
สรุ ป (ต่ อ)
 ตามด้ วยหัวข้ อที่ 2 คือ โอกาสในการเข้ าถึงข้ อมูล
และบริการสาธารณะสาหรับประชาชน
 หัวข้ อที่ 3 คือ การเอือ้ อานวยประโยชน์
ทางด้ านเศรษฐกิจสาหรับธุรกิจยุคใหม่
94
สรุ ป (ต่ อ)
 ส่ วนหัวข้ อที่ 4 คือ แนวโน้ มการให้ บริการภาครัฐที่จะเกิดขึน้
จากเทคโนโลยี 4G ทัง้ นี ้ เทคโนโลยีอินเทอร์ เน็ต
อุปกรณ์ เคลื่อนที่ และ เทคโนโลยี 4G มีการพัฒนา
อย่ างรวดเร็วมาก ทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้ องจึงควรสนใจใฝ่ หาข้ อมูล
ที่ทนั สมัยมาใช้ ให้ เป็ นประโยชน์ กับตนเอง หน่ วยงานของตน
และ ประเทศชาติ
95
96