เอื้ออำไพ สุวรรณยืน

Download Report

Transcript เอื้ออำไพ สุวรรณยืน

รักลูก Kids Learning Expo 2010
จัดโดย บริษทั นานมีบคุ๊ ส์ จากัด
“การจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนให้เอื้อกระบวนการคิดแบบวิทยาศาสตร์”
นำเสนอโดย เอื้ออำไพ สุวรรณยืน โรงเรียนอนุ บำลจันทร์เจ้ำ เขตสำทร กรุ งเทพ
วันเสาร์ท่ี 25 กรกฎาคม 2553 เวลา 9.00-9.30 น.
ณ ห้อง Meeting Room 2 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสริ กิ ติ ์ิ
Z:\2010\ 21-รักลูก Learning Expo_2010-07-24\กระบวนการคิดแบบวิทยาศาสตร์ .ppt
คาถามชวนคิด (1)
วิทยาศาสตร์คอื อะไร ?
เครื่องมือรับรู ้ เรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์คอื อะไร ?
เนื้ อหาและทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ขน้ั พื้นฐานคืออะไร?
ลาดับขัน้ การเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์คอื อะไร ?

การจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนของท่าน
เอื้อให้เกิดกระบวนการคิดแบบวิทยาศาสตร์หรือไม่ ?
กรณี ศึกษา
วิถพี ทุ ธพอเพียง วิถโี รงเรียนอนุ บาลจันทร์เจ้า
Model
“ การพัฒนาเด็กแบบองค์รวมให้เป็ นคนดี เก่ง มีสขุ สูช่ ีวติ พอเพียง ”
ยุทธศาสตร์
Buddhist Brain-based Learning (B-BL)
Buddhist Body-Mind-Wisdom Learning (B-BMW-L)
การจัดการเรียนการสอนที่วทิ ยาศาสตร์เป็ นแกน
งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ในโครงการอนุ รกั ษ์พนั ธุกรรม
พืชอันเนื่ องมาจากพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี
วิทย์ปฐมวัย
เด็กปฐมวัยช่างสงสัยใคร่รูส้ ง่ิ ต่างๆ
ที่อยู่รอบตัว จึงมีธรรมชาติการเรียนรู ้
เสมือนเป็ นนักวิทยาศาสตร์ตวั น้อย
วิทยาศาสตร์ปฐมวัยจึงเป็ นกลยุทธ์สาคัญ
ที่จะใช้พฒั นาศักยภาพของเด็กปฐมวัย
จากแนวทางการจัดการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์
ปฐมวัย ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
2546 ของสถาบันส่งเสริมการสอน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
ส่วนประกอบสาคัญ 3 ส่วน
ในการจัดกระบวนการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย
เนื้ อหา
(Content)
วิธีสอน
(Pedagogy)
การสอน
วิทยาศาสตร์
ปฐมวัย
บริบท
(Context)
กรอบแนวคิดในการออกแบบการเรียนรู ้
เป้ าหมายการสอน
เด็กปฐมวัยสามารถเริ่มเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ได้จากการทดลองที่ใกล้ตวั ง่าย
น่ าตื่นเต้น ชวนให้สนุ ก กระตุน้ ให้เกิดความอยากรูอ้ ยากเห็น ท้าทายให้หาคาตอบ
ทาให้เป็ นคนที่รูจ้ กั คิด มีเหตุผล และเป็ นคนที่มีเจตคติท่ดี ีทางวิทยาศาสตร์
การทดลองวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัยจึงมุ่งจุดประกายความคิดและ
ความสนใจวิทยาศาสตร์ให้กบั เด็กเพือ่ สร้างเด็กให้รกั วิทยาศาสตร์
จิตวิทยาศาสตร์
เป็ นคุณลักษณะหรือลักษณะนิ สยั ของบุคคล ที่เกิดขึ้นจากการศึกษา
หาความรูโ้ ดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ ความสนใจใฝ่ รู ้
ความมุ่งมัน่ อดทน รอบคอบ ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์ ประหยัด
การยอมรับฟังความคิดเห็นของผูอ้ น่ื ความมีเหตุผล การทางานร่วมกับ
ผูอ้ น่ื ได้อย่างสร้างสรรค์
วิธีสอน
ใช้ประสาทสัมผัสทัง้ 6 ตา หู จมูก ลิ้น ผิวสัมผัส และจิต
ฝึ กทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขน้ั พื้นฐาน 8 ทักษะ
1. ทักษะการสังเกต
2. ทักษะการลงความคิดเห็นจากข้อมูล
3. ทักษะการจาแนกประเภท
4. ทักษะการพยากรณ์
5. ทักษะการวัด
6. ทักษะการคานวณ
7. ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา และ
8. ทักษะการจัดกระทาและสือ่ ความหมายข้อมูล
วิธีสอน (ต่อ)
ใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรูท้ างวิทยาศาสตร์ 5 ขัน้ ตอน คือ
1. ขัน้ สร้างความสนใจ
2. ขัน้ สารวจและทดลอง
3. ขัน้ อธิบายและลงข้อสรุป
4. ขัน้ ขยายความรู ้
5. ขัน้ ประเมินผล
กระบวนการการจัดการเรียนการสอน
เป็ นการสอนวิทยาศาสตร์ท่เี น้นพัฒนาการของเด็กอย่างเป็ น
องค์รวม ประกอบด้วยการทดลองวิทยาศาสตร์ท่อี ยู่ใกล้ตวั ด้วยการลงมือ
ปฏิบตั โิ ดยใช้อายตนะทัง้ 6 และบูรณาการ 5 สมังคีบูรณภาพแห่งชีวติ
(ความสง่าแห่งกาย ความงามแห่งจิตและจริยะ ความรูแ้ จ้งในชีวติ และ
วิทยาการ) เน้นทักษะกระบวนทางวิทยาศาสตร์ขน้ั พื้นฐาน เช่น การ
สังเกต การเปรียบเทียบ การจาแนกแยกแยะ การจัดหมวดหมู่ การ
บันทึกข้อมูล การสรุปข้อมูล และการนาเสนอข้อมูล
ลาดับขัน้ ตอนการจัดการเรียนการสอน
1. ขัน้ สร้างความสนใจ (Engage)
แนะนาทาความรูจ้ กั วัสดุ อุปกรณ์ ของการทดลองเรื่องนั้นๆ
(รูปลักษณ์ คุณสมบัติ พฤติกรรม ศักยภาพในการใช้งาน ชื่อเรียก)

กระตุน้ ด้วยคาถามให้เด็กคาดเดาว่าจะเกิดอะไรขึ้นถ้าทาเช่นนั้น ?

2. ขัน้ สารวจและทดลอง (Explore or experiment)
ทดลองแต่ละขัน้ ตอนภายใต้การควบคุมของครู โดยครูกระตุน้ ด้วยคาถาม
เพื่อเด็กพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขน้ั พื้นฐาน 8 ทักษะ
1. ทักษะการสังเกต
2. ทักษะการลงความคิดเห็นจากข้อมูล
3. ทักษะการจาแนกประเภท
4. ทักษะการพยากรณ์
5. ทักษะการวัด
6. ทักษะการคานวณ
7. ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา
8. ทักษะการจัดกระทาและสือ่ ความหมายข้อมูล
ผลจากการที่เด็กได้ทดลองทาให้เด็กค้นพบข้อเท็จจริงด้วยตนเอง

นักเรียนตรวจสอบว่าผลการทดลองเป็ นไปตามที่คาดเดาไว้หรือไม่

3. ขัน้ อธิบายและลงข้อสรุป (Explain)
ครูอธิบายอย่างเหมาะสมกับวัย จากนั้นครูและด็กร่วมกันลงข้อสรุป
ให้ได้ขอ้ เท็จจริงทางวิทยาศาสตร์

4. ขัน้ ขยายความรู ้ (Extend)
ครูช้ ีให้เห็นถึงการนาความรูน้ ้ ี ไปใช้ในชีวิตจริง
ครูช้ ีแนะจิตสานึ กการอนุ รกั ษ์ทรัพยากรและสิง่ แวดล้อมบนฐานความพอเพียง

5. ขัน้ ประเมินผล (Evaluate)
เด็กบอกได้ถงึ สิง่ ที่ได้รบั รู ้ / เรียนรูจ้ ากการทดลอง
ตัวอย่างกิจกรรมการเรียนการสอนวิทย์ปฐมวัย
เรื่อง
การทดลอง
แม่เหล็ก
- รูปร่างของแม่เหล็ก
- แรงดูด / แรงผลักของแม่เหล็ก
- การเล่น “จับไม่ได้ ไล่ไม่ทนั ”
ตัวอย่างการทดลองวิทยาศาสตร์
ครัง้ ที่ 12 สาระการเรียนรูเ้ รื่องแม่เหล็ก
การทดลองเรื่องที่ 24 รูปร่างของแม่เหล็ก/ แรงของแม่เหล็ก/ การเล่น “จับไม่ได้ ไล่ไม่ทนั ”
ภาพวัสดุและอุปกรณ์ท่ใี ช้ในการทดลอง
แม่เหล็กรูปร่างต่างๆ
การเล่น “จับไม่ได้ ไล่ไม่ทนั ”
หลักการ : แม่เหล็กขัว้ เหมือนกันจะผลักกัน
ขัว้ ต่างกันจะดูดกัน
ภาพพฤติกรรมการเรียนการสอน
กิจกรรมเรื่อง “รูปร่างแม่เหล็ก”
ครูแนะนาแม่รูปทรงเหล็กต่างๆ ซึ่งใช้ในการทดลองเรื่อง “รูปร่างของแม่เหล็ก”
นักเรียนปฏิบตั กิ ารทดลอง เรื่อง “รูปร่างของแม่เหล็ก” โดยการสังเกตและสัมผัส
ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลงและทาท่าทางประกอบ “จับไวๆ”
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปหลังการทดลองเรื่อง “รูปร่างของแม่เหล็ก”
กิจกรรมเรื่อง “แรงดูด/แรงผลักของแม่เหล็ก”
ครูแนะนาวัสดุอปุ กรณ์ในการทดลองเรื่อง “แรงของแม่เหล็ก”
นักเรียนปฏิบตั กิ ารทดลองเรื่อง “แรงดูด/แรงผลักของแม่เหล็ก”โดยการสังเกต สัมผัส และทดลอง
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปหลังการทดลอง เรื่อง “แรงดูด/แรงผลักของแม่เหล็ก”
โดยครูนาหนังสือ “แม่เหล็กคืออะไร?” มาเล่าให้นักเรียนฟัง
ครูแนะนาวัสดุอปุ กรณ์พร้อมกับสาธิตการทางานศิลปะ เรื่อง “ผีเสื้อโบยบิน”
นักเรียนปฏิบตั กิ ารทางานศิลปะ เรื่อง “ผีเสื้อโบยบิน”
นักเรียนนาเสนอผลงานของตนเองอย่างภาคภูมิใจ
กิจกรรมเรื่อง “จับไม่ได้ไล่ไม่ทนั ”
ครูแนะนาวัสดุอปุ กรณ์ในการทดลองเรื่อง “จับไม่ได้ ไล่ไม่ทนั ”
ครูสาธิตการทดลอง เรื่อง “จับไม่ได้ ไล่ไม่ทนั ” โดยการเล่านิ ทานประกอบตุก๊ ตาแม่เหล็ก
นักเรียนปฏิบตั กิ ารทดลองเรื่อง “จับไม่ได้ ไล่ไม่ทนั ” โดยการสังเกต สัมผัส และทดลอง
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปหลังการทดลอง “จับไม่ได้ ไล่ไม่ทนั ”
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปการทดลองเกี่ยวกับ “แม่เหล็ก” ที่ได้ทดลองในวันนี้
คาถามชวนคิด (3)
กลับไปพัฒนาโรงเรียนอย่างไร ?