ถูกต้องค่ะ

Download Report

Transcript ถูกต้องค่ะ

เสนอ
อาจารย์ฐิตาพร ดวงเกตุ
next
ทักษะการใช้ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส
และสเปสกับเวลา
next
2.1 ทักษะการตั้งสมมุติฐาน
2.2 ทักษะกาหนดนิยามเชิงปฏิบตั ิการ
2.3 ทักษะการกาหนดและควบคุมตัวแปร
2.4 ทักษะการทดลอง
2.5 ทักษะการตีความและลงข้อสรุป
ต่อไป








1. ทักษะการสังเกต หมายถึง การใช้ ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง
รวมกัน ได้ แก่ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวกาย เข้ าไปสัมผัสโดยตรงกับวัตถุหรือเหตุการณ์ โดยมี
จุดประสงค์ท่จี ะหาข้ อมูลซึ่งเป็ นรายละเอียดของสิ่งนั้น ๆ โดยไม่ใส่ความคิดเห็นของผู้สงั เกต
ลงไป การสังเกตเป็ นกระบวนการหลักที่จะนาไปสู่การค้ นพบทางวิทยาศาสตร์
ข้ อมูลที่ได้ จากการสังเกตมี 3 ประเภท คือ
1) ข้ อมูลเชิงคุณภาพ เป็ นข้ อมูลเกี่ยวกับลักษณะและคุณสมบัติประจาตัว
ของสิ่งของที่สงั เกตรูปร่าง กลิ่น รส เสียง และความรู้สกึ จากการสัมผัส
2) ข้ อมูลเชิงปริมาณ เป็ นข้ อมูลที่บอกรายละเอียดเกี่ยวกับปริมาณ
3) ข้ อมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง เป็ นข้ อมูลที่ได้ จากการสังเกต
ปฏิสมั พันธ์ของสิ่งนั้นกับสิ่งอื่น นอกจากนี้การได้ ข้อมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงบางอย่าง
สามารถกระทาได้ ด้วยการทดลอง โดยเก็บข้ อมูลระยะก่อนและหลังการทดลอง หรือขณะทา
การทดลอง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ เสนอข้ อควรระวังในการ
สังเกตไว้ ดังนี้
1) ควรจดบันทึกไว้ ทุกครั้ง
2) ควรแยกเป็ นข้ อสั้น ๆ เพื่อตรวจสอบง่าย
3) อย่าใส่ความรู้เดิม หรือการคาดคะเนลงไปด้ วย ต้ องเป็ นการ
สังเกตที่ตรงไปตรงมา

2. ทักษะการวัด หมายถึง การเลือกและการใช้ เครื่องมือทาการวัดปริมาณ
สิ่งของต่าง ๆ ออกเป็ นตัวเลขที่แน่นอนได้ อย่างเหมาะสมและถูกต้ อง โดยมี
หน่วยกากับเสมอ และจะต้ องมีจุดมุ่งหมายในการวัดว่า จะวัดอะไร วัดทาไม จะ
ใช้ อะไรวัด และวัดอย่างไร
3. ทักษะการใช้ตวั เลข (การคานวณ) หมายถึง การนาเอาตัวเลขที่ได้ จากการวัด
การสังเกต
 การทดลอง และจากแหล่งอื่น ๆ มาจัดกระทาให้ เกิดค่าใหม่ เช่ น การบวก การ
ลบ การคูณ การหาร การหาค่าเฉลี่ย การยกกาลัง เป็ นต้ น เพื่อให้ ได้ ข้อมูลที่มี
ความหมายซึ่งจะนาไปใช้ ประโยชน์ในการตีความหมายและลงข้ อสรุปต่อไป ตัว
เลขที่นามาคานวณโดยทั่วไปเป็ นตัวเลขที่ได้ จากการใช้ เครื่องมือต่าง ๆ วัดหา
ค่าปริมาณของสิ่งหนึ่ง เช่น ความยาว นา้ หนัก ปริมาตร อุณหภูมิ หรือเวลา
4. ทักษะการจาแนกประเภท หมายถึง การจาแนกหรือจัดจาพวกวัตถุหรือ
เหตุการณ์ออกเป็ นประเภทต่าง ๆ โดยมีเกณฑ์ในการจาแนกหรือจัดจาพวก
เกณฑ์ท่ใี ช้ อาจพิจารณาจากลักษณะที่เหมือนกัน แตกต่างกัน หรือสัมพันธ์กนั
อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ การกาหนดเกณฑ์อาจทาได้ โดยการกาหนดขึ้นเองหรือมี
ผู้อ่นื กาหนดให้ การจาแนกประเภทอาจทาได้ หลายรูปแบบ ทั้งนี้ข้ นึ อยู่กบั เกณฑ์
ที่กาหนด เช่น
การแบ่งประเภทสิ่งของ เกณฑ์ท่ใี ช้ มักเป็ น สี ขนาด รูปร่าง ลักษณะผิว วัสดุท่ใี ช้
ทา ราคาหรือการนาไปใช้ ส่วนพวกสิ่งที่มีชีวิตมักจะใช้ เกณฑ์ลักษณะของเซลล์
โครงสร้ างและรูปร่าง อาหาร ลักษณะที่อยู่อาศัย การสืบพันธุ์ ประโยชน์ เป็ นต้ น



5. ทักษะการใช้ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา สเปส หมายถึง ที่ว่างหรือ
อวกาศ สเปสของวัตถุ หมายถึง ทางที่วัตถุน้ันครองที่หรือกินอยู่ และมีรปู ร่างลักษณะเช่นเดียวกับ
วัตถุน้ัน โดยทั่วไปแล้ วสเปสของวัตถุจะมี 3 มิติ คือ ความกว้ าง ความยาว และ
ความสูง (หรือความหนา) ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสของวัตถุ ได้ แก่ ความสัมพันธ์
ระหว่างมิติ 3 มิติ กับ 2 มิติ ความสัมพันธ์ระหว่างตาแหน่งที่อยู่ของวัตถุหนึ่งกับอีกวัตถุหนึ่ง
ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสของวัตถุกบั เวลา ได้ แก่ ความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงตาแหน่งที่
อยู่ของวัตถุกบั เวลาหรือความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนขนาดหรือปริมาณของวัตถุกบั เวลา
อาจกล่าวโดยภาพรวมได้ ว่า การใช้ ความสัมพันธ์เกี่ยวกับสเปส หมายถึง ความสามารถในการระบุ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งต่อไปนี้ คือ





1. ความสัมพันธ์ระหว่าง 2 มิติ กับ 3 มิติ
2. สิ่งที่อยู่หน้ ากระจกเงากับภาพที่ปรากฏในกระจกเงาว่าจะเป็ นซ้ ายขวา
ของกันและกันอย่างไร
3. ตาแหน่งที่อยู่ของวัตถุหนึ่งกับอีกวัตถุหนึ่ง
4. การเปลี่ยนแปลงตาแหน่งที่อยู่ของวัตถุกบั เวลาหรือสเปสของวัตถุท่เี ปลี่ยนไปกับเวลา





6. ทักษะการสือ่ ความหมายของข้อมูล การสื่อความหมาย หมายถึง การนา
ข้ อมูลที่ได้ จากการสังเกต การวัด การทดลอง และจากแหล่งอื่น ๆ มาจัดกระทา
เสียใหม่ โดยอาศัยวิธกี ารต่าง ๆ เช่น การจัดลาดับ การจัดหมู่ หรือการ
คานวณหาค่าใหม่ ทั้งนี้เพื่อให้ ง่ายต่อการนาไปใช้ และหรือให้ ผ้ ูอ่นื เข้ าใจ
ความหมายของข้ อมูลนั้น ๆ ดีข้ นึ การสื่อความหมายข้ อมูล สามารถนาข้ อมูลที่
ได้ จัดกระทาแล้ วมาเสนอและแสดงให้ ผ้ ูอ่นื เข้ าใจความหมายของข้ อมูลชุดนั้นได้
ดีข้ นึ โดยการนาเสนอได้ หลายรูปแบบ คือ
1) โดยการพูดปากเปล่าหรือเล่าให้ ฟัง
2) โดยการเขียนเป็ นรายงาน
3) โดยเขียนเป็ นตาราง แผนภูมิ แผ่นภาพ แผนผัง วงจร กราฟ แผนสถิติ
สมการ หรือการใช้ สญ
ั ลักษณ์
4) โดยวิธผี สมผสานหลายวิธตี ามความเหมาะสม
7. ทักษะการลงความคิดเห็น หมายถึง การนาข้ อมูลที่ได้ จาก
การสังเกตวัตถุหรือปรากฏการณ์ไปสัมพันธ์กบั ความรู้หรือ
ประสบการณ์เดิมเพื่อลงข้ อสรุปหรืออธิบายปรากฏการณ์หรือ
วัตถุน้นั
8. ทักษะการพยากรณ์ หมายถึง การทานายหรือการคาดคะเนสิ่งที่จะเกิดขึ้น
ล่วงหน้ า โดยอาศัยข้ อมูลที่ได้ จากการสังเกตหรือปรากฏการณ์ท่เี กิดขึ้นซา้ ๆ
ความรู้ท่เี ป็ นความจริง หลักการ กฎหรือทฤษฎีท่มี ีอยู่แล้ วในเรื่องนั้น ๆ มาช่วย
ทานายหรือคาดคะเน การพยากรณ์อาจทาได้ 2 แบบ คือ การพยากรณ์ใน
ขอบเขตของข้ อมูล และการพยากรณ์ภายนอกขอบเขตของข้ อมูล
9. ทักษะการตั้งสมมติฐาน หมายถึง การคิดหาคาตอบล่วงหน้ าก่อนที่จะทาการ
ทดลอง โดยอาศัยการสังเกต ความรู้ ประสบการณ์เดิมเป็ นพื้นฐาน คาตอบที่
คิดล่วงหน้ านี้ยังไม่ทราบหรือเป็ นหลักการ กฎ หรือทฤษฎีมาก่อน สมมติฐาน
หรือคาตอบที่คิดไว้ ล่วงหน้ ามักเป็ นข้ อความที่บอกความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
ต้ นกับตัวแปรตาม ซึ่งอาจผิดหรือถูกก็ได้

10. ทักษะการกาหนดนิยามเชิงปฏิบตั ิการ หมายถึง การกาหนด
ความหมายและขอบเขตของคาต่าง ๆ ในสมมติฐานที่ต้องการทดลองให้ เข้ าใจ
ตรงกัน และสามารถสังเกตหรือวัดได้ ความสามารถที่แสดงว่าเกิดทักษะแล้ ว
คือ สามารถกาหนดความหมายและขอบเขตของคาหรือ ตัวแปรต่าง ๆ ให้
สังเกตและวัดได้






11. ทักษะการกาหนดและควบคุมตัวแปร หมายถึง การชี้บ่งตัวแปรต้ น ตัว
แปรตาม และ
ตัวแปรที่ต้องควบคุมในสมมติฐานหนึ่ง ๆ
ตัวแปรต้ น คือ สิ่งที่เป็ นสาเหตุท่ที าให้ เกิดผลต่าง ๆ หรือสิ่งที่เราต้ องการ
ทดลองดูว่าเป็ นสาเหตุท่กี ่อให้ เกิดผลเช่นนั้นจริงหรือไม่
ตัวแปรตาม คือ สิ่งที่เป็ นผลเนื่องมาจากตัวแปรต้ น เมื่อตัวแปรต้ นหรือสิ่งที่เป็ น
สาเหตุเปลี่ยนไป ตัวแปรตามหรือสิ่งที่เป็ นผลจะเปลี่ยนตามไปด้ วย
ตัวแปรที่ต้องควบคุม คือ สิ่งอื่น ๆ นอกเหนือจากตัวแปรต้ นที่มีผลต่อการ
ทดลองด้ วย ซึ่งจะต้ องควบคุมให้ เหมือน ๆ กัน มิเช่นนั้นอาจทาให้ ผลการ
ทดลองคลาดเคลื่อน
ความสามารถที่แสดงว่าเกิดทักษะแล้ ว คือ ชี้บ่งและกาหนดตัวแปรต้ น ตัวแปร
ตาม และตัวแปรที่ต้องควบคุมได้
การบันทึกผลการทดลอง
แบบทดสอบ
1.ข้อใดกล่าวถูกต้องเกีย่ วกับ “ การสังเกต การตั้งปั ญหา การ
ตั้งสมมติฐาน การทดลอง และการสรุปผล”
ก. ความรูท้ ีแ่ สดงหรือพิสูจน์ได้ว่า
ถูกต้องเป็ นความจริง
ข. ความรูท้ ีไ่ ด้จากการสังเกตและ
ค้นคว้าจนได้เป็ นหลักฐานและเหตุผล
ค. ความรูท้ ีไ่ ด้จากการศึกษา
ปรากฏการณ์ธรรมชาติ ซึ่งพิสูจน์ได้ว่า
ถูกต้องแล้วจัดเข้าเป็ นระเบียบ และ
หมวดหมู่
ง. ถูกทุกข้อ
ถูกตองค
ะ
้
่
ผิดคะ่
=[]=
2. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกีย่ วกับ “ การสังเกต การตั้งปั ญหา การ
ตั้งสมมติฐาน การทดลอง และการสรุปผล”
ก.วิธีการทางวิทยาศาสตร์
ข. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ค. เจตคติทางวิทยาศาสตร์
ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก
ถูกตองค
ะ
้
่
^-^
ผิดคะ่
={}=
3.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้ นั ตอนใดที่จะนาไปสู่การสรุปผลและการศึกษา
ต่อไป
ก. การรวบรวมข้อมูล
ข. การตั้งสมมติฐานและการ
ออกแบบการทดลอง
ค. การสังเกต
ง. การหาความสัมพันธ์ของ
ข้อเท็จจริง
ถูกตองค
ะ
้
่
-0-
ผิดคะ่
-0-
4. ข้อใดไม่ใช่ประสาทสัมผัสทั้ง 5
ก. หู จมูก
ข. ผิวกาย ตา
ค. ปาก ตา
ง.หู ลิ้น
ถูกต้ องค่ะ
><
ผิดค่ะ
-0-
5. การสังเกตของนักวิทยาศาสตร์ทาให้เกิดสิง่ ใดเป็ นอันดับแรก
ก. สมมติฐาน
ค. ปั ญหา
ข. การทดลอง
ง. กฎ
ถูกต้ องค่ะ
*-*
ผิดค่ะ
={}=



ความหมายของสสารและสาร
สสาร ( matter ) คือสิ่ งทีม่ มี วล ตองการที
อ
่ ยู่
้
และ
สามารถสั มผัสได้ หรืออาจหมายถึงสิ่ งตางๆที
อ
่ ยู่
่
รอบตัวเรา มีตวั ตน ตองการที
อ
่ ยู่ สั มผัสได้ อาจ
้
มองเห็ นหรือมองไมเห็
่ นก็ได้ เช่น อากาศ หิน เป็ น
ตน
้ นักวิทยาศาสตรเรี
ู้ กวา่ สาร
์ ยกสสารทีร่ จั
สาร ( substance ) คือสสารทีศ่ ึ กษาค้นควาจนทราบ
้
สมบัตแ
ิ ละองคประกอบที
แ
่ น่นอน
์
next









สารเนื้ อเดียว
สารเนื้ อเดียว ( Homogeneous Substance ) หมายถึง สารที่มีลักษณะของเนื้อสารผสมกลมกลืน
กันเป็ นเนื้อเดียว และมีอตั ราส่วนของผสมเท่ากัน ถ้ านาส่วนใดส่วนหนึ่งของสารเนื้อเดียวไปทดสอบจะมีสมบัติเหมือนกัน
ทุกประการ เช่น นา้ กลั่นและเกลือแกง เป็ นสารเนื้อเดียว เมื่อนาเกลือแกงใส่ในนา้ แล้ วคนให้ ละลายจะได้ สารละลาย
นา้ เกลือ ซึ่งเป็ นสารเนื้อเดียวที่มีอตั ราส่วนของนา้ และเกลือแกงเหมือนกันทุกส่วน
สารเนื้ อเดียวมีได้ท้ งั 3 สถานะ คือ
1.สารเนื้ อเดียวสถานะ
ของแข็ง เช่น เหล็ก ทองคา ทองแดง สังกะสี อะลูมิเนียม นาก ฟิ วส์ ทองเหลือง หินปูน เกลือแกง นา้ ตาล
ทราย เป็ นต้ น
2.สารเนื้ อเดียวสถานะของเหลว เช่น นา้ กลั่น นา้ เกลือ นา้ ส้ มสายชู นา้ อัดลม นา้ มันพืช เอ
ทานอล นา้ เชื่อม นา้ นม เป็ นต้ น
3.สารเนื้ อเดียวสถานะแก๊ส เช่น อากาศ แก๊สหุงต้ ม แก๊สออกซิเจน แก๊สไนโตรเจน แก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ เป็ นต้ น
นักวิทยาศาสตร์จาแนกสารเนื้ อเดียวออกเป็ น 2 ประเภท คือ
1.สารบริสุทธิ์ ( Pure Substance ) เป็ นสารเนื้อเดียวที่ประกอบด้ วยสารเพียงอย่างเดียว ไม่มีสารอื่น
เจือปน ได้ แก่ ธาตุและสารประกอบ
2.สารไม่บริสุทธิิ ิ์ เป็ นสารเนื้อเดียวที่ประกอบด้ วยสารบริสทุ ธิ์ต้งั แต่ 2 ชนิดขึ้นไปด้ วยอัตราส่วนที่ไม่แน่นอน
ไม่มีปฏิกริ ิยาเคมีเกิดขึ้น สารที่เกิดใหม่จะมีสมบัติไม่คงที่ข้ นึ อยู่กบั ปริมาณของสารบริสทุ ธิ์ท่นี ามาผสม
กัน ได้ แก่ สารละลาย คอลลอยด์
next





สารเนื้ อผสม ( Heterogeneous Substance ) หมายถึง สารที่มี
ลักษณะของเนื้อสารคละกัน ไม่ผสมกลมกลืนเป็ นเนื้อเดียวกัน สารที่เป็ นส่วนผสมแต่
ละชนิดก็ยังคงแสดงสมบัตขิ องสารเดิม เพราะเป็ นการรวมกันทางกายภาพไม่มีการ
เปลี่ยนแปลงทางเคมีเกิดขึ้น เราสามารถใช้ ตาเปล่าสังเกตและจาแนกได้ ว่าสารเนื้อ
ผสมนั้นประกอบด้ วยสารใดบ้ าง และสามารถแยกสารเหล่านั้นออกจากกันได้ โดยวิธี
ทางกายภาพธรรมดา ไม่ทาให้ สมบัตเิ ดิมเปลี่ยนแปลงไป
สารเนื้ อผสมมีได้ท้ งั 3 สถานะ เช่น
1. สารเนื้อผสมสถานะของแข็ง เช่น ทราย คอนกรีต ดิน เป็ นต้ น
2. สารเนื้อผสมสถานะของเหลว เช่น นา้ คลอง นา้ โคลน นา้ จิ้มไก่ เป็ น
ต้ น
3. สารเนื้อผสมสถานะแก๊ส เช่น ฝุ่ นละอองในอากาศ เขม่า ควันดาใน
อากาศ เป็ นต้ น
ข้ อสอบ
1. ข้อใดคือ สารประกอบ
1.Ca
3.C
2.H2O
4.H
ถูกต้ องค่ะ
*--*
ผิดค่ะ
=0=
1.นา้
3.
คาร์บอนไดอ
อกไซด์
2.ออกซิเจน
4.ไนโตรเจน
ถูกต้ องค่ะ
^^
ผิดค่ะ
-0-
3. น้ าอัดลมเกิดจากน้ าตาล 100 cm3 , คาร์บอนไดออกไซด์ 120 cm3
กับน้ า 500 cm3 และสารที่ทาให้เกิดสีและกลิน่ อีก 80 cm3 น้ ามีความ
เข้มข้นกีเ่ ปอร์เซ็นต์ โดยปริมาตรต่อปริมาตร
1. 1.10
2. 2.30
3. 3.50
4. 4.70
ถูกต้ องค่ะ
ผิดค่ะ
4.ปรีชานาสารชนิดหนึง่ มาทดสอบหาค่าความเป็ นกรดเบส-ด้วยอินดิเคเตอร์
ปรากฏว่า สีของกระดาษ pH ไม่เปลีย่ นสี แสดงว่าสารละลาย ดังกล่าวมี
สมบัติเป็ นอย่างไร
1.กรด
3.กลาง
2.เบส
4.บอกไม่ได้
5.การแยกสารทาได้โดยวิธีใดบ้าง
1.การกรอง
2.การกลั่น
3.การระเหย
4.ทุกข้ อที่กล่าวมา
ถัดไป
ผิดค่ะ
ถัดไป


กรด
กรด (acid) หมายถึง สารที่มีรสเปรี้ยว ซึ่งสามารถทาปฏิกริ ิยากับโลหะและคาร์บอเนต แล้ วสามารถเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีนา้ เงิน
ให้ เป็ นสีแดงได้ กรด แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ กรดอินทรีย์ และกรดอนินทรีย์ ส่วนชื่อเรียกของกรดนั้นจะมี 2 ชื่อ คือ กรดไฮโดร (Hydro)
กับกรดออกซี่ (Oxy)






สมบัติโดยทัว่ ไปของสารละลายกรด
1. มีรสเปรี้ยว โดยเปลี่ยนกระดาษลิตมัสจากสีนา้ เงินเป็ นสีแดง
2. เป็ นสารละลายอิเล็กโตรไลท์ (Electrolyte) คือ นาไฟฟ้ าได้
3. มีค่า pH (Power Of Hydrogen Ion) น้ อยกว่า 7
4. ทาปฏิกริ ิยากับโลหะบางชนิดได้ ผลิตภัณฑ์เป็ นก๊าซไฮโดรเจน


5. ทาปฏิกริ ิยากับโลหะออกไซด์ ได้ ผลิตภัณฑ์เป็ นเกลือกับนา้


6. ทาปฏิกริ ิยากับสารประกอบคาร์บอเนตได้ ผลิตภัณฑ์เป็ นเกลือ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และนา้


7. ทาปฏิกริ ิยากับเบสได้ ผลิตภัณฑ์เป็ นเกลือ และนา้


8. กัดกร่อนโลหะ พลาสติก และสารอินทรีย์ทุกชนิด
ถัดไป










คู่กรด – เบส
จากปฏิกริ ิยาของกรด - เบสที่กล่าวมาข้ างต้ น ตามทฤษฎีของเบรินสเตต - ลาวรี จะเห็นได้ ว่าใน
ปฏิกริ ิยาหนึ่งๆ อาจจัดคู่กรด – เบสได้ ท้งั หมด 2 คู่ด้วยกัน เช่น
ปฏิกริ ิยาดังตัวอย่างนี้ ปฏิกริ ิยาไปข้ างหน้ า NH4+ ทาหน้ าที่เป็ นกรด เพราะให้ H+ กับ H2O
แล้ วได้ เป็ น NH3 ขณะที่ H2O รับ H+ ดังนั้นจึงทาหน้ าที่เป็ นเบส ส่วนปฏิกริ ิยาย้ อนกลับ H3O+ เป็ น
กรด เพราะให้ H+ กับ NH3 ซึ่งเป็ นเบส แล้ วได้ เป็ น H2O และ NH4+ ตามลาดับ
เรียก NH4+ ว่าคู่กรดของ NH3 (เบส)
H2O ว่าคู่เบสของ H3O+ (กรด)
NH3 ว่าคู่เบสของ NH4+ (กรด)
H3O+ ว่าคู่กรดของ H2O (เบส)
จากตัวอย่างที่กล่าวมาข้ างต้ น จะเห็นได้ ว่า คู่กรด - เบสนั้นมีจานวนโปรตอน (H+) ต่างกัน 1 ตัว
หรืออาจกล่าวได้ ว่า จานวนโปรตอนของคู่กรด จะมากกว่าจานวนโปรตอนของคู่เบสอยู่ 1 ตัวเสมอ
ความแรงของกรด - เบส
การเปรียบเทียบความแรงของกรด - เบส อาจพิจารณาได้ ดังนี้
ถัดไป



















1. สังเกตจากการแตกตัวของกรด
กรดที่แตกตัวมาก จะมีความเป็ นกรดมาก กรดและเบสตัวใดที่แตกตัวได้ 100% จะเรียกว่า กรดแก่ และเบสแก่ ตามลาดับ มีความสามารถในการนาไฟฟ้ าได้ ดี แต่ ถ้ากรดหรือ
เบสตัวใดแตกตัวได้ เพียงบางส่วนจะเรียกว่า กรดอ่อน หรือเบสอ่อน ตามลาดับ ซึ่งความสามารถในการนาไฟฟ้ าก็จะไม่ดีตามไปด้ วย
สาหรับการพิจารณาค่าการแตกตัวของกรดและเบสนั้น นอกจากจะคิดในรูปแบบของเปอร์เซ็นต์การแตกตัวแล้ ว ยังสามารถดูได้ จากค่าคงที่สมดุลของการแตกตัวของกรดหรือเบส
(Ka หรือ Kb) นั้นๆได้ ด้วย เช่น
สารละลายของกรดทั้ง 4 ชนิด มีค่าคงที่ของการแตกตัวของกรด ดังนี้
HClO2
Ka = 1.1 x 10-2
HF
Ka = 6.8 x 10-4
CH3COOH Ka = 1.8 x 10-5
H2CO3
Ka = 4.4 x 10-7
ความแรงของกรดเรียงลาดับจากมากไปหาน้ อยตามค่า Ka ได้ ดังนี้
HClO2 > HF > CH3COOH > H2CO3
ส่วนความแรงของเบสนั้น ให้ พิจารณาจากค่า Kb คือ ถ้ าค่า Kb มาก สารละลายนั้นจะมีความเป็ นเบสมากกว่าสารละลายที่มี Kb น้ อย เช่น
NH3
Kb = 1.76 x 10-5
N2H4
Kb = 9.5 x 10-7
C6H5NH2 Kb = 4.3 x 10-10
ความแรงของเบสเรียงลาดับจากมากไปหาน้ อยตามค่า Kb ได้ ดังนี้
NH3 > N2H4 > C6H5NH2
2. สังเกตจากความสามารถในการให้และรับโปรตอน
กรดแก่, เบสแก่ คือ กรดหรือเบสที่ให้ โปรตอนได้ มาก
กรดอ่อน, เบสอ่อน คือ กรดหรือเบสที่ให้ โปรตอนได้ น้อย




3. สังเกตจากการเรียงลาดับในตารางธาตุ
การพิจารณาความแรงของกรด – เบส สังเกตได้ จากการเรียงลาดับของธาตุท่อี ยู่ในกรดตามตารางธาตุ ซึ่งแบ่งได้ ดังนี้
3.1 กรดออกซี หมายถึง กรดที่ประกอบด้ วย H, O และธาตุอ่นื อีก เช่น HNO3, H3PO4, H3AsO4, HClO4 เป็ นต้ น ถ้ าจานวนอะตอมออกซิเจนเท่ากัน ความ
แรงของกรดจะมีการเรียงลาดับดังนี้





ดังนั้น H2SO4 > H2SeO4 , H3PO4 > H3AsO4
3.2 กรดไฮโดร หมายถึง กรดที่ไม่มีออกซิเจน เช่ น HCl, HBr, HF, และ HI เป็ นต้ น โดยความแรงของกรดจะเรียงตามลาดับดังนี้
HI > HBr > HCl > HF
H2S > H2O

ถัดไป


สารละลายกรด - เบส ในชีวิตประจาวัน
ค่า pH ของสารละลายในสิ่งมีชีวิตจะมีค่าเฉพาะตัว เช่น pH ของ
เอนไซม์ในกระเพาะอาหารมีค่าประมาณ 1.5, pH ของเลือดและนา้ ลาย มีค่า
เท่ากับ 7.4 และ 6.8 ตามลาดับ


นอกจากสารละลายในร่างกายจะมีค่า pH เฉพาะตัวแล้ ว ยังพบว่า
สารละลายกรด - เบสที่พบในชีวิตประจาวันมีท้งั กรดอ่อนจนถึงกรดแก่ และ
เบสอ่อนถึงเบสแก่ ส่วนนา้ บริสทุ ธิ์จะมีสภาพเป็ นกลางไม่เป็ นกรดหรือเบส
ในขณะที่นา้ ฝนมีความเป็ นกรดอ่อนๆ เพราะในอากาศมีแก๊ส CO2 ซึ่งรวม
กับนา้ ได้ กรดคาร์บอนิก ที่เป็ นกรดอ่อน แต่ในนา้ ทะเลที่มีเกลือแร่ต่างๆละลาย
อยู่ จึงรวมตัวกันได้ สารละลายไฮดรอกไซด์ ซึ่งมีสภาพเป็ นเบส
ถัดไป
1.
การทาปฏิกิริยาของเบสกันสารใดที่เกิดสารคล้ายสบู่
ก. เบสกับแอมโมเนียมไนเตรต
ข. เบสกับนา้ มันพืชหรือไขมันสัตว์
ค. เบสกับกรดเกลือ
ง. เบสกับชิ้นอะลูมิเนียม
ถูกต้ องค่ะ
ผิดค่ะ
2. ถ้ามีสารละลายเป็ นของเหลวใสอยู่ในขวด และสมศักดิ์ต้ งั สมมติฐานว่าเป็ น
กรดไฮโดรคลอริกแล้ว สมศักดิ์ควรทดสอบสมมติฐานตามข้อใด
ก. ดมและชิม
ข. ทดสอบกับหินปูน
ค. ทดสอบกับกระดาษลิตมัส
ง. ทดสอบกับเจเซียนไวโอเลต
ถูกต้ องค่ะ
ผิดค่ะ
3. ถ้าต้องการทดสอบความเป็ นกรดของสารควรใช้ดอกไม้ชนิดใด
ก. กุหลาบ
ค. เฟื่ องฟ้ า
ข.ชบา
ง. อัญชัญ
ผิดค่ะ
4. กรดทีร่ บั ประทานได้ตอ้ งไม่เปลีย่ นสีเจนเชียนไวโอ
เลต
ก.ใช่ เนื่องจากจะต้ องเปลี่ยนเป็ นสีแดง
ข.ใช่ เนื่องจากจะต้ องเปลี่ยนเป็ นสีเหลือง
ค.ไม่ใช่ เนื่องจากจะต้ องเปลี่ยนเป็ นเขียว
ง.ไม่ใช่ เนื่องจากจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงสี
ถูกต้ องค่ะ
5.ข้อใดเป็ นสมบัติของกรด
ก.เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากแดงเป็ นนา้ เงิน
ข.ไม่กดั กร่อนหินปูน
ค.มีรสฝาด
ง.กัดกร่อนโลหะเกิดแก๊สไฮโดรเจน


แรง คือสิ่งที่กระทาต่อวัตถุในรูปของการพยายามดึงหรือดันให้ วัตถุน้ันเคลื่อนที่โดยที่วัตถุอาจเคลื่อนที่หรือไม่กไ็ ด้
เพราะมีแรงอื่นกระทาต่อวัตถุอยู่ด้วย แรงถือเป็ นปริมาณเวคเตอร์ท่ตี ้ องกาหนดด้ วยขนาดและทิศทาง
กฏการเคลือ่ นทีข่ องนิวตัน
กฏข้อที่ 1 ถ้ าแรงลัพธ์ท่กี ระทากับวัตถุเป็ นศูนย์วัตถุจะรักษาสภาพการเคลื่อนที่เดิมถ้ าเดิมวัตถุหยุดนิ่งก็จะ
หยุดนิ่งอยู่อย่างนั้น หรือถ้ าเดิมเคลื่อนที่กจ็ ะเคลื่อนที่ต่อไปด้ วยความเร็วคงที่ในแนวเส้ นตรง จะได้ สมการ

ซึ่งใช้ กบั การคานวณสมดุลกล

กฏข้อที่ 2 ถ้ ามีแรงลัพธ์ท่ไี ม่เป็ นศูนย์มากระทากับวัตถุ วัตถุจะเคลื่อนที่ด้วยความเร่งในทิศเดียวกับแรงลัพธ์
โดยความเร่งจะมีขนาดแปรผันตรงกับขนาดของแรงลัพธ์ และแปรผกผันกับมวลของวัตถุ จะได้ สมการ


กฏข้อที่ 3 ทุก ๆ แรงกิริยา (Action Force) จะมีแรงปฏิกริ ิยา (Reaction Force) ที่มีขนาดเท่ากัน
และมีทศิ ทางตรงกันข้ ามกันเสมอจะได้ สมการ
น้ าหนัก คือ แรงดึงดูดของโลกซึ่งกระทาต่อวัตถุอยู่ตลอดเวลา คานวณได้ จาก
โดยที่ W = นา้ หนักของวัตถุ มีหน่วยเป็ นนิวตัน (N)
m = มวลของวัตถุ มีหน่วยเป็ นกิโลกรัม (kg)

g = ความเร่งเนื่องจากแรงโน้ มถ่วงของโลก มีหน่วยเป็ นเมตรต่อวินาที
ค่า g ในบริเวณต่างๆ ทั่วโลกมีค่าไม่เท่ากัน โดยทั่วไปมักให้ ใช้ ค่า g = 10



ข้ อสอบ
1.รถคันหนึง่ จอดติดไฟแดง พอได้รบั สัญญาณไฟเขียวก็เร่งเครื่องออกไปด้วย
ความเร่งคงที่พอไปได้ไกล 100 เมตร วัดความเร็วได้ 72 กิโลเมตร/
ชัว่ โมง อยากทราบว่าความเร่งของรถเป็ นเท่าใด
1 เมตร/วินาที*2
ก.1 เมตร/วินาที*2
ข.2 เมตร/วินาที*2
ค.3 เมตร/วินาที*2
ง.4 เมตร/วินาที*2
ผิดค่ะ
2. วัตถุหนึง่ เคลือ่ นที่ดว้ ยความเร่ง 2 เมตร/วินาที*2 เมือ่ เวลาผ่านไป 10 วินาที
มีความเร็วเป็ น 40 เมตร/วินาที ขณะนั้นวัตถุอยู่ห่างจากตาแหน่ง ณ เวลา
เริ่มต้นเท่าไร
ก. 100 เมตร
ข. 200 เมตร
ค. 300 เมตร
ง. 400 เมตร
ถูกต้ องค่ะ
3. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม ตกจากยอดตึกสูง 100 เมตร ลงมาจะมีแรงกระทา
ต่อวัตถุเท่าไร(g = 10 เมตร/วินาที*2)
ก.100 นิวตัน
ข.200 นิวตัน
ค.500 นิวตัน
ง.600 นิวตัน
ถูกต้ องค่ะ
ผิดค่ะ
4 ชายคนหนึง่ หนัก 800 นิวตันทีผ่ ิวโลก ถ้าเขาไปชัง่ น้ าหนัก ณ
ตาแหน่งทีห่ ่างจากจุดศูนย์กลางโลก 4 เท่ารัศมีโลก เขาจะหนัก
เท่าใด
ก.50 นิวตัน
ข.60 นิวตัน
ค.70 นิวตัน
ง.80 นิวตัน
ผิดค่ะ
5.ถ้าระยะห่างระหว่างมวล 2 ก้อนเพิม่ เป็ น 2 เท่า แรงดึงดูดระหว่าง
มวลทั้งสองจะเป็ นกีเ่ ท่าของของเดิม
ก. 1/2 เท่าของเดิม
ข. 1/4 เท่าของเดิม
ค.1/6 เท่าของเดิม
ง. 1/8 เท่าของเดิม
ถูกต้ องค่ะ
-0ต่อไป
ผิดค่ะ
ต่อไป
Click here
The EnD
><