การถอดแบบและคำนวณปริมาณงานก่อสร้างทางหลวง

Download Report

Transcript การถอดแบบและคำนวณปริมาณงานก่อสร้างทางหลวง

การถอดแบบและคานวณ
ปริมาณงานก่ อสร้ างทางหลวง
โดย
นายสมนึก เศียรอุ่น
วิศวกรโยธาชานาญการ
ส่ วนสารวจและออกแบบ สานักทางหลวงที่ 15
การถอดแบบและคานวณ
ปริมาณงานก่ อสร้ างทางหลวง

แบบก่ อสร้ างทางหลวง

สภาพพืน้ ที่ในสนาม

ขั้นตอนวิธีการก่ อสร้ าง
หลักการในการออกแบบทางหลวง
 ถูกต้องตามหลักวิศวกรรม
 ประสิ ทธิ ภาพในการให้บริ การ
 ความปลอดภัยของผูใ้ ช้ทาง
ปั จจัยพืน้ ฐานในการออกแบบทาง
 ปริ มาณการจราจร
 มาตรฐานชั้นทาง
 การออกแบบรู ปตัดทางหลวง
 การออกแบบแนวทางราบ แนวทางดิ่ง
 การออกแบบโครงสร้างชั้นทาง
 การออกแบบทางแยก
 การออกแบบงานระบายน้ า
 งานอานวยความปลอดภัยและงานอื่นๆ
การออกแบบรู ปตัดทางหลวง
ในการออกแบบจะพิจารณาจาก
 เขตทางหลวง
- มีเขตทางเท่าไร เช่น 14, 20, 30, 40 ม.
 มาตรฐานทางหลวง
- ชั้น พิเศษ ชั้น 1, 2, 3, 4 หรื อ ชั้น 5
 สภาพพื้นที่ ชุมชน
- มีชุมชนหรื อไม่ และมีขนาดของชุมชนเล็กหรื อใหญ่
 ระบบสาธารณูปโภค
- มีระบบสาธารณูปโภค เช่น ประปา ไฟฟ้ า โทรศัพท์
หรื อไม่
การออกแบบรู ปตัดของถนน (Cross-Section Element)

องค์ประกอบของรู ปตัดถนนประกอบด้วย
1. คันทาง (Road Bed)
2. ช่องจราจร
3. ไหล่ทาง
4. ลาดหลังทาง (Crown Slope)
5. ลาดคันทาง (Side Slope)
6. ลาดดินตัดและดินถม
7. ร่ องระบายน้ าข้างทาง (Side ditch)
8. เกาะกลาง (Median)
9. ทางเท้า (Side Walk)
การออกแบบแนวทางราบและแนวทางดิ่ง
พิจารณาจากมาตรฐานชั้นทาง
 ความเร็ วออกแบบ
 สภาพพื้นที่ เช่น ที่ราบ ที่เนิ น หรื อภูเขา
 เป็ นชุมชนหรื อไม่
 ระยะมองเห็นปลอดภัย
- ระยะหยุดโดยปลอดภัย
- ระยะแซงโดยปลอดภัย (Passing Sight Distance)

การออกแบบแนวทางราบ (Horizontal Alignment)
1. เลือกแนวทางที่ส้ นั และไม่โค้งมาก
2. หลีกเลี่ยงแนวทางที่ก่อสร้างยาก ค่าก่อสร้าง และค่าบารุ งรักษาสูง
3. หลีกเลี่ยงทางตรงที่ยาวมากแล้วต่อด้วยโค้งสั้น
4. ทางแยกของทาง 2 สายตัดกัน ไม่ควรทามุมมากกว่า 60°
5. ทางที่มีมุมหักเหของแนวทางน้อยกว่า 1° ไม่ตอ้ งใส่ โค้งราบ
6. ทางที่ตดั กับลาน้ า สะพานไม่ควรมีมุมตัดเฉียงมากกว่า 30°
7. ในทางโค้งใกล้กนั ควรออกแบบให้แล่นด้วยความเร็ วเท่ากัน
8. หลีกเลี่ยงโค้งอันตราย – Sharp Curve, Reversing Curve
9. หลีกเลี่ยงสะพานในทางโค้ง
10. ช่วงดินถมสูงและยาว ช่วงใกล้ทางแยก ทางรถไฟ ควรออกแบบ
โค้งรัศมียาวที่สุดเท่าที่ทาได้
11. พิจารณาระยะมองเห็นและหยุดโดยปลอดภัยตลอดเส้นทาง
DESCRIPTION OF QUANTITIES
1. REMOVAL OF EXISTING STRUCTURE
2. EARTH WORKS
3. SUBBASE AND BASE COURSE
4. SURFACE COURSE
5. STRUCTURE
6. MISCELLANNOUS
7. TRAFFIC MANAGEMENT DURING CONSTRUCTION
1.REMOVAL OF STRUCTURES
1.1 REMOVAL OF EXISTING SURFACE ROADWAY
1.2 REMOVAL OF EXISTING R.C. PIPE CULVERT
1.3 EDGE CUT OF EXISTING ASPHALT CONCRETE PAVEMENT
2. EARTH WORKS
2.1 CLEARING AND CRUBBING
2.2 ROADWY EXCAVATION
2.3 EMBANKMENT
2.4 SELECTED MATERIALS
3.SUBBASE AND BASE COURES
3.1 SUBBASE
3.1.1 SOIL AGGREGATE SUBBASE
3.1.2 SOIL CEMENT SUBBASE
3.2 BASE COURSE
3.2.1 CRUSHED ROCK SOIL AGGREGATE TYPE BASE
3.2.2 CRUSH GRAVEL SOIL AGGREGATE TYPE BASE
3.2.3 CEMENT MODIFIED CRUSH ROCK BASE
3.2.4 PAVEMENT IN PLACE RECYCLING
4. SURFACE COURSE
4.1 PRIME COAT & TACK COAT
4.2 ASPHALT CONCRETE
4.3 PORTLAND CONCRETE PAVEMENT
5. STRUCTURES
5.1 CONCRETE BRIDGES
5.1.1 NEW R.C. BRIDGE
5.1.2 EXTENSION R.C. BRIDGE
5.1.3 WIDENING EXIST R.C. BRIDGE
5.2 R.C. BOX CULVERTS
5.2.1 NEW R.C. BOX CULVERT
5.2.2 EXTENSION OF EXISTING R.C. BOX CULVERT
5.2.3 R.C. BOX CULVERTS SIDE DRAINS
5. STRUCTURES
5.3 R.C. PIPE CULVERTS
5.3.1 NEW R.C. PIPE CULVERT CLASS 2
5.3.2 NEW R.C. PIPE CULVERT CLASS 3
5.3.2 RELOCATION OF EXISTING R.C. PIPE CULVERT
6. MISSELLANEOUS
6.1 SLOPE PROTECTION
6.1.1 CONCRETE SLOPE PROTECTION
6.1.2 RIPRAP SLOPE PROTECTION
6.1.3 GABIONS
6.2 MISCELLENEOUS STRUCTURE
6.2.1 R.C. MANHOLES
6.2.3 R.C. HEAD WALL (END WALL)
6.2.3 R.C. HEAD WALL (WING WALL)
6. MISSELLANEOUS
6.3 SIDE DITCH LINNING
6.4 RETAINING WALL
6.5 CONCRETE CRUB AND GUTTER
6.6 PAVING BLOCK
6.7 SODDING
6.8 TOPSOIL
6.9 GUARDRAIL
6.10 TRAFFIC SIGNS
6.11 ROADWAY LIGHTING
6.12 PAVEMENT MARKING
ตัวอย่ าง
การคานวณปริมาณงาน