บุคลาก

Download Report

Transcript บุคลาก

บุคลากรในการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง
สุรพล บุญลือ
บุคลากรในการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง


การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเป็ นงานที่ต้องอาศัยทีมงานที่มีความรู้
ความสามารถ มีทักษะ ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้ าน ทัง้ ปั จจุบันการทางานใน
งานวิทยุกระจายเสียงอาศัยบุคลากรจานวนมากขึน้ การทางานเป็ นทีมมี
ความสาคัญมากขึน้ เพื่อให้ รายการมีคุณภาพและได้ รับความนิยม
บุคลากรในการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง ประกอบด้ วย
1.

ผู้อานวยการผลิต (Executive Producer)
เป็ นผู้รับผิดชอบการผลิตรายการตัง้ แต่ การคิดรายการ การคัดเลือก
บุคลากรต่ าง ๆ ในปั จจุบันเราอาจเรี ยกว่ าเป็ นเจ้ าของรายการหรื อ
บริษัทผู้ผลิตรายการ เป็ นผู้วางแผนด้ านนโยบายการผลิตรายการ
2. ผู้ผลิตรายการหรื อผู้ควบคุมรายการ
(Producer หรื อ Radio Producer)

เป็ นผู้รับผิดชอบในการดาเนินการให้ มีรายการใดรายการหนึ่งเกิดขึน้ จน
ออกอากาศ เป็ นผู้วางแผนและควบคุมในการปฏิบัติ
คุณสมบัตขิ องผู้ผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง

1. มีความคิดริเริ่มสร้ างสรรค์ อยู่เสมอ เพื่อให้ รายการมีความน่ าสนใจ
แปลกไม่ ซา้ ใคร
2. เป็ นผู้หมั่นศึกษาหาความรู้ ติดตามความเคลื่อนไหวต่ าง ๆ ของสังคม
อยู่เสมอ เพื่อนามาเป็ นแนวความคิดในการผลิตรายการใหม่ ๆ ที่เป็ น
ประโยชน์ แก่ ผ้ ูฟัง
3. มีความรู้ ความเข้ าใจในกระบวนการผลิตรายการเป็ นอย่ างดี
4. มีความรู้ ความเข้ าใจวิธีการใช้ อุปกรณ์ ท่ เี กี่ยวข้ องในการผลิตรายการ
5. เป็ นคนตรงต่ อเวลา
คุณสมบัตขิ องผู้ผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง

6. มีมนุษย์ สัมพันธ์ ใจกว้ างในการรั บฟั งความคิดเห็นจากผู้อ่ ืน เพื่อน
ร่ วมงาน รวมทัง้ สามารถสร้ างบรรยากาศในการทางานให้ เกิดความสบาย
ใจ มีความสุขกับงาน
7. มีความสุขุมรอบคอบ สามารถตัดสินใจในปั ญหาต่ าง ๆ ที่อาจเกิดขึน้ ได้
โดยเฉพาะปั ญหาเฉพาะหน้ า
8. เป็ นผู้มีคุณธรรมประจาใจ
9. เป็ นผู้มีความสามารถในด้ านการบริหาร สามารถจัดระเบียบงานต่ าง ๆ
ได้ อย่ างดี สามารถตัดสินได้ รวดเร็ว ชัดเจน
หน้ าที่และความรั บผิดชอบของผู้ผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง
1. เริ่มออกความคิดในเรื่ องหรื อเนื ้อหาที่จะนาเสนอ ซึง่ อาจเป็ นการคิดเอง หรื อมีผ้ ู
เสนอความคิดให้ หรื อได้ รับมอบหมายความคิดนันมา
้
2. วิเคราะห์ผ้ ฟู ั ง เพื่อกาหนดแนวทางการผลิตรายการให้ เหมาะสมกับกลุ่มผู้ฟัง
3. แสวงหาและรวบรวมข้ อมูล เนื ้อหาสาระที่จะนาเสนอในรายการ
4. กาหนดทีมงานผลิตรายการที่มีคณ
ุ ภาพ
5. วางแผนการผลิตรายการ โดยการร่วมประชุมกับผู้เกี่ยวข้ อง เช่น ผู้กากับ
รายการ ผู้เขียนบท ผู้ดาเนินรายการ เพื่อถ่ายทอดแนวคิดให้ ผ้ เู กี่ยวข้ องเหล่านี ้
สร้ างสรรค์รายการออกมาได้ ตรงตามความต้ องการ
หน้ าที่และความรั บผิดชอบของผู้ผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง 2
6. คิดค่าใช้ จ่ายในการผลิตรายการ โดยจัดเตรี ยมงบประมาณไว้ อย่างเพียงพอ
ประหยัดและผลิตรายการได้ อย่างมีคณ
ุ ภาพ
7. จัดทาโครงการผลิตรายการ เพื่อนาเสนอสถานีหรื อองค์กรที่จ้างผลิตรายการ
8. เมื่อโครงการผลิตรายการได้ รับความเห็นชอบ จึงดาเนินการผลิตรายการต่อไป
โดยการแจกจ่ายงานให้ กบั ผู้ร่วมงาน กาหนดระยะเวลาการทางาน
9. ตรวจบทวิทยุที่เขียนเสร็จเรี ยบร้ อยเพื่อพิจารณาปรับปรุง แก้ ไขให้ เหมาะสมก่อนเริ่ม
การผลิต
10. ดูแลการเตรี ยมอุปกรณ์ตา่ งๆ ที่จาเป็ นต้ องใช้ ในรายการให้ พร้ อม เช่น บทวิทยุ
สาหรับทุกคน เทปเสียงต่าง ๆ
หน้ าที่และความรั บผิดชอบของผู้ผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง 2
11. ซักซ้ อมทาความเข้ าใจแก่ผ้ รู ่วมงานอีกครัง้ ตามบทวิทยุ
12. ตรวจสอบความถูกต้ อง ความพร้ อมในด้ านต่าง ๆ เช่น ระบบเสียง คุณภาพเสียงการ
ใช้ ภาษา การออกเสียง ต้ องเป็ นผู้มีความสามารถในการฟั งที่ดี
13. ทาการซ้ อมรายการเพื่อปรับปรุงแก้ ไขให้ สมบูรณ์ยิ่งขึ ้น
14. อานวยการออกอากาศ โดยผู้ควบคุมรายการต้ องฟั งและจดจาสิง่ ที่ผิดพลาด เพื่อ
ประเมินและปรับปรุงแก้ ไขต่อไป
15. ประเมินผลรายการ รายการทุกรายการที่ผลิตควรติดตามผลรายการ เพื่อนามาแก้ ไข
ปรับปรุงสาหรับการผลิตรายการครัง้ ต่อไป
3. ผู้กากับรายการ (Programme Director)

เป็ นผู้กากับ ควบคุม ให้ คาแนะนาในระหว่ างการผลิตรายการเพื่อให้ เป็ น
รายการที่สมบูรณ์ ผู้กากับรายการมักเป็ นคน ๆ เดียวกับผู้ควบคุมรายการ
คุณสมบัตขิ องผู้กากับรายการ
1. มีความเป็ นผู้นา เพราะการทางานต้ องทาเป็ นทีม จึงต้ องมีความเด็ดขาด
เข้ มแข็ง จึงจะสามารถควบคุมผู้ร่วมงานให้ เชื่อฟั งและเกิดความมั่นใจใน
ตัวผู้กากับรายการ
2. มีความสามารถในเชิงบริหาร มีการวางแผนการทางานที่ดี รู้ จักการแบ่ ง
งาน สั่งงาน ควบคุม ให้ คาแนะนา
3. มีมนุษย์ สัมพันธ์ ท่ ดี ีในการทางานร่ วมกับผู้อ่ ืน
4. มีความสามารถในการสอน สามารถสอน ให้ คาแนะนาในระหว่ างการ
ทางานแก่ ผ้ ูร่วมงานว่ า ต้ องการให้ ทาสิ่งนัน้ สิ่งนีอ้ ย่ างไร
คุณสมบัตขิ องผู้กากับรายการ 2
5. มีความรู้ ในเครื่ องมือและอุปกรณ์ การผลิตพอสมควร รู้ ข้อจากัดของ
เครื่ องมือต่ าง ๆ ที่มีอยู่
6. รู้ บทบาทหน้ าที่ของทีมงานแต่ ละคน
7. มีความสามารถในการฟั ง งานวิทยุกระจายเสียงเป็ นงานเสียง จึงต้ องมี
ความสามารถในการฟั งว่ า สิ่งที่นาเสนอมีความน่ าฟั ง มีความเหมาะสม
หรื อไม่
8. มีความจาดี จาสิ่งที่เกี่ยวข้ อง เช่ น ดนตรี เสียงประกอบ เสียงพูด เพื่อ
กากับรายการออกมาให้ ดีท่ สี ุด
9. ช่ างสังเกต
คุณสมบัตขิ องผู้กากับรายการ 3
10. อารมณ์ เย็น การทางานทุกอย่ างย่ อมต้ องมีข้อผิดพลาด ขณะเดียวกัน
ผู้กากับรายการจะต้ องทางานในสภาพที่ต้องอาศัยสมาธิ อาจทาให้ เกิด
อารมณ์ เสีย แสดงกิริยาที่ไม่ สุภาพได้ จึงต้ องควบคุมอารมณ์ ให้ ได้ มีความ
ยืดหยุ่น และคอยให้ กาลังใจในการทางาน
11. มีรสนิยมดี เพื่อตัดสินใจเลือกได้ ว่าอะไรคือสิ่งที่เหมาะสมกับผู้ฟังที่สุด
12. มีวนิ ัยในตนเอง ผู้กากับรายการเป็ นผู้มีอานาจสูงสุดในระหว่ างการ
ผลิตรายการ จึงต้ องมีระเบียบวินัย ตรงเวลา เป็ นตัวอย่ างที่ดีแก่ ผ้ ูร่วมงาน
หน้ าที่และความรั บผิดชอบของผู้กากับรายการ
1. ศึกษาบทวิทยุและปรั บปรุ งเปลี่ยนแปลงให้ เหมาะสมกับการผลิตรายการ
2. ร่ วมกาหนดและคัดเลือกบุคลากร
3. เป็ นผู้กากับการฝึ กซ้ อม
4. เป็ นผู้กากับระหว่ างการผลิตรายการ
5. เป็ นผู้ประสานงานร่ วมกับกลุ่มผู้ร่วมงานต่ างๆ ที่เกี่ยวข้ อง
4. ผู้เขียนบท (Script Writer)
เป็ นผู้นาแนวความคิด เค้ าโครงเนือ้ หามาตีความ เพื่อถ่ ายทอดออกเป็ น
เสียงต่ าง ๆ ไม่ ว่าจะเป็ นเสียงพูด เสียงดนตรี เสียงประกอบ โดยมีการ
นาเสนอที่น่าสนใจ เพื่อให้ ผ้ ูฟังได้ รับความรู้ ความบันเทิง เกิดความเข้ าใจ
อารมณ์ ความรู้ สกึ คล้ อยตามได้ ถูกต้ องตามวัตถุประสงค์ ของการนาเสนอ
รายการ
คุณสมบัตขิ องผู้เขียนบท
1. มีความคิดสร้ างสรรค์ กล้ าคิด กล้ าริเริ่มเพื่อสร้ างความแปลกใหม่แก่งาน ทาให้ รายการ
น่าสนใจ
2. มีความสามารถในการสร้ างจินตนาการ จินตนาการ หมายถึง ความคิดหรื อภาพที่
เกิดขึ ้นในจิตของมนุษย์ โดยความคิดนันอาจจะเป็
้
นผลจากการมีประสบการณ์ ในชีวิตมา
ก่อน ผู้เขียนบทต้ องสร้ างภาพในใจของตน เป็ นเสมือนตัวแทนความคิด ความอยากรู้ของ
ผู้ฟังแล้ วถ่ายทอดเป็ นตัวอักษรผ่านเสียงไปยังผู้ฟังได้ อย่างต่อเนื่องเป็ นลาดับขันตอน
้
3. ความสามารถในการใช้ ภาษา ทังภาษาไทยและภาษาที
้
่เหมาะสมกับงาน
วิทยุกระจายเสียง เป็ นภาษาเพื่อการฟั ง ต้ องเลือกการใช้ ภาษาที่เหมาะสมกับการฟั ง
ผู้ฟัง และเนื ้อหา
การใช้ ภาษาที่เหมาะสมกับวิทยุกระจายเสียง ก็คือ ภาษาที่ง่าย กะทัดรัด ชัดเจน สามารถ
เข้ าใจได้ ทนั ที
4. ความสามารถในการเขียน ผู้เขียนบทต้ องถ่ายทอดจินตนาการเป็ นตัวอักษร เพื่อให้
ผู้เกี่ยวข้ องนาไปถ่ายทอดเป็ นเสียงอีกครัง้ หนึง่ จึงต้ องเขียนให้ เข้ าใจ น่าติดตามตังแต่
้ ต้น
จนจบรายการอย่างประทับใจ
คุณสมบัตขิ องผู้เขียนบท 2
5. มีความรู้ เข้ าใจในสื่อวิทยุกระจายเสียง หมายถึง ต้ องเข้ าใจกระบวนการผลิต
รายการวิทยุกระจายเสียง โดยเฉพาะเรื่ องเทคนิค เพราะบทที่จะนาไปใช้ ในการ
ผลิตรายการ ถ้ า เรารู้ศกั ยภาพของเครื่ องมือต่างๆ จะทาให้ เขียนบทได้ เหมาะสม
6. มีความรู้ เข้ าใจในรูปแบบรายการต่าง ๆ เพราะรูปแบบรายการที่แตกต่าง การ
เขียนบทก็มีความแตกต่างกันด้ วย
7. มีความรู้ในศัพท์เฉพาะที่ใช้ ในการผลิตรายการ การเขียนบทบางครัง้ จาเป็ นต้ อง
ใช้ คาย่อหรื อศัพท์เฉพาะต่างๆ เพื่อการสื่อความหมายกับผู้ร่วมงานฝ่ ายต่าง ๆ ถ้ า
ไม่เข้ าใจหรื อเข้ าใจไม่ถกู ต้ อง การผลิตรายการอาจประสบความยุง่ ยากได้
8. เป็ นผู้แสวงหาความรู้ ผู้เขียนบทควรเป็ นผู้เปิ ดกว้ างที่จะรับข่าวสารต่าง ๆ ได้ ทกุ
ประเภท เป็ นผู้รักการอ่าน การฟั ง การดู การสังเกต เพื่อนาเรื่ องราวที่เห็น
ประสบการณ์ที่ได้ มาไม่วา่ จากการศึกษาด้ วยตนเอง จากผู้ร้ ู การแลกเปลี่ยน
ความคิด การพูดคุย เพื่อนามาประยุกต์ ถ่ายทอดแก่ผ้ ฟู ั งการมีความรู้
ประสบการณ์กว้ างขวาง จะทาให้ การเขียนมีคณ
ุ ภาพและเกิดความคิดใหม่ ๆ
คุณสมบัตขิ องผู้เขียนบท 3
9. มีวินยั ความรับผิดชอบ ต้ องเขียนบทให้ ทนั การออกอากาศ สม่าเสมอ มีการวาง
แผนการทางานของตน ขณะเดียวกันต้ องสามารถทางานภายใต้ ความกดดัน
ความรี บเร่งของงานได้
10. มีรสนิยม สามารถเลือกเรื่ องที่ดี มีประโยชน์ เหมาะสม ไม่วา่ จะเป็ นข้ อมูล
ภาษา เพื่อเป็ นแบบอย่างที่ดีแก่ผ้ ฟู ั ง
11. มีความใจกว้ างที่จะรับฟั งความคิดเห็น คาตาหนิตา่ ง ๆ
12. รู้ความต้ องการพื ้นฐานของมนุษย์ ตลอดจนความต้ องการของตลาดแต่ละยุค
แต่ละสมัยว่าต้ องการอะไร ควรสอดแทรกเนื ้อหา แนวความคิดที่ดีแก่ผ้ ฟู ั ง ซึง่
สามารถนาไปปฏิบตั ิได้
หน้ าที่และความรั บผิดชอบของผู้เขียนบท
1. ศึกษาผู้ฟัง เป็ นใคร เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ ความสนใจ
ทัศนคติ ความเชื่อ วัฒนธรรม เพื่อวางแนวเขียนบทได้ ตรงความสนใจของ
ผู้ฟัง
2. ศึกษาหรื อกาหนดหัวข้ อเรื่ อง เนือ้ หา ประเด็นต่ าง ๆ จากแหล่ งข้ อมูล
ต่ าง ๆ ได้ แก่ นิตยสาร วารสาร หนังสือพิมพ์ ห้ องสมุด รายงานการวิจัย
หน่ วยงานที่เกี่ยวข้ อง บุคคลที่เกี่ยวข้ อง เป็ นต้ น ต้ องศึกษาให้ ละเอียดและ
เข้ าใจในเนือ้ หานัน้ ๆ แล้ วนามาจัดลาดับเนือ้ หา เพื่อพัฒนาเขียนเป็ นบท
ที่สมบูรณ์ ต่อไป
หน้ าที่และความรั บผิดชอบของผู้เขียนบท 2
3. กาหนดรู ปแบบรายการ ปกติมักกาหนดมาจากผู้ผลิตรายการ แต่ เมื่อ
รวบรวมข้ อมูลแล้ ว อาจไม่ เหมาะสมกับรู ปแบบนัน้ ก็สามารถเปลี่ยนแปลง
ได้ เช่ น รู ปแบบบทความ เมื่อไปหาข้ อมูลโดยเฉพาะจากแหล่ งบุคคล อาจ
พบว่ าถ้ าใช้ เสียงผู้ให้ สัมภาษณ์ เองจะน่ าเชื่อ น่ าสนใจกว่ า ก็นาเสนอใน
รู ปแบบการสัมภาษณ์
4. ศึกษาระยะเวลา ความยาวรายการ สถานีท่ ีออกอากาศ เพื่อพิจารณาถึง
ความเหมาะสมในการกาหนดหัวข้ อ ประเด็นให้ เหมาะสมกับเวลา
หน้ าที่และความรั บผิดชอบของผู้เขียนบท 3
5. ศึกษาทรัพยากรที่จะใช้ ในการผลิตรายการ ได้ แก่ บุคลากร งบประมาณ อุปกรณ์
เป็ นต้ น เพราะมีความเกี่ยวโยงกับการเขียนบท เช่น ถ้ าไม่มีเจ้ าหน้ าทีผ่ ลิตรายการ
เพียงพอหรื อไม่มีเครื่ องบันทึกเสียง ก็ไม่สามารถออกไปบันทึกเสียงใด ๆ ประกอบ
รายการได้ หรื อคุณภาพเสียงไม่ดี ก็ต้องนามาปรับรูปแบบรายการ ทังยั
้ งต้ อง
พิจารณาไปถึงความสามารถของผู้ดาเนินรายการด้ วยในบางกรณี เพราะบททีด่ ี มี
รูปแบบรายการน่าสนใจ แต่อาจผลิตไม่ได้
6. ผู้เขียนบทต้ องเป็ นผู้ถ่ายทอดจินตนาการของตนเป็ นข้ อความ เสียง ตลอดจน
อารมณ์ ความรู้สกึ ต่าง ๆ ผู้เขียนจึงควรกาหนดสิง่ ต่าง ๆ เหล่านี ้ไว้ ในบทอย่าง
ละเอียด ชัดเจน เพื่อให้ ผ้ ผู ลิตนาไปผลิตได้ ตรงตามเจตนารมณ์และวัตถุประสงค์
รายการ
4. ผู้ประกาศ (Announcer)

เป็ นผู้ทาหน้ าที่ถ่ายทอดข่ าวสารต่ าง ๆ ด้ วยคาพูด วิธีนาเสนอรายการ เพื่อให้
ผู้ฟังเกิดความเข้ าใจ มีหน้ าที่มากมายสาหรั บผู้ถ่ายทอดสาร ได้ แก่ ผู้ประกาศ
ของสถานี (Radio Announcer) ผู้อ่านข่ าว (Radio Newscaster) ดีเจ. (Disc
jockey) ผู้ดาเนินรายการ (Radio Moderator ) หรื อ AP (Air Personality) เป็ นต้ น
ผู้ทาหน้ าที่ประกาศต่ าง ๆ เหล่ านี ้ ควรมีความรู้ อย่ างกว้ างขวางและสามารถใช้
เครื่ องมือได้ ด้วย ซึ่งในที่นีจ้ ะขอใช้ คาว่ า ผู้ดาเนินรายการ แทนชื่อตามตาแหน่ ง
ต่ างๆ ทัง้ หมด
คุณสมบัตขิ องผู้ดาเนินรายการ

1. มีบุคลิกภาพที่ดี น่ าเชื่อถือ
2. มีความรอบรู้
3. ใฝ่ หาความรู้ อยู่เสมอ
4. มีนา้ เสียงดี ไพเราะ มีลีลา บุคลิก เป็ นตัวของตัวเอง มั่นใจ พูด
คล่ องแคล่ ว ไม่ ลังเล หรื อติดขัด
คุณสมบัตขิ องผู้ดาเนินรายการ 2

5. สามารถใช้ ภาษาได้ ชัดเจน ถูกต้ องตามหลักภาษา ตามกาละเทศะ
6. มีความรั บผิดชอบสูง จริงจังต่ อหน้ าที่
7. ตรงต่ อเวลา
8. สุภาพ ให้ เกียรติผ้ ูร่วมรายการและผู้ฟัง
9. สามารถควบคุมอารมณ์ ได้ ดี
คุณสมบัตขิ องผู้ดาเนินรายการ 3

10. มีใจกว้ าง ยอมรั บคาติชม ไม่ หวั่นไหวต่ อคาวิจารณ์ เพราะคาติชมมี
ความสาคัญต่ อการปรั บปรุ งรายการและตัวผู้ดาเนินรายการ
11. ใจเย็น ไม่ ต่ ืนเต้ นง่ ายและสามารถแก้ ไขปั ญหาเฉพาะหน้ าได้ ดี
12. มีมนุษย์ สัมพันธ์ ท่ ีดี สามารถปรั บตัวเข้ ากับคนทุกชัน้ ทุกประเภทได้
หน้ าที่และความรั บผิดชอบของผู้ดาเนินรายการ

1. เตรี ยมคาประกาศหรื อบทให้ เรี ยบร้ อย
2. ฝึ กซ้ อม อ่านบทให้ ถกู ต้ องในด้ านวรรคตอน
3. พยายามขจัดความผิดพลาดในการอ่านให้ มากที่สดุ หากมีข้อผิดพลาดให้ ขอ
อภัยผู้ฟังเสมอ
4. ขณะดาเนินรายการ ต้ องรักษาระยะห่างในการใช้ ไมโครโฟนให้ คงที่ สม่าเสมอ
เพื่อรักษาระดับและความชัดเจนของเสียงเฉพาะตัวไว้
หน้ าที่และความรั บผิดชอบของผู้ดาเนินรายการ 2

1. เตรี ยมคาประกาศหรื อบทให้ เรี ยบร้ อย
2. ฝึ กซ้ อม อ่านบทให้ ถกู ต้ องในด้ านวรรคตอน
3. พยายามขจัดความผิดพลาดในการอ่านให้ มากที่สดุ หากมีข้อผิดพลาดให้ ขอ
อภัยผู้ฟังเสมอ
4. ขณะดาเนินรายการ ต้ องรักษาระยะห่างในการใช้ ไมโครโฟนให้ คงที่ สม่าเสมอ
เพื่อรักษาระดับและความชัดเจนของเสียงเฉพาะตัวไว้
หน้ าที่และความรั บผิดชอบของผู้ดาเนินรายการ 2

5. รักษาเวลาในการอ่าน คือ ไม่เร็วหรื อช้ ากว่าเวลาที่กาหนด หากเร็วหรื อช้ า ต้ อง
สามารถแก้ ไขปั ญหาเฉพาะหน้ า ดัดแปลงเนื ้อหาให้ คงสาระไว้ ได้ เป็ นอย่างดี
6. มีความกระตือรื อร้ น พัฒนาการทางานให้ ดีขึ ้นเรื่ อย ๆ โดยแสวงหาความรู้ใหม่
ๆ
ปรับปรุงวิธีการพูดให้ หลากหลาย
7. มีความรู้กว้ างขวาง ติดตามเรื่ องราวและเหตุการณ์รอบข้ างอยูเ่ สมอ จาไว้ วา่ ไม่
มีวนั และเวลาที่ผ้ พู ดู จะมาคิดว่าตนอยูใ่ นระดับสุดยอดแล้ วหรื อรู้แจ้ งเห็นจริง
หมดแล้ วทุกอย่าง
6. เจ้ าหน้ าที่เทคนิค (Technician Staff)

ทาหน้ าที่รับผิดชอบงานด้ านเทคนิค ได้ แก่
6.1 เจ้ าหน้ าที่ควบคุมเสียง หมายถึง เจ้ าหน้ าที่ซงึ่ ดูแลรับผิดชอบการควบคุมเสียง
จากแหล่งเสียงต่าง ๆ ให้ มีคณ
ุ ภาพเสียงที่ดี บางสถานีจะให้ เจ้ าหน้ าที่ควบคุมเสียง
ควบคุมการออกอากาศทังหมด
้
บางสถานีจะอนุญาตให้ ดีเจ. เป็ นผู้ควบคุมเสียง
เอง
6.2 เจ้ าหน้ าที่ควบคุมเครื่ องส่งกระจายเสียง หมายถึงเจ้ าหน้ าที่ซึ่งดูแลรับผิดชอบ
ระบบการกระจายเสียง การบารุงรักษา การถ่ายทอดเสียง เพื่อให้ การออกอากาศ
ดาเนินไปอย่างปกติด้วยคุณภาพเสียงที่มีประสิทธิภาพ
คุณสมบัตขิ องเจ้ าหน้ าที่เทคนิค

1. มีความรู้เรื่ องเทคนิคการกระจายเสียงเป็ นอย่างดี
2. มีความรู้เรื่ องเครื่ องมือและอุปกรณ์เกี่ยวกับการกระจายเสียงเป็ นอย่างดี
สามารถใช้ งานเป็ น แก้ ไขได้ เมื่อเกิดการขัดข้ อง สามารถให้ คาแนะนาในการ
บารุงรักษาได้
3. มีการตัดสินใจที่ดี สุขมุ รอบคอบ แก้ ไขปั ญหาเฉพาะหน้ าได้ เพราะงานเทคนิค
ถ้ าเกิดผิดพลาดเพียงเล็กน้ อยอาจทาให้ เกิดผลเสียหายอย่างมาก
4. มีความสามารถในการประสานงานและปฏิบตั ิงานร่วมกับผู้อื่นได้ เป็ นอย่างดี
หน้ าที่และความรั บผิดชอบของเจ้ าหน้ าที่เทคนิค

1. ให้ คาปรึกษา แนะนาด้ านเทคนิคแก่ผ้ ผู ลิตรายการ ผู้ดาเนินรายการ ผู้กากับ
รายการ
2. คอยควบคุม ปรับแต่งสัญญาณเสียงจากแหล่งเสียงต่าง ๆ ให้ ผสมผสานเข้ ากัน
อย่างกลมกลืน
3. ควบคุมเสียงตามบท ตามคาสัง่ การ คาแนะนาของผู้กากับรายการขณะผลิต
รายการว่าต้ องการเสียงอะไร
4. จัดเตรี ยมอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ที่จะใช้ ในการผลิตรายการ เช่น การใช้ ไมโครโฟน
เครื่ องเล่นแผ่นเสียง เครื่ องเล่นเทป
5. ทดสอบระดับเสียงต่าง ๆ
บุคลากรในการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง
แบ่ งตามลักษณะงาน แบ่ งได้ 3 ด้ าน คือ



1. บุคลากรด้ านการผลิตรายการ ได้ แก่ ผู้ผลิตรายการ ผู้กากับรายการ
ผู้เขียนบท ผู้แสดงในรายการ
2. บุคลากรด้ านเทคนิค ได้ แก่ เจ้ าหน้ าที่เทคนิค
3. บุคลากรด้ านสนับสนุนรายการ ได้ แก่ เจ้ าหน้ าที่ประสานงานการผลิต
หรื อทีมผลิตรายการ
การดาเนินงานในปั จจุบัน

วิทยุกระจายเสียงเป็ นองค์กรขนาดใหญ่ มีรายการที่ต้องผลิตเป็ นจานวนมาก จึงมี
บุคลากรในการผลิตรายการมากขึ ้นและแบ่งงานรับผิดชอบไปเฉพาะด้ าน รวมไป
ถึงการกาหนดตาแหน่งหน้ าที่ตา่ ง ๆ ซึง่ จะแตกต่างกันไปในแต่ละองค์กร เช่น งาน
ข่าว ประกอบด้ วย ผู้สื่อข่าว ผู้อา่ นข่าว ผู้เรี ยบเรี ยงข่าว เป็ นต้ น หรื อด้ านรายการ
ประกอบด้ วยทีม Producer , Programme Director หรื อ Programme
Controller , Music Director , Creative , ผู้เขียนบท ทีมข้ อมูล ผู้ดาเนินรายการ
ดีเจ. ผู้ประสานการผลิต เป็ นต้ น บุคคลเหล่านี ้ล้ วนเป็ นกาลังสาคัญในการผลิต
รายการทังสิ
้ ้น