มะเร็งเต้านม (Breast cancer)

Download Report

Transcript มะเร็งเต้านม (Breast cancer)

มะเร็งเต้ านม
โดย นายแพทย์ ธีรวุฒิ คูหะเปรมะ ผู้อานวยการสถาบันมะเร็งแห่ งชาติ
ขบวนการเกิดมะเร็ง
การแบ่ งตัว
ของเซลล์ ปกติ
เซลล์ผดิ ปกติ
การแบ่ งตัวของ
เซลล์ มะเร็ง
เซลล์ ตาย
ตามปกติ
เซลล์ ไม่ ตาย
มะเร็ง
เซลล์ผดิ ปกติผ่าเหล่า-1 2
3
4
เติบโต-ควบคุมไม่ ได้
เนือ้ งอกธรรมดา และ เนือ้ งอกมะเร็ง
เนือ้ งอก
ธรรมดา
เนือ้ งอก
มะเร็ง
ลุกลาม
กระจาย
เวลา
ยีนส์ เร่ งมะเร็ง
ยีนส์ เร่ งมะเร็ง
ยีนส์ เบรคมะเร็ง
ยีนส์ เร่ งมะเร็ง
ยีนส์ เร่ งมะเร็ง
ยีนส์ เบรคมะเร็ง
กายวิภาคเต้ านม
กล้ ามเนือ้
เนือ้ เต้ านม
กายวิภาคเต้ านม
กล้ ามเนือ้
เนืาอมเนื
้ เต้อ้ านม
กล้
ท่ อนา้ นม
ไขมัน
Breast cancer
มะเร็งเต้ านม
CANCER = ปู
Thiravud Khuhaprema MD,FICS
Director
National Cancer Institute
สถานการณ์ โรคมะเร็งเต้ านม
ในประเทศไทย
สถิติผปู ้ ่ วยใหม่ มะเร็ งเต้านม
2533 : 3,300
2536 : 4,223
2539 : 5,592
2542 : 7,106
2550: 8,000 ราย
ราย
ราย
ราย
ราย
• มะเร็งเต้ านม เป็ นมะเร็ งที่
พบบ่อยในผูห้ ญิงไทย โดย
พบมากเป็ นอันดับ 2 รอง
จาก มะเร็ งปากมดลูก
• อัตราเพิม่ ของมะเร็งเต้ า
นม คาดว่ ามากเป็ นอันดับ
1 ของผู้หญิงทั้งหมดใน
ปี 2551
มะเร็งเต้ านมในไทย
เชียงใหม่
1.มะเร็งปากมดลูก
2.ปอด
ขอนแก่น
3.มะเร็งเต้ านม
1.มะเร็งตับ
2.มะเร็งปากมดลูก
กรุงเทพ
3.มะเร็งเต้ านม
1.มะเร็งเต้ านม
2.มะเร็งปากมดลูก
สงขลา
1.มะเร็งปากมดลูก
2.มะเร็งเต้ านม
มะเร็งเต้ านม
มะเร็งเต้ านม
ไทย
1.มะเร็งปากมดลูก
2.มะเร็งเต้ านม
Comparison of female breast cancer
to the others
Zimbabwe , Harare : European
Bangkok
Phra Khanong
Non Chok
Chiang mai
Lampang
Khon Kaen
Song Khla
Thailand
127.7
24.6
81.1
12.7
20.7
20.8
13.7
17.1
20.5
Projection
แนวโน้of มfemale
มะเร็breast
งเต้าcancer
นม
14000
12000
10000
north
8000
northeast
6000
central
south
4000
2000
0
1996*
1999*
2002
2005
2008
ปัจจัยเสี่ ยงของการเกิดมะเร็งเต้ านม
 ผูห
้ ญิงที่มีอายุมากกว่า
40 ปี ขึ้นไป จะมีความ
เสี่ ยงต่อการเป็ นมะเร็ ง
เต้านม โดยพบบ่อยใน
หญิงที่มีอายุ 50 ปี ขึ้นไป
 หญิงที่มีประวัติคนใน
ครอบครัวเป็ นมะเร็ งเต้านม
จะมีความเสี่ ยงต่อการเกิด
มะเร็ งเต้านมมากกว่าคนปกติ
รวมทั้ง ผูป้ ่ วยที่เคยเป็ นมะเร็ ง
เต้านม ก็มีอตั ราเสี่ ยงที่จะ
กลับมาเป็ นใหม่สูงกว่าคน
ปกติดว้ ย
 ผูท
้ ี่มีบุตรหลังอายุ 30 ปี
รวมทั้ง หญิงที่ไม่เคยมี
บุตร จะมีความเสี่ ยงต่อ
การเป็ นมะเร็ งเต้านม
มากขึ้น
 การกลายพันธุ์ของยีน
เช่น
การเกิดการกลายพันธุ์ของ
ยีน BRCA1 หรื อ
BRCA2 สามารถทาให้
เกิดมะเร็ งเต้านม และ
สามารถถ่ายทอดทาง
พันธุกรรมได้
 ผูห
้ ญิงที่มีประจาเดือน
มาตั้งแต่อายุก่อน 12 ปี
หรื อ ประจาเดือนหมด
ช้าหลังอายุ 55 ปี จะมี
โอกาสเป็ นมะเร็ งเต้านม
ได้ง่ายกว่าคนปกติ
 ผูท
้ ี่รับประทานฮอร์ โมน
เพศหญิง รวมทั้ง ผูท้ ี่
ได้รับยาคุมกาเนิดเป็ น
เวลานาน อาจเกิดมะเร็ ง
เต้านมมากยิง่ ขึ้น
 การสู บบุหรี่ ทาให้เพิม
่
โอกาสในการเกิดเป็ น
มะเร็ งเต้านมมากขึ้น
ปัจจัย ลด ความเสี่ ยงของการเกิดมะเร็งเต้ านม
- การตั้งครรภ์ อายุน้อยกว่ า 30 ปี
- การให้ นมบุตร
- ออกกาลังกาย
- อาหาร ผัก ผลไม้
อาการของมะเร็งเต้ านม
- มะเร็งระยะเริ่มต้ นนั้นมักจะไม่ มีอาการเจ็บ และไม่
แสดงอาการใดๆ
อาการของมะเร็ งเต้านม
1. เต้านม
ก้ อน
- ก้อนที่เต้านม
- ปวดเต้านม
- ปื้ นที่เต้านม

มีก้อนที่ เต้ านม (ร้ อยละ 15-20 ของก้ อนทีค่ ลาได้
บริเวณเต้ านมเป็ นมะเร็งเต้ านม)

มีการเปลีย่ นแปลงขนาด และรูปร่ างของเต้ านม
อาการแสดงของมะเร็งเต้ านม
2. หัวนม
 หัวนมมีการหดตัว คัน หรือแดงผิดปกติ
 มี เลือด หรือนา้ ออกจากหัวนม (ร้ อยละ 20 ของการมี
เลือดออกจะเป็ นมะเร็ง)
อาการแสดงของมะเร็งเต้ านม
มะเร็งเต้ านม
รอยบุ๋มของผิวหนัง
มะเร็งเต้ านม
ผิวหนังจะคล้ายหนังหมูเนื่องจากท่ อนา้ เหลืองอุดตัน
3. ผิวหนัง
ผิวหนังเปลีย่ นแปลง เช่ น รอยบุ๋ม ย่ น หดตัว หนาผิดปกติ บางส่ วนมีสะเก็ด
-บวม หรือ แดง
- ผิวหนังอักเสบ
เส้นเลือดดาที่ขยายออก
มะเร็ งเต้านม
ลักษณะทางคลินิก
เส้นเลือดดาที่ขยายออก
มะเร็ ง
อาการแสดงของมะเร็งเต้ านม
4.รักแร้
- ก่ อนที่รักแร้
- เจ็บทีร่ ักแร้
การวินิจฉัยมะเร็งเต้ านม
การซักประวัติ ตรวจร่ างกาย
การประเมินผู้ป่วยมะเร็งเต้ านม ต้ องเริ่มจากการซัก
ประวัติ และตรวจร่ างกายอย่ างถี่ถ้วน
การตรวจโดยวิธี mammography


สามารถตรวจพบมะเร็งเต้ านมใน
ระยะเริ่มแรกได้
อาจพบลักษณะผิดปกติเฉพาะของ
มะเร็ง เช่ น มีก้อนในเต้ านมมีก้อน
หินปูนแทรกในเนือ้ นม หรือมีการ
บิดเบีย้ วของเนือ้ เต้ านม ความ
แม่ นยาในการตรวจอาจสู งถึง
90-95%
การเจาะดูดเซลล์จากก้อนของเต้ านม
ใช้ สาหรับเก็บตัวอย่ างเซลล์ จากก้ อนเนือ้ ไปพิสูจน์ ทาง
พยาธิวทิ ยา
การผ่ าตัดพิสูจน์ ชิ้นเนือ้
 เป็ นการตัดก้ อนเนือ
้
งอก หรือบางส่ วน
ของก้ อนเนือ้ และ
นาไปพิสูจน์ ทาง
พยาธิวทิ ยา
ระยะของมะเร็ งเต้านม

ระยะ 1 ก้อนมะเร็ งมีขนาดไม่เกิน 2 เซนติเมตร และยังไม่
ลุกลามเข้า ต่ อมนำ้ เหลือง

ระยะ 2 ก้อนมะเร็ งมีขนาดระหว่าง 2-5 เซนติเมตร ซึ่ง
อาจจะลุกลามไปยังต่อมน้ าเหลืองบริ เวณรักแร้หรื อไม่กไ็ ด้
หรื อมีขนาดไม่เกิน 2 เซนติเมตร และลุกลามเข้าต่อม
น้ าเหลืองบริ เวณรักแร้แล้ว
 ระยะ 3 ก้อนมะเร็ งมีขนาดใหญ่กว่า 5 เซนติเมตร
และรุ กรามเข้าต่อมน้ าเหลืองบริ เวณรักแร้แล้ว แต่ยงั
ไม่แพร่ กระจายไปสู่อวัยวะอื่น
 ระยะ 4 มะเร็ งแพร่ กระจายไปสู่ อวัยวะอื่น ๆ แล้ว
การรักษามะเร็งเต้ านม
ปัจจุบันนีก้ ารรักษามะเร็งเต้ านม
ทีไ่ ด้ ผลดีทสี่ ุ ดจะต้ องเป็ นการ
ผสมผสานกัน ระหว่ าง
การผ่ าตัด การฉายรังสี เคมีบาบัด
และ/หรือฮอร์ โมนบาบัด
การผ่ าตัดปัจจุบันทีท่ ากันบ่ อยๆ มี 2 ชนิด คือ
1. ตัดเต้ านมออกทั้งหมด
คือจะตัดเต้ านมข้ างที่
เป็ นมะเร็งออกทั้งหมด
รวมทั้งเลาะต่ อม
นา้ เหลืองที่รักแร้ ออกไป
ด้ วย เป็ นการผ่ าตัด
มาตรฐานทีท่ ากันอยู่
2. ตัดเต้ านมออกบางส่ วน
จุดประสงค์ กค็ อื ต้ องการเก็บเต้ านมไว้ เพือ่ ความ
สวยงาม
เคมีบาบัด และฮอร์ โมนบาบัด
 ใช้ในผูป
้ ่ วยที่เป็ นมะเร็ ง
เต้านมที่มีการแพร่ กระจาย
ของโรคหรื อภาวะที่มีการ
ลุกลามของโรคเฉพาะที่
อย่างรุ นแรง
 ใช้เพื่อเป็ นการรักษาเสริ ม
ในผูป้ ่ วยที่มีอตั ราเสี่ ยงต่อ
การกาเริ บของโรคสูง
การฉายรังสี หลังผ่ าตัด
เพือ่ ทาลาย เซลล์ มะเร็ง ที่มอง
ไม่ เห็นด้ วยตาเปล่า ที่อาจ
หลงเหลืออยู่ทบี่ ริเวณ ต่ อม
น้าเหลือง สามารถลด
อุบัตกิ ารณ์ เกิด การกลับมา
เป็ นซ้า ลงได้
อัตรารอดชีวติ ของผู้ป่วยมะเร็งเต้านม

ระยะของโรค อัตราการอยู่รอด 5 อัตราการอยู่รอด
ปี (%)
10 ปี (%)
1
70-95
60-80
2
50-80
40-60
3
10-50
0-30
4
0-10
0-5
การคัดกรองมะเร็งเต้ านมในประเทศไทย
การตรวจเต้ านมด้ วยตนเอง
Breast Self Examination - BSE
1. การสั งเกต
2. การสั มผัส
Looking
Feeling
การตรวจโดยแพทย์
การตรวจโดยวิธี
แมมโมแกรม
mammography
Mammographic screening in Thailand
Mammogram
30 ราย x 264 วัน = 7,920 ราย / ปี
Digital mammogram 20 ราย x 264 วัน = 52,800 ราย / ปี
กลุ่มเป้ าหมาย
40-69 ปี
9,287,563 คน (2545)
Need =
Mammogram 704 เครื่อง
Digital Mammogram 106
เครื่อง
แนวทางการคัดกรองมะเร็งเต้ านมในประเทศไทย
1. การคัดกรองมะเร็งอย่ างเป็ นระบบ
- สตรี อายุ 20 ปี ขึ้นไป ควรตรวจมะเร็ งเต้านม
ด้วยตนเอง
- อายุ 40-49 ปี ควรได้รับการตรวจโดยแพทย์ทุกปี
2. การค้ นหามะเร็งระยะแรกเริ่มในสตรีไทยโดยสมัครใจ
- ให้ความรู ้ความตระหนัก แก่สตรี อายุ 20 ปี ขึ้นไป
ได้รับการตรวจ เต้านมโดยแพทย์ทุก 3 ปี
- อายุ 40-69 ปี ควรได้รับ การตรวจแมมโมแกรม ทุก
ปี
3. กลุ่มสตรีทคี่ วรได้ รับการตรวจจากแพทย์ เป็ นพิเศษ
ปี
ปี
- ได้รับยา ฮอร์โมน ทดแทนเกิน 5 ปี
- ไม่มีบุตร หรื อ ตั้งครรภ์ เมื่ออายุ มากกว่า 35
- ประจาเดือน ครั้งแรก มาเมื่อ อายุนอ้ ยกว่า 12
- หมดประจาเดือนเมื่ออายุมากกว่า 45 ปี
- น้ าหนักมาก โรคอ้วน
4. ผู้ทมี่ ีความเสี่ ยงสู งต่ อการเป็ นมะเร็งเต้ านม
-
ผูท้ ี่มีญาติสายตรง เป็ นมะเร็ งเต้านม
ผูท้ ี่มีประวัติเคยเป็ นมะเร็ งเต้านม
ผูท้ ี่ได้รับการฉายแสงที่ทรวงอก
ผูท้ ี่เคยตัด ชิ้นเนื้อ ของเต้านมได้ตรวจ และพบ
เป็ นเนื้อชนิด Atypical dysplasia
กล่ มุ สตรี ดงั กล่ าว ควรได้ รับการตรวจ
แมมโมแกรม + อุลตร้าซาวด์ และ ตรวจเต้านม
โดยแพทย์ ทุก 1-2 ปี เมื่ออายุ 40 ปี หรื อ
เมื่อมีอายุนอ้ ยกว่า 5 ปี ของญาติที่เป็ นมะเร็ ง
การค้ นหามะเร็งเต้ านมระยะแรกเริ่ม
การคัดกรองอย่ างเป็ นระบบ
(สตรี 35-60 ปี , ตรวจเต้ านมด้ วยตนเอง)
การคัดกรองตามโอกาสอานวย
การวินิจฉัยมะเร็งเต้ านมโดยเร็ว
(แนะนาโดยผูใ้ ห้บริการหรือสตรีที่มีความรู้ขอรับบริการเอง)
(สัญญาณเตือนของมะเร็งเต้านม หรื อกลุ่มเสี่ยง)
ทาแมมโมแกรม และตรวจโดยแพทย์ทุกปี อายุ 40 ปี ขึ้นไป
ตรวจโดยแพทย์ หรื อแมมโมแกรม
สรุป :การดูแลเต้ านม
1.
อายุ 20 ปี ขึ้นไป
ควรเริ่ มตรวจเต้า
นมด้วยตนเอง
ทุกเดือน
2. สาหรับผูท้ ี่มีประวัติใน
ครอบครัวเป็ นมะเร็ งเต้านม
ควรรี บปรึ กษาแพทย์เพื่อขอ
คาแนะนา
3. หากพบสิ่ งผิดปกติบริ เวณ
เต้านม หรื อรักแร้ ควรรี บ
ปรึ กษาแพทย์ทนั ที