การดูแลเด็กป่วยเบื้องต้น - ศูนย์อนามัยที่ 3 ชลบุรี

Download Report

Transcript การดูแลเด็กป่วยเบื้องต้น - ศูนย์อนามัยที่ 3 ชลบุรี

ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
สาเหตุ
เม็ดเลือดแดงของเด็กมีอายุสัน
้
จึงเกิดการแตกทาลาย
มาก ทาให้ มีสารบิลิรูบนิ มาก และไปจับตามผิวหนัง
ตับของทารกยังทาหน้ าที่ไม่ สมบูรณ์ ทาให้ การขับสารบิลิ
รู บนิ ออกจากร่ างกายไม่ ดีเท่ าที่ควร สารบิลิรูบนิ จึงคั่งค้ าง
ในร่ างกายมากขึน้
สาเหตุ
หมู่เลือดของมารดาและทารกไม่ เข้ ากัน
เลือดแดงของทารกขาดเอนไซม์ จี -6พีดี
ทาให้ เม็ดเลือดแดงแตกง่ ายกว่ าปกติ


เมื่อระดับบิลิรูบนิ สูงมาก เหลืองเร็ว เหลือง
นาน ถ้ าไม่ รักษา อาจเกิดอาการดีซ่านขึน้ สมอง
มีอาการซึม ดูดนมไม่ ดี แขนขาอ่ อนแรง ชัก
กระตุก ร้ องเสียงแหลม กล้ ามเนือ้ อ่ อนแรง
การสังเกต
การส่ องไฟ
การถ่ ายเปลี่ยนเลือด
1. กระตุ้นให้ ทารกดูดนมมารดาบ่ อยๆ
2. ให้ ทารกนอนในที่มีแสงสว่ างมาก ๆ อาจเปิ ดไฟช่ วยได้
3. ให้ สังเกตว่ าทารกตัวเหลืองเพิ่มขึน้ หรื อไม่ หากเหลืองมาก
ขึน้ ซึม ไม่ ดูดนม ให้ กลับไปพบแพทย์
4. ประเมินนา้ หนัก ความยาว
นา้ หนักตัวน้ อยแรกเกิด
หมายถึง เด็กแรกเกิดที่มีน้าหนักน้ อยกว่า 2,500 กรัม
สาเหตุ
มารดาอายุ < 20 ปี , > 35 ปี
ตัง้ ครรภ์ มากกว่ า 4 ครั ง้
มารดามีภาวะซีด หรื อมีภาวะแทรกซ้ อน เช่ น ครรภ์ เป็ น
พิษ เบาหวาน
 มารดานา้ หนักขึน
้ น้ อยกว่ า 10 กก.
 คลอดก่ อนกาหนด



การรักษา
ในระยะแรกเกิด เด็กต้ องอยู่ในตู้อบ ในกรณีทกี่ ารทางานของ
ปอดยังไม่ ดี อาจต้ องให้ ออกซิเจนรักษา ถ้ ามีภาวะตัวเหลืองต้ อง
รักษาภาวะตัวเหลือง
ผลกระทบ
เสี ยชีวติ จาก ภาวะขาดออกซิเจนในขณะแรกเกิด ติดเชื้อ
ภาวะตัวเหลืองแรกเกิด
 เจ็บป่ วยบ่ อย
 ทุพโภชนาการ
 พัฒนาการล่ าช้ า

 กระตุ้นให้ มารดาเลีย
้ งลูกด้ วยนมแม่ อย่ างเดียว 6
 แนะนาให้ มารดารับประทานอาหารที่มีประโยชน์
 ติดตามชั่งนา้ หนัก
 แนะนาอาหารเสริมตามวัยอย่ างเหมาะสม
 ติดตามพัฒนาการ
เดือน
เด็กปากแหว่ ง เพดานโหว่
ภาวะ หรื อ โรคปากแหว่ งเพดานโหว่ เป็ นความพิการแต่
กาเนิดของศีรษะและใบหน้ า
สาเหตุ
ปั จจัยจากภายใน คือ กรรมพันธุ์
 ปั จจัยจากภายนอก ได้ แก่ การเจ็บป่ วยของมารดาขณะ
ตัง้ ครรภ์ ภาวะขาดสารอาหารของมารดาในระหว่ างตัง้ ครรภ์
มารดาสูบบุหรี่จัด มารดาได้ รับยา และ/หรือสารบางชนิด
ต่ อเนื่อง เช่ น ยากันชัก (เช่ น ฟี ไนโตอิน/ Phenytoin),
ไดแลนติน/Dilantin) ยาคอร์ ตโิ คสเตียรอยด์

ภาวะปากแหว่ งเพดานโหว่ ก่อปั ญหาอะไรบ้ าง?
ปั ญหาในการดูดกลืน
ทารกไม่สามารถควบคุมการไหลของนมได้ จึงต้ อง
กลืนติดกันถี่ๆ ทาให้ หายใจไม่ทนั เกิดสาลักนมเข้ าหลอดลม/
เข้ าปอด ส่งผลให้ เกิดภาวะอาการเขียวคล ้าจากการขาด
อากาศ สารอกและอาเจียนนมบ่อยจากลมในกระเพาะ
อาหาร
ปั ญหาทางเดินหายใจ
การสาลักง่าย จึงเสี่ยงต่อการติดเชื ้อในระบบทางเดิน
หายใจ
การแนะนาในการติดตามเยี่ยมบ้ าน
การป้อนนม
• ตำแหน่งในกำรให ้นม ศรี ษะควรสูงประมำณ 45 องศำ
เพือ
่ ทีจ
่ ะชว่ ยลดกำรไหลย ้อนของน้ ำนมมำทีจ
่ มูก
• เด็กต ้องกำรอุ ้มเรอ (burping) หลังกำรให ้นมมำกกว่ำ
เด็กปกติเนือ
่ งจำกเด็กกลืนลมลงท ้องมำกกว่ำปกติ
• เน ้นกำรเลีย
้ งลูกด ้วยนมแม่ดท
ี ส
ี่ ด
ุ
้
• ใชขวดนมพิ
เศษ ทีส
่ ำมำรถชว่ ยบีบนมออกจำกขวดได ้
เด็กจะได ้ไม่ต ้องออกแรงดูดมำก
•จุกนมตัดเป็ นรูปตัว Y ด้ านที่มีรูอากาศจุกนมจะบางกว่ าอีกด้ าน
เพื่อช่ วยให้ เด็กสามารถใช้ ลิน้ และริมฝี ปากดูดนา้ นมได้ สะดวกยิ่งขึน้
●วาล์ วกันสาลักป้องกันไม่ ให้ นา้ นมในจุกนมไหลกลับลงไปในขวด
ไข้
ภาวะไข้ เป็ นปั ญหาที่พบบ่ อยในเด็ก ถ้ า
ไม่ ได้ รับการดูแลเบือ้ งต้ นอย่ างถูกวิธีอาจ
ก่ อให้ เกิด ภาวะแทรกซ้ อนที่รุนแรงได้
ที่มา( www.med.cmu.ac.th/hospital/opd )
ความหมายของภาวะไข้
ภาวะไข้ หมายถึง ภาวะที่เด็กมีอุณหภูมิร่างกาย
ตัง้ แต่ 37.6 องศาเซลเซียสขึน้ ไป โดยการวัดทางปาก
หรื อตัง้ แต่ 38.0 องศาเซลเซียสขึน้ ไป เมื่อวัดทางทวาร
หนัก หรื ออุณหภูมิร่างกายตัง้ แต่ 37.6 องศาเซลเซียสขึน้
ไป เมื่ อวัดทางหู โดยใช้ เทอร์ โมมิเตอร์ แบบอิเลคโทร
นิคส์ หรื ออุณหภูมิร่างกายตัง้ แต่ 37.6 องศาเซลเซียสขึน้
ไป เมื่อวัดทางหน้ าผากโดยเทอร์ โมมิเตอร์ แบบอิเลคโทร
นิคส์
ที่มา( www.med.cmu.ac.th/hospital/opd )
อาการและอาการแสดงเมื่อมีภาวะไข้
อาการและอาการแสดงที่พบบ่ อยเมื่อเด็กมี ไข้
ได้ แก่ ตัวร้ อน ผิวหนั งแห้ ง แดง ร้ อน หน้ าแดง เหงื่ อออก
เซื่องซึม กระหายนา้ อัตราการเต้ นของหัวใจเพิ่มขึ น้ หายใจ
เร็ วขึน้ ร้ องไห้ กวน งอแง ปวดตามร่ างกาย ศีรษะ หรื อบาง
รายอาจมีอาการคลื่นไส้ อาเจียนร่ วมด้ วย
ที่มา( www.med.cmu.ac.th/hospital/opd )
ผลกระทบหรือข้ อเสียของการมีภาวะไข้
ผลกระทบหรือข้ อเสียของการมีไข้ มีดังนี ้
1. อาจเกิดอาการชักได้ ถ้ าหากมีไข้ สูง
2. ถ้ ามีไข้ สูงตัง้ แต่ 41 องศาเซลเซียสขึน้ ไป
อาจเกิดอันตรายต่ อสมอง
3. ภูมิต้านทานของร่ างกายลดลง
4. นา้ หนักลด
ที่มา( www.med.cmu.ac.th/hospital/opd )
การวัดอุณหภูมิ หรื อการวัดไข้
มีหลายวิธี ดังนี ้
1. การวัดทางปาก เป็ นวิธีที่ใช้ กบั เด็กโต อายุมากกว่า 5 ปี ขึ ้นไป วัดโดยใส่เทอร์ โมมิเตอร์
ไว้ ใต้ ลิ ้น แล้ วให้ เด็กปิ ดปากอมไว้ นานประมาณ 3 นาที แต่ไม่ควรใช้ วัดในเด็กที่ มีประวัติชัก
เพราะเด็กอาจกัดเทอร์ โมมิเตอร์ แตก แล้ วกินสารปรอทเข้ าไปเป็ นอันตรายได้ และไม่ค วรวัดไข้
หลังจากเด็กดื่มน ้าร้ อน หรื อน ้าเย็นทันที ควรรอหลังจากนัน้ 15-20 นาที ค่าอุณหภูมิปกติ คือ
35.5 – 37.5 องศาเซลเซียส
2. การวัด ทางทวารหนัก เป็ นวิ ธี ที่ ไ ด้ ค่ า อุณ หภูมิ ข องร่ า งกายที่ ดี ที่ สุ ด วัด โดยการใช้
เทอร์ โมมิเตอร์ ทาด้ วยวาสลิน สอดเข้ าไปในรูทวารหนักลึกประมาณ 1 นิ ้วหรื อ 1.5-2 เซนติเมตร
วัดนานประมาณ 1-2 นาที แต่การวัดโดยวิธีนี ้ก่อให้ เกิดความไม่สขุ สบาย เจ็บปวด หรื อการฉีก
ขาดของรูทวารหนักได้ ค่าอุณหภูมิปกติ คือ 36.6 – 37.9 องศาเซลเซียส
3. การวัดโดยการใช้ เทอร์ โมมิเตอร์ แบบอิเลคโทรนิคส์ เป็ นวิธีที่ง่ายและแม่นยา ใช้
สะดวกและรวดเร็ว ได้ แก่
3.1 การวัดทางรู หู ในขณะวัดให้ ดึงใบหูของทารกไปด้ านหลัง ส่วนเด็กโตให้ ดึง
ใบหูขึ ้นและโน้ มไปด้ านหลัง เพื่อให้ แสงอินฟาเรดของเทอร์ โมมิเตอร์ สอ่ งถึง เยื่อแก้ วหูได้ ค่า
อุณหภูมิปกติ คือ 35.7-37.5 องศาเซลเซียส
3.2 การวัดทางผิวหนัง เช่น หน้ าผาก หลังใบหู ซอกคอ โดยใช้ เทอร์ โมมิเตอร์
สัม ผัส บริ เ วณดัง กล่า ว แล้ ว อ่ า นค่ า ที่ วัด ได้ ค่ า อุณ หภูมิ ป กติ คื อ 35.7 – 37.5 องศา
เซลเซียส
ที่มา( www.med.cmu.ac.th/hospital/opd )
การจัดการกับภาวะไข้
เมื่อเด็กมีไข้ ต้ องได้ รับการช่วยเหลือเพื่อลดอุณหภูมิของร่ างกายลง เพื่อ
ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้ อน เช่น อาการชัก เป็ นต้ น
โดยปกติอณ
ุ หภูมิของร่างกายเด็กจะลดลงสู่ระดับปกติ เมื่ อได้ รับการ
รักษาสาเหตุของภาวะไข้ ที่เหมาะสม แต่จดุ มุ่งหมายหลักของกิจกรรมต่ อไปนี ้ คือ
การช่วยให้ เด็กที่มีไข้ ได้ รับความสุขสบาย ซึง่ ทาได้ ดงั ต่อไปนี ้ดังต่อไปนี ้
ที่มา( www.med.cmu.ac.th/hospital/opd )
1. สวมเสื ้อผ้ าให้ บางลง ไม่ควรห่อตัวเด็ก หรื อห่มผ้ าที่หนาเกินไป เพื่อให้ ความร้ อน
ได้ ระบายออกไปได้ ดีขึ ้น ถ้ าหากมีอาการหนาวสัน่ ให้ หม่ ผ้ าเพื่อให้ ร่างกายอบอุน่
2. กระตุ้นเด็กดื่มน ้า หรื อนมมาก ๆ เพื่อทดแทนน ้าที่เสียไปทางเหงื่อ
3. การวัดอุณหภูมิในห้ องให้ มีการถ่ายเทของอากาศได้ สะดวก เช่น การเปิ ด
ประตู หน้ าต่าง การใช้ พดั ลมเป่ า แต่อย่าเป่ าตรงตัวเด็ก เพราะจะทาให้ หนาวสัน่ ได้ ถ้ า
เป็ นห้ องปรับอากาศควรปรับอุณหภูมิอยูร่ ะหว่าง 16 – 19 องศาเซลเซียส
4. การเช็ดตัวด้ วยนา้ อุ่น จะทาให้ หลอดเลือดที่ผิวหนังขยายตัว ระบายความ
ร้ อนออกจากร่ างกายโดยกระบวนการนาความร้ อนจากร่ างกายสู่ผ้าเปี ยกที่ใช้ เช็ดตัว
รวมทังการระเหยของน
้
้าจากผิวกายและการพาความร้ อนจากผิวกาย ออกไปในขณะ
เช็ดตัว การเช็ดตัวควรทาเมื่อเด็กให้ ความร่ วมมือ แต่ถ้าหากเด็กไม่ชอบ หรื อหนาวสัน่
ควรหยุดทาเพราะการร้ องไห้ ดิ ้น หนาวสัน่ ล้ วนทาให้ ความร้ อนของร่างกายสูงขึ ้น ซึง่ มี
วิธีการเช็ดตัวเพื่อลดไข้ ดังนี ้
ที่มา( www.med.cmu.ac.th/hospital/opd )
4.1 จัดเตรี ยมอุปกรณ์ ให้ พร้ อม ได้ แก่ กะละมังใส่น ้าอุ่น ผ้ าเช็ดตัวผืนเล็ก
2 – 3 ผืน ผ้ าเช็ดตัวผืนใหญ่ 1 ผืนใช้ หม่ ตัวเด็ก
4.2 เช็ดตัวเด็กโดยใช้ ผ้าชุบน ้าบิดให้ หมาด ๆ แล้ วลูบไล้ ไปตามส่วนต่าง ๆ
ของร่ างกาย ร่ วมกับการประคบผิวหนังตามจุดที่รวมของหลอดเลือดขนาดใหญ่ ใต้
ผิวหนัง เช่น บริ เวณหน้ าผาก ซอกคอ รักแร้ ขาหนีบ และข้ อพับต่าง ๆ เพื่ อช่วยให้
ความร้ อนถ่ายเทออกจากร่ างกาย ในเด็กโตควรพูดคุยอธิ บายให้ เข้ าใจก่อน เพื่ อให้
ความร่ วมมือ ระยะเวลาที่ใช้ ในการเช็ดตัวลดไข้ ประมาณ 15 – 20 นาที ภายหลัง
เสร็ จสิ ้นการเช็ดตัวลดไข้ แล้ วประมาณ 30 นาที ควรวัดไข้ ซ ้า ถ้ าหากไข้ ยงั ไม่ลดลงให้
ทาซ ้าได้ ทกุ 2 ชัว่ โมง
ที่มา( www.med.cmu.ac.th/hospital/opd )
5. ให้ เ ด็ก ได้ รับ การนอนหลับพัก ผ่อ นให้ เ พี ยงพอ เพื่ อลดการเผาผลาญภายใน
ร่างกาย
6. การให้ ยาลดไข้ ได้ แก่ พาราเซตามอล ซึง่ แบ่งออกเป็ น 3 ลักษณะ ดังนี ้
6.1 ชนิดหยด
6.2 ชนิดน ้าเชื่อม
6.3 ชนิดเม็ด
ขนาดที่ใช้ คานวณตามน ้าหนักตัวของเด็ก โดยให้ ขนาด 10 – 15 มิลลิกรัม
ต่อน ้าหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อครัง้ โดยส่วนใหญ่แพทย์จะให้ ใช้ ทกุ 4 – 6 ชัว่ โมง เมื่อมี
ไข้ หากไม่มีไข้ ไม่ควรรับประทาน
ที่มา( www.med.cmu.ac.th/hospital/opd )
การออกฤทธิ์ ยาพาราเซตามอลจะออกฤทธิ์ สูงสุดภายใน ½ - 1 ชั่วโมง หลัง
รับประทานยา
อาการข้ างเคียงของยาพาราเซตามอล ได้ แก่ กล้ ามเนื ้อคลายตัว เด็กจะง่วง
ซึมมากขึ ้น อาจทาให้ มีผื่นตามตัว บวม มีแผลบริเวณเยื่อบุช่องปาก
ข้ อห้ ามใช้ ยาพาราเซตามอล ได้ แก่ ห้ ามใช้ ในผู้ป่วยโรคตับ
7. หากเด็กมีอาการแย่ลงกว่าเดิม เช่น ไข้ ไม่ลด กระสับกระส่ายมากขึน้
อาเจียน ต้ องรี บนามาพบแพทย์ทนั ที
ที่มา( www.med.cmu.ac.th/hospital/opd )
การปฏิบตั ิเมื่อเกิดอาการชักจากภาวะไข้
เมื่อเด็กเกิดอาการชักจากภาวะไข้ คาแนะนาในการปฏิบตั ิมีดงั ต่อไปนี ้
1. จัดให้ เด็กตะแคงหน้ าไปด้ านใดด้ านหนึ่ง เพื่อให้ น ้าลายไหลออกจากปาก ไม่
สาลักเข้ าไปในทางเดินหายใจและลิ ้นไม่ตกอุดหลอดลม รวมทังดู
้ แลทางเดินหายใจให้ โล่ง
อยูเ่ สมอ โดยการดูดเสมหะออกจากปากและจมูกบ่อยๆ
2. จัดให้ เด็กนอนราบ ใช้ ผ้านิ่ม ๆ เช่นผ้ าห่ม หรื อผ้ าเช็ดตัวหนุนบริ เวณใต้ ศีรษะ
เพื่อป้องกันไม่ให้ ศีรษะกระแทกกับพื ้นเตียง และระหว่างชักต้ องระวังศีร ษะ แขน และขา
กระแทกกับ ของแข็ ง หรื อ สิ่ ง มี ค ม โดยเก็ บ สิ่ ง ของที่ อ าจเป็ นอัน ตรายออกและไม่ ค วร
เคลื่อนย้ ายเด็กขณะชัก
3. ไม่ ค วรผูก ยึ ด ตัว เด็ ก ขณะที่ มี อ าการชัก เพราะอาการผูก ยึ ด อาจจะท าให้
กระดูกหักได้
4. คลายเสื ้อผ้ าให้ หลวม โยเฉพาะรอบ ๆ คอ เพื่อให้ เด็กหายใจได้ สะดวก และอย่า
ให้ มีคนมุงมาก เพื่อให้ อากาศถ่ายเทได้ ดี
ที่มา( www.med.cmu.ac.th/hospital/opd )
5. การกดลิ ้นเป็ นสิ่งที่ไม่จาเป็ น เนื่องจากการพยายามกดปากเด็กให้ อ้า
ออกเพื่อใส่ไม้ กดลิ ้นอาจจะเป็ นอันตรายได้ จากฟั นหักและหลุดไปอุดหลอดลม
6. สังเกตและบันทึกลักษณะการชัก ลักษณะของใบหน้ า ตา ขณะ
ชัก ระดับ การรู้ สติ ข องเด็ก ก่ อ น ระหว่ า ง และหลัง ชัก พฤติ ก รรมที่ ผิ ด ปกติ
หลังจากชัก ระยะเวลาที่ชกั ทังหมด
้
จานวนครัง้ หรื อความถี่ในการชัก
7. หลีกเลี่ยงสิ่งที่กระตุ้นให้ เด็กเกิดการชักขึ ้นอีก เช่น จัดสิ่งแวดล้ อม
ให้ เงียบสงบ ดูแลไม่ให้ เด็กมีไข้
8. สังเกตและติดตามอาการชักที่อาจเกิดขึ ้นอีก โดยจัดให้ เด็กนอน
ในบริ เวณที่สงั เกตได้ ตลอดเวลา รวมรัง้ สังเกตอาการเปลี่ยนแปลง ถ้ า เด็กชัก
นานกว่า 5 นาที หรื อชักซ ้าหลังจากชักครัง้ แรกผ่านไป อาการไม่ดี ขึ ้นภายหลัง
การชัก มีหายใจลาบาก ถ้ าอยู่ที่บ้านควรรี บ นาส่งโรงพยาบาลเพื่อรับการรักษา
ต่อไป (สมพร สุนทราภา, 2550)
ที่มา( www.med.cmu.ac.th/hospital/opd )
อาการไข้ ท่ พ
ี บบ่ อย
Ờ
Ờ
Ờ
Ờ
ไข้ หวัดธรรมดา
ไข้ หวัดใหญ่
ไข้ ออกผื่น
ไข้ เลือดออก
ที่มา มูลนิธิเพื่อการวิจยั และพัฒนาระบบยา
ไข้ หวัดธรรมดา
สาเหตุ
เกิดจากเชือ้ ไวรั ส มักพบได้ บ่อยที่สุด
อาการ
มีนา้ มูก ไอ จาม เจ็บคอ อ่ อนเพลีย และมีไข้
สาเหตุ
ไข้ หวัดใหญ่
เกิดจากเชือ้ ไวรัสไข้ หวัดใหญ่ มีทงั ้ รุ นแรงและไม่ รุนแรง
อาการ
มีไข้ สูง หนาวๆร้ อนๆ ปวดเมื่อยกล้ ามเนือ้ ปวดหัว เจ็บคอ
คัดจมูก ไอแห้ งๆ
ที่มา มูลนิธิเพื่อการวิจยั และพัฒนาระบบยา
ไข้ หวัดธรรมดา และไข้ หวัดใหญ่
การติดต่ อ
การไอ /จามรดกัน รวมทัง้ ใกล้ ชิดกับผู้ป่วย
การดูแลเบือ้ งต้ น
เช็ดตัวเพื่อลดไข้ รับประทานอาหารอ่ อนและดื่มนา้ มากๆ และให้ ยา
ตามอาการ เช่ น พาราเซตามอล ยาลดนา้ มูก
การป้องกัน
ควรดูแลสุขภาพให้ แข็งแรง หลีกเลี่ยงการคลุกคลีกับผู้ป่วย ป้องกัน
ไม่ ให้ มีการแพร่ กระจายเชือ้ สู่ผ้ ูอ่ นื โอยการสวมหน้ ากากอนามัย
ที่มา มูลนิธิเพื่อการวิจยั และพัฒนาระบบยา
ไข้ ออกผื่น(ส่ าไข้ )
สาเหตุ
เกิดจากเชือ้ ไวรัสชนิดหนึ่ง
อาการ
มักมีไข้ สูง ขึน้ ทันทีทนั ใด และมักมีไข้ สูงตลอดเวลา
เด็กอาจซึม เบื่ออาหาร แต่ ไม่ มีนา้ มูกและอาการร้ ายแรงอื่นๆ ประมาณ
1- 5 วัน หลังจากนัน้ ไข้ จะลดและตามมาด้ วยผื่นแดงเล็กๆ ขึน้ ตามตัว
และเด็กจะกลับมาเป็ นปกติ
การติดต่ อ การไอ/จามรดกัน รวมทัง้ การใกล้ ชิดกับผู้ป่วย
การดูแลเบือ้ งต้ น เช็ดตัวเพื่อลดไข้ รับประทานอาหารอ่ อน
และดื่มนา้ มากๆ
ที่มา มูลนิธิเพื่อการวิจยั และพัฒนาระบบยา
สาเหตุ เกิดจากเชือ้ ไวรัส ที่มียุงลายเป็ นพาหะนาโรค
อาการ แบ่ งเป็ น 3 ระยะ
ระยะที่ 1 ระยะไข้ ลักษณะไข้ สูงลอย กินยาลดไข้ ก็ไม่ ค่อยลด
หน้ าแดง ตาแดง ปวดศรีษะ เบื่ออาหาร อาเจียน ปวดท้ องใต้
ลิน้ ปี่ หรือใต้ ชายโครงขวา วันที่ 3 อาจเห็นผื่นแดง ไม่ คัน
ระยะที่ 2 ระยะช็อก เกิดขึน้ ในวันที่ 3- 7 ของโรค ไข้ เริ่มลง
แต่ อาการทรุ ด ปวดท้ อง อาเจียน ซึม ตัวเย็นกระสับกระส่ าย อาจ
มีอาการเลือดออก
ระยะที่ 3 ระยะฟื ้ นตัว นาน 7- 10 วันหลังจากระยะที่ 2
ถ้ าช็อคไม่ รุนแรงจะฟื ้ นตัวได้ ดี
ที่มา มูลนิธิเพื่อการวิจยั และพัฒนาระบบยา
ผื่นแดงจากไข้ เลือดออก
ที่มา มูลนิธิเพื่อการวิจยั และพัฒนาระบบยา
การติดต่ อ มียุงลายเป็ นพาหะนาโรค
การดูแลเบือ้ งต้ น
เช็ดตัวลดไข้ และให้ ด่ มื เกลือแร่ ให้ ยาลด
ไข้ พาราเซตามอล ห้ ามให้ ยาลดไข้ แอสไพริน หรือ ไอบูโพรเฟน
รีบส่ งโรงพยาบาล
ที่มา มูลนิธิเพื่อการวิจยั และพัฒนาระบบยา
อีสุกอีใส
มือ – เท้ า – ปาก
หัด
หัดเยอรมัน
ที่มา มูลนิธิเพื่อการวิจยั และพัฒนาระบบยา
สาเหตุ เกิดจากเชือ้ ไวรัสอีสุกอีใส
อาการ
เริ่มต้ นคือมีไข้ อ่ อนเพลีย เบื่ออาหาร ปวดเมื่อยตาม
ตัว มีต่ มุ นูนและตุ่มนา้ ใสขึน้ ก่ อน ต่ อมากลายเป็ นตุ่มขุ่นๆ และตุ่ม
แตกเป็ นสะเก็ด ซึ่งเด็กจะคันมาก
การติดต่ อ ติดต่ อโดยการไอ จาม รดกันหรือสัมผัส และใช้ ของ
ร่ วมกับผู้ป่วย
ระยะตุ่มนูนใส
ระยะตุ่มขุ่น
ระยะแตกเป็ น
สะเก็ด แผลเป็ น
ที่มา มูลนิธิเพื่อการวิจยั และพัฒนาระบบยา
การดูแลเบือ้ งต้ น
- ให้ ยาพาราเซตามอล เพื่อลดไข้
- ให้ ทายาแก้ แพ้ แก้ ผดผื่นคัน คาลาไมล์ โลชั่น ถ้ าคันมาก
ให้ ยาแก้ แพ้ เช่ น cpm
- ตัดเล็บให้ สัน้ เพื่อป้องกันการแกะเกา
ที่มา มูลนิธิเพื่อการวิจยั และพัฒนาระบบยา
สาเหตุ เกิดจากเชือ้ ไวรัส พบได้ ในเด็ก อายุ 2 – 14 ปี มักพบ
ในเด็กต่ากว่ า 5 ปี
อาการ มีไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร เจ็บปาก เจ็บคอ มีต่ ุมนา้
ใสขึน้ ในปาก ฝ่ ามือ ฝ่ าเท้ า มักหายได้ เองภายใน 10 วัน
การติดต่ อ การไอจามรดกัน การสัมผัส รวมทัง้ การใช้ ของ
ร่ วมกัน
การดูแลเบือ้ งต้ น
- ให้ ยาพาราเซตามอล ดื่มนา้ มากๆ
- ล้ างมือบ่ อยๆ และหลีกเลี่ยงการคลุกคลีหรื อ
สัมผัสกับผู้ป่วย
ที่มา มูลนิธิเพื่อการวิจยั และพัฒนาระบบยา
ลักษณะตุ่มใสที่ขนึ ้ ในผู้ป่วยมือเท้ าปาก
ที่มา มูลนิธิเพื่อการวิจยั และพัฒนาระบบยา
สาเหตุ เกิดจากเชือ้ ไวรัส
อาการ ระยะแรกอาการคล้ ายไข้ หวัด เบื่ออาหาร นา้ มูกใส
ไอแห้ งๆ หลังจากไข้ 3 – 4 วัน เริ่มมีผ่ ืนขึน้ เป็ นผื่นราบสีแดงขึน้
ทั่วตัว
การติดต่ อ การไอจามรดกัน การสัมผัส รวมทัง้ การใช้ ของ
ร่ วมกัน นอกจากนีย้ ังแพร่ กระจายได้ ทางอากาศ
การดูแลเบือ้ งต้ น
- ให้ ยาพาราเซตามอล บรรเทาปวด ลดไข้
- ถ้ าไอมีเสมหะ ให้ ยาแก้ ไอขับเสมหะ ดื่มนา้ มากๆ
ที่มา มูลนิธิเพื่อการวิจยั และพัฒนาระบบยา
ลักษณะผื่นจากโรคหัดธรรมดา
ที่มา มูลนิธิเพื่อการวิจยั และพัฒนาระบบยา
สาเหตุ เกิดจากเชือ้ ไวรัส พบมากในช่ วงวัยรุ่น 15 – 24 ปี
อาการ ไข้ ต่าๆ ปวดศีรษะ ปวดตา เจ็บคอ เบื่ออาหาร
คลื่นไส้ หรืออาจมีอาการไข้ หวัด นาน 1- 5 วัน จะมีผ่ นื ขึน้ ทั่วตัว
คล้ ายหัดแต่ ผ่ ืนเล็กกว่ าลักษณะเฉพาะ คือ มีต่อมนา้ เหลืองโต
การติดต่ อ การไอจามรดกัน การสัมผัส รวมทัง้ การใช้ ของ
ร่ วมกัน นอกจากนีย้ ังแพร่ กระจายได้ ทางอากาศ
การดูแลเบือ้ งต้ น
- ให้ ยาพาราเซตามอล บรรเทาปวด ลดไข้
- ถ้ าไอมีเสมหะ ให้ ยาแก้ ไอขับเสมหะ ดื่มนา้ มากๆ
ที่มา มูลนิธิเพื่อการวิจยั และพัฒนาระบบยา
ลักษณะผื่นจากโรคหัดเยอรมัน
ที่มา มูลนิธิเพื่อการวิจยั และพัฒนาระบบยา
อาการที่ควรส่ งต่ อสถานพยาบาลเพื่อตรวจเพิ่มเติม
เมื่อมีอาการมาก ปวดศีรษะมาก หนาวสั่น
อาเจียน ท้ องเสีย ปวดท้ องมาก
ซีดเหลือง รับประทานนา้ หรืออาหารไม่ ได้
เด็กมีโรคประจาตัวเป็ นหอบหืด
มีประวัตเิ ข้ าป่ า หรือสัมผัสสัตว์ ปีกที่ป่วยหรือตายภายใน 7 วัน ก่ อนมีไข้
มีประวัตกิ ารสัมผัสหรือใกล้ ชิดกับผู้ป่วยโรคไข้ หวัดใหญ่
มีนา้ มูกข้ น เหลืองเขียว หรือมีไข้ นานเกิน 4 วัน
มีอาการแทรกซ้ อน เช่ น ปวดหู เหงือกบวม หายใจลาบาก เจ็บหน้ าอก
เด็กอยู่ในกลุ่มเสี่ยง เช่ น เด็กภูมิค้ ุมกันผิดปกติ ธาลัสซีเมีย เอดส์ มะเร็ง
ที่มา มูลนิธิเพื่อการวิจยั และพัฒนาระบบยา
อาการที่ควรส่ งต่ อสถานพยาบาล ด่ วน !!!!
ซึมผิดปกติ ไม่ ร้ ูสึกตัว
แขนขาอ่ อนแรง
ขากรรไกรค้ างแข็ง
คอแข็ง ก้ มคอลงไม่ ได้
มีเลือดออก เช่ นอาเจียนหรือขับถ่ ายเป็ นเลือด
ชัก
หายใจหอบเหนื่อยมาก
เจ็บหน้ าอก
กระสับกระส่ าย ตัวเย็น ปั สสาวะออกน้ อย
ที่มา มูลนิธิเพื่อการวิจยั และพัฒนาระบบยา
ตาแฉะ/ท่ อนา้ ตาอุดตัน
สาเหตุ - เกิดจากการติดเชื ้อ ส่วนใหญ่เป็ นเชื ้อแบคทีเรี ย ที่มา
จากการดูแลสุขอนามัยไม่ดี ส่งผลให้ เกิดเยื่อตาอักเสบ มีขี ้ตาแฉะ
บางรายมีตาอักเสบ และมีตาแดงร่วมด้ วย
- การหยอดตาหรื อป้ายยา เด็กบางคนอาจเกิดการระคาย
เคือง น ้าตาไหล มีขี ้ตาเยอะได้ แต่ไม่เกิน 1 อาทิตย์
- ขีต้ าเยอะ + ตาแฉะ = ท่ อนา้ ตาไม่ ขยาย
เด็ดแรกเกิดท่อน ้าตายังขยายไม่เต็มที่จงึ เป็ นสาเหตุทาให้ เกิดการอุดตัน
ทาให้ ขี ้ตาเยอะ น ้าตาจะคลอเบ้ าอยูต่ ลอด และมักจะเป็ นช่วง 1 – 2
อาทิตย์ แรกหลังคลอด
ตาแฉะ/ท่ อนา้ ตาอุดตัน
การดูแล 1. ก่ อน ทาความสะอาดดวงตาเด็กควรจะล้ างมือด้ วยนา้ สบู่
อ่ อนๆให้ สะอาด หรือเช็ดมือด้ วยนา้ ยาฆ่ าเชือ้ ก่ อน และต้ องตัดเล็บให้ สัน้
2. ใช้ สาลีชุบนา้ อุ่น บิดสาลีให้ หมาดแล้ วค่ อยๆเช็ด โดยเช็ด
จากหัวตาไปหางตา
3. ใช้ สาลีชุบนา้ อุ่น บิดให้ หมาด เช็ดเช็ดบริเวณรอบดวงตาอีก
ครัง้ หนึ่งโดยเช็ดบริเวณเปลือกตาบนก่ อน และใต้ ดวงตาอย่ างเบามือ
4. ใช้ ผ้าสะอาด ที่เนือ้ ผ้ านิ่ม ไม่ หยาบค่ อยๆ ซับบริเวณรอบ
ดวงตาให้ แห้ งอีกครัง้
5. ควรเช็ดวันละ 2-3 ครัง้ หลังการอาบนา้ หรือเช็ดเวลาตาแฉะ
การนวดหัวตา
วิธก
ี ำรนวดหัวตำต ้องนวดวันละ 2-6 ครัง้ ครัง้ ละ 10 ที
ั ้ ใชนิ้ ว้ ก ้อยกดตรงตำแหน่ง
โดยต ้องล ้ำงมือให ้สะอำดตัดเล็บให ้สน
ิ กับ
ทีอ
่ ยูข
่ องถุงน้ ำตำและสว่ นบนท่อน้ ำตำ ซงึ่ อยูท
่ ห
ี่ วั ตำชด
ดัง้ จมูกให ้กดเบำ ๆ และเคลือ
่ นลงล่ำงมำทำงปลำยของจมูก
เพือ
่ เพิม
่ ควำมดันในท่อน้ ำตำจะทำให ้ท่อน้ ำตำเปิ ด
การรักษาแบ่ งเป็ น 3 ขัน้ ตอนคือ
1. แพทย์ จะให้ ยาหลอดตา และแนะนาการนวดหัวตา 1 สั ปดาห์
เมื่อไม่ ดีขึน้ จะนัดล้างท่ อนา้ ตา
2. เมื่ออายุ 3 – 8 เดือน ถ้ าการรักษาแล้วยังไม่ หาย ขั้นตอนต่ อไป
คือการใช้ นา้ เกลือ ล้างเข้ าไปในถุงนา้ ตาเพือ่ ขจัดความหมักหมมและการติดเชื้อ
แรงดันของนา้ เกลือที่ฉีดเข้ าไปในระบบระบายนา้ ตา อาจช่ วยดันจุดทีอ่ ุดตัน
ให้ เปิ ดออก
3. ถ้ าอายุ 8 เดือนแล้ว อาการยังไม่ ดีขนึ้ จะรักษาด้ วยการใช้ ลวด
สเตนเลส แยงให้ ผ่านบริเวณทีอ่ ุดตัน ภายใต้ การดมยาสลบ
การฉีดนา้ เกลือ
การใช้ ลวดสแตนเลส
อาการแหวะนมในเด็กทารก
Why : เด็กอายุ 1-2 เดือนบางคนอาจอาเจียนนมเป็ นประจา
บางครั้งการอาเจียนอาจเกิดจากการให้ นมมากเกินไป หรืออาจเกิด
จากภาวะการไหลย้ อนกลับของนม เนื่องจากหูรูดระหว่ างหลอด
อาหารและกระเพาะอาหารเจริญไม่ เต็มที่ ภาวะนีถ้ ้ าอาเจียนเล็กน้ อย
เด็กกินนมต่ อได้ แข็งแรง ร่ าเริง ถ่ ายปกติ ก็ปล่ อยไปตามธรรมชาติ
เพราะเมือ่ อายุ 3 เดือนจะหายไปเอง
Takecare : ให้ ลูกนอนหัวสูงเวลาให้ นม หลังกินนม
เสร็จ คุณแม่ ควรอุ้มพาดไหล่ หรื อแขนแล้ วตบหลังเบา ๆ ให้
เรอทุกครั ง้
Dangerous : สาหรั บเด็กที่ไม่ เคยอาเจียนนมมา
ก่ อนเลย แล้ วเกิดอาการขึน้ มา ทัง้ ยังแสดงท่ าเหมือน
เจ็บปวด ร้ องทุรนทุราย หรื ออาเจียนมีกลิ่นผิดปกติ มีสี
เหลือง ๆ เขียว ๆ ปนออกมา อาเจียนเป็ นเลือด ต้ องรี บไป
รพ.
สะดือเลือดออกและมีกลิน
่ เหม็น
Why : ปกติแล้ วสะดือจะแห้ งและหลุดออกภายใน 5-10
วัน ไม่ ควรมีกลิ่นเหม็น มีหนอง หรื อมีเลือดออก (ยกเว้ น
เลือดซึม ๆ ช่ วงที่สะดือใกล้ หลุด)
Takecare : เช็ดทาความสะอาดสะดือให้ หมดทุกส่ วน อย่ างถูก
วิธี โดยเฉพาะบริเวณรอยต่ อระหว่ างสายสะดือกับบริเวณผิวหนัง
หลังอาบนา้ และทุกครัง้ ที่ถ่ายอุจจาระ-ปั สสาวะเปื ้ อนสะดือ ที่สาคัญ
ควรระวังอย่ าให้ แป้งฝุ่ นเข้ าไปบริเวณสะดือเวลาทาตัว
Dangerous : สะดือไม่ แห้ ง เวลาร้ องหรื อเบ่ งมีเลือดออก
ซิบ ๆ สะดือเกิดอักเสบขึน้ เนื่องจากการติดเชือ้ รอบสะดือ
จะบวมแดงผิดปกติ เลือดออกและมีกลิ่นเหม็น ร้ องกวน
ตัวเหลืองไม่ หาย
Why : เด็กที่เหลืองมากจนเกินไปนัน้ อาจทาให้ เป็ นอันตรายต่ อ
สมอง เนื่องมาจากระดับของบิลิรูบนิ ที่สูงขึน้ จนเป็ นพิษต่ อสมอง
และอาการตัวเหลืองเป็ นอาการของโรคร้ ายแรงบางอย่ าง เช่ น ตับ
อักเสบ ท่ อนา้ ดีตนั
Takecare : การได้ รับนมแม่ อย่ างเพียงพอจะช่ วยให้ เด็ก
สามารถกาจัดบิลิรูบนิ ได้ ดขี นึ ้
Dangerous : เลย 2 สัปดาห์ แล้ ว แต่ ยังตัวเหลือง ตา
เหลือง ปั สสาวะก็เป็ นสีเหลือง โดยเริ่มเหลืองที่ใบหน้ าแล้ ว
ค่ อย ๆ ไล่ ไปลาตัว ขาและเท้ า โดยเหลืองขึน้ อย่ างรวดเร็ว
และมีอาการผิดสังเกต เช่ น ซึม งอแง ไม่ ดดู นม หรื ออาเจียน
ร่ วมด้ วย ภาวะตัวเหลืองถ้ าปล่ อยทิง้ ไว้ นาน อาจทาให้ เด็กมี
อาการผิดปกติ ชักเกร็งและพัฒนาการช้ ากว่ าเด็กปกติ
ฝ้าขาว-เชือ้ ราในปาก
Why : ฝ้าขาวมักจะเกิดกับเด็กที่กินนมแม่ แต่ ต้องคอยดู เพราะ
บางทีอาจจะเป็ นเชือ้ ราได้ ไม่ ใช่ แค่ ฝ้านม กรณีท่ เี ป็ นเชือ้ รามี
ลักษณะเป็ นแผ่ นคราบสีขาว แต่ ตดิ แน่ นเช็ดไม่ ออก มักพบในเด็กที่
กินนมผสมแล้ วล้ างจุกนมไม่ สะอาด หรือมีสารปนเปื ้ อนอยู่
Takecare : การป้องกันเชือ้ ราในช่ องปากได้ โดยการรักษา
ความสะอาดในช่ องปาก ถ้ าเห็นว่ าเพิ่งเริ่มมีฝ้าขาว ๆ อาจใช้ ผ้าบาง
ๆ สะอาดชุบนา้ อุ่นเช็ดเบา ๆ ที่ลนิ ้ ฝ้าเหล่ านัน้ ก็จะหายไปได้ ซึ่ง
ลักษณะนีถ้ ือว่ าไม่ ได้ เป็ นอันตราย
Dangerous : สังเกตเห็นฝ้าขาวแผ่ นหนาในปาก ร้ อง
งอแง ไม่ ยอมกินนม นา้ หนักลด แต่ ถ้าเช็ดแล้ วฝ้าขาวยังไม่
หมดไป ต้ องรี บไปพบแพทย์
ท้ องเสีย
Why : อาจเกิดจากอาหารและนา้ ดื่มไม่ ถูกสุขลักษณะและ
สะอาด และเชือ้ โรคหรือสิ่งสกปรกอาจมาจากมือของเด็กในการ
หยิบจับของเข้ าปาก หรือมาจากภาชนะที่นามาใส่ อาหารหรือ
เครื่องดื่ม นอกจากนีอ้ าจเกิดจากการติดเชือ้ อื่น ๆ ในทางเดิน
อาหาร เช่ น บิด อหิวาต์ ไทฟอยด์ เชือ้ รา โรต้ าไวรัส หรืออาจเกิด
จากการแพ้ นม แพ้ อาหาร หรือได้ ยาปฏิชีวนะบางตัวได้ ด้วยเช่ นกัน
Takecare : นอกเหนือจากอาหารที่ให้ ปกติ(นมแม่ นม
ผง) ควรให้ ด่ มื นา้ เกลือแร่ หมั่นล้ างมือบ่ อยๆ ไม่ ให้ เด็ก
ดื่มนา้ หวาน เพราะนา้ ตาลอาจทาให้ ท้องเสีย และห้ ามให้
ยาแก้ ท้องเสีย
Dangerous : ถ่ ายอุจจาระที่มีลักษณะหรือจานวนครัง้ ผิดไปจาก
ปกติท่ เี คยถ่ าย และมีอาการร้ องแบบเจ็บปวด เกร็ง กามือแน่ น ปลายเท้ าจิก
ลงก่ อนการถ่ ายเหลว หรือถ่ ายเป็ นนา้ ท้ อง อาเจียนมาก ไข้ ขนึ ้ สูง อ่ อนเพลีย
ซึม เพราะร่ างกายสูญเสียนา้ อาหาร เกลือแร่ มากกว่ าปกติ ส่ งผลให้ ปริมาณ
เลือดในร่ างกายลดลง สามารถทาให้ ทารกเกิด "ภาวะขาดนา้ " และ "ช็อก"
ได้ อย่ างรวดเร็ว จึงไม่ ควรรอช้ า ต้ องรี บไปพบแพทย์
อาการร้ องโคลิก
Why : โดยทั่วไป อาการร้ องโคลิกมักเริ่มเกิดขึน้ ในช่ วงเดือนแรกของ
ทารกแรกเกิด และอาการจะต่ อเนื่องไปจนกระทั่งทารกอายุครบ 3 เดือน
หรือมากกว่ านัน้ การร้ องจะเลิกไปในที่สุด อาการร้ องโคลิกอาจเกี่ยวเนื่อง
จากระบบการย่ อยอาหารของทารกยังทางานไม่ เต็มที่ เมื่อทารกแก่ เดือนขึน้
ร่ างกายเจริญเติบโตขึน้ ระบบการย่ อยอาหารทางานได้ ดีขนึ ้ อาการอาจ
หายไปเอง หรือบางครัง้ อาจเกี่ยวกับมีลมในท้ อง หรือท้ องอืด ทาให้ ทารกไม่
ค่ อยสบายตัว
Takecare :
1.ให้ เด็กอยู่ในห้ องที่เงียบ ๆ แสงสว่ างน้ อย ๆ เพื่อให้ เด็ก
สงบ พอจะช่ วยบรรเทาการร้ องลงไปได้ บ้าง
2.อุ้มเด็กแล้ วนั่งเก้ าอีโ้ ยก หรืออุ้มพาเดินรอบห้ อง ให้ เด็ก
นอนคว่าบนตักแม่ หรือนอนตะแคง หรือ ใช้ ผ้าอ้ อมห่ อตัวให้ แน่ น
พอสมควรเหมือนกับเด็กขดตัวอยู่ในท้ อง
3.ให้ เด็กนอนหงายแล้ วนวดท้ องในลักษณะทวนเข็ม
นาฬิกาเป็ นระยะเวลาสัน้ ๆ ไม่ เกิน 5 นาที
ควรพาเด็กพบแพทย์ เมือ่ :
- เด็กร้ องอย่างเจ็บปวด / ร้ องนานเกิน 3 ชัว่ โมง
- อาการเริ่ มหลังอายุ 1 เดือน หรื อยังคงมีอาการหลัง3
เดือน หรื อ มีอาการมากกว่า 2 หรื อ 3 ครัง้ ต่อวัน
- มีอาการผิดปรกติร่วมด้ วย เช่น มีถ่ายเหลว ถ่ายมีมกู เลือด
อาเจียน มีผื่นขึ ้น
การติดตามเยี่ยมบ้ าน
บทบาท อสม.ในการดูแลสุขภาพหญิงหลังคลอดในชุมชน
1.เยีย
่ มบานหญิ
งหลังคลอด แจ้งให้เจ้าหน้าทีป
่ ระจา
้
สถานีอนามัยทราบ
2.ติดตามเพือ
่ ขอเอกสารใบสูตบ
ิ ต
ั รเพือ
่ นาส่งสถานี
อนามัยเพือ
่ เป็ นฐานขอมู
้ ลในการรับบริการ
3.ติดตามพัฒนาการของเด็ก ทุกๆ 1 เดือน ชัง่
น้าหนัก วัดส่วนสูงเด็กทุกๆ3 เดือน ประเมินผล
หาทางแกไขเมื
อ
่ พบเด็กทุพภาะโภชนาการตา่
้
บทบาท อสม.ในการดูแลสุขภาพหญิงหลังคลอดในชุมชน
4.ช่วยเหลือให้คาแนะนาครอบครัวทีไ่ ม่
สามารถเลีย
้ งลูกเองได้ คอยเป็ นกาลังใจให้กับ
คุณยายทีเ่ ลีย
้ งดูหลาน
5.เขาไปดู
แลโดยสอบถามถึงปัญหา พรอม
้
้
ทัง้ ช่วยหาทางแกไขปั
ญหา
้
6.แนะนาให้เปิ ดดูสมุดประจาตัวเด็กแกมารดา
่
เพือ
่ ประเมินโภชนาการดวยตนเองได
้
้
7.แนะนาการรับวัคซีนแตละช
่
่ วงอายุของเด็ก
และติดตามเด็กทีไ่ มมารั
บวัคซีนตามนัด
่
บทบาท อสม.ในการดูแลสุขภาพหญิง
ตัง้ ครรภในชุ
มชน
์
1.สารวจและจัดทาทะเบียนรายชือ
่ หญิงวัยเจริญพัน
ทีต
่ นเองรับผิดชอบ
2.เมือ
่ มีหญิงตัง้ ครรภในหลั
งคาเรือนทีร่ บ
ั ผิดชอบแน
์
ทีท
่ ราบวาตั
่ ง้ ครรภหรื
่ น 12 สั ปดาห ์
์ อไมเกิ
3.ติดตามเยีย
่ มบานแนะน
าการทานอาหาร ทานยา
้
และการดูแลสุขภาพสาหรับหญิงตัง้ ครรภ ์
งตัง้ ครรภมี
4.ติดตามเมือ
่ พบวาหญิ
่
์ อาการผิดปกติหร
มาพบเจ้าหน้าทีส
่ ถานีอนามัยทันที
5.แนะนาการเตรียมตัวกอนคลอดและเตรี
ยมสมุดปร
่