การฆ่าเชื้อ

Download Report

Transcript การฆ่าเชื้อ

LABORATORY SELF-ASSESSMENT
FOR TB INFECTION CONTROL
ธีรวิทย์ ทัศนียพันธุ์
ศูนย์ ความร่ วมมือไทย-สหรั ฐด้ านสาธารณสุข
วงจรการติดเชือ้
วิธีการแพร่ กระจายเชือ้ วัณโรค
Airborne Transmission
Droplet nuclei คือฝอยละอองที่มีขนาด
เล็กกว่า 5 ไมครอน ซึง่ จะสามารถแขวนลอยอยู่
ในอากาศได้ เป็ นเวลานาน และเมื่อสูดเข้ าไปจะ
สามารถไปได้ ถึงถุงลมฝอย
Picture Ref. http://respiratory-supplies.medical-supplies-equipment-company.com/flu-transmission-and-flu-prevention-576.htm
ขนาดและปริมาณของละอองฝอย
การแพร่ กระจายเชือ้ วัณโรคในสถานพยาบาล
ผู้ป่วย
เจ้ าหน้ าที่
ญาติ
เส้ นทางการแพร่ กระจายเชือ้ วัณโรค
เวชระเบียน
ตรวจร่ างกายเบือ้ งต้ น
X-Ray
พบแพทย์
รั บยา
Lab
แผนกต่างๆ ทีผ
่ ู ้ป่ วยวัณโรคต ้องไปติดต่อ
เวชระเบียน
วอร์ ดผู้ป่วย
วอร์ ดแม่ และเด็ก
Unsuspected TB Patient
ผู้ป่วยนอก
บ้ าน/ส่ งต่ อ
TB Clinic
VCT
X-ray
Lab
สูตนิ รี เวช
กายภาพบาบัด
TB Ward
LABORATORY ACQUIRED TUBERCULOSIS
การเกิดละอองฝอยในห้ องปฏิบัตกิ าร
• ไอ จาม พูด
• เก็บเสมหะ
o การเผาลูปเขี่ยเชือ้
o การ fix เสมียร์ สไลด์ ด้วยความร้ อน
o การปิ เปต
o การเขย่ าหลอดทดลอง
o การเท
o การปั่ นตกตะกอน
หลักการของการควบคุมการแพร่ กระจายเชือ้
มาตรการในการควบคุมป้องกัน
การแพร่ กระจายวัณโรค
Administrative Controls
การบริหารจัดการด้ านนโยบาย
Environment Controls
การควบคุมด้ านสิ่งแวดล้ อม
Personal Respiratory Protection
การป้องกันระบบทางเดินหายใจระดับบุคคล
การบริหารจัดการด้ านนโยบาย
ลดความเสี่ยงในการแพร่ กระจายเชือ้ การติดเชือ้ และการ
เกิดโรคโดยการใช้ นโยบายและข้ อกาหนดในการปฏิบัตงิ าน
การควบคุมสิ่งแวดล้ อม
ลดการแพร่ กระจาย และความเข้ มข้ นของละอองฝอยที่มี
เชือ้ วัณโรคในบริเวณที่มีโอกาสปนเปื ้ อนเชือ้ วัณโรค
การป้องกันทางเดินหายใจระดับบุคคล
ป้องกันเจ้ าหน้ าที่ผ้ ูมีความเสี่ยงต่ อการได้ รับเชือ้ วัณโรคที่ต้อง
ปฏิบัตงิ านในพืน้ ที่ปนเปื ้ อนเชือ้ วัณโรค
มาตรการในการควบคุมป้องกันการแพร่ กระจายวัณโรค
การจัดการด้ านนโยบาย
1
การแยกผู้ป่วย
การใส่ หน้ ากากอนามัย
การรักษาอย่ างถูกต้ อง
มาตรการในการควบคุมป้องกันการแพร่ กระจายวัณโรค
1
การจัดการสิ่งแวดล้ อม
2
การเจือจาง (การระบายอากาศ)
การกาจัด (พัดลม)
การฆ่ าเชือ้ (แสงยูวีซ)ี
14
มาตรการในการควบคุมป้องกันการแพร่ กระจายวัณโรค
1
2
การใช้ อุปกรณ์ ป้องกัน
ทางเดินหายใจ
3
15
มาตรการในการควบคุมป้ องกันการแพร่ กระจายวัณโรค
1
2
3
การให้ การศึกษา ความรู้ ความเข้ าใจ
16
การควบคุมป้องกันการแพร่ กระจายวัณโรค
สาหรับห้ องปฏิบัติการ
Laboratory
Biosafety
เจ้ าหน้ าที่
ผู้ป่วย
สิ่งส่ งตรวจ
สถานที่
• Safety policy/ Safety manual
• Safe systems of work
• Lab staff training
• SOP compliance
Ref. http://www.swissbiosafety.ch/fileadmin/Event_2008_Previsani.pdf
การบริหารจัดการด้ านนโยบาย
แนวทางการดาเนินงาน
• กาหนดผู้รับผิดชอบ (Biosafety officer)
• กาหนดแผนงานปฏิบัตเิ ฉพาะกับห้ องปฏิบัตกิ าร
• ฝึ กอบรม (ทบทวน) ผู้ร่วมงาน (ก่ อนและหลังเข้ าปฏิบัตงิ าน)
• ตรวจสอบให้ การปฏิบัตงิ านเป็ นไปตามแผน
• ประเมิน ทบทวน และปรั บปรุ งแผนงานให้ เข้ ากับบริบทของ
ห้ องปฏิบัตกิ ารที่อาจเปลี่ยนไป
• จัดหาวัสดุอุปกรณ์ เพื่อสนับสนุนความปลอดภัย
• การเฝ้าระวังการเจ็บป่ วยของเจ้ าหน้ าที่
• มาตรการรองรั บทัง้ ผู้รับ และผู้ให้ บริการ
การบริหารจัดการด้ านนโยบาย
ตัวอย่ างการบริหารจัดการด้ านนโยบาย
• กาหนดหน้ าที่รับผิดชอบของเจ้ าหน้ าที่ในหน่ วยงาน
• แยกพืน้ ที่ส่วนปฏิบัตกิ ารชันสูตรโรคจากบุคคลภายนอก
• มีพนื ้ ที่เก็บเสมหะที่เหมาะสม
• มีระบบการรั บส่ งสิ่งส่ งตรวจที่ปลอดภัย
• ให้ บริการด้ านการป้องกัน และทาความสะอาด
• ให้ บริการเร่ งด่ วน และระบบรายงานผล
• มีการกาจัดขยะติดเชือ้ ถูกต้ องเหมาะสม
บริเวณเจาะเลือด
บริเวณเจาะเลือด
การรับส่ งสิ่งส่ งตรวจและรายงานผลตรวจ
สถานที่เก็บเสมหะ
สถานที่เก็บเสมหะ
สถานที่เก็บเสมหะ
สถานที่เก็บเสมหะ
สถานที่เก็บเสมหะ
ภาชนะสาหรับเก็บเสมหะ
ภาชนะเก็บเสมหะ
การนาส่ งภาชนะเก็บเสมหะ
การนาส่ งภาชนะเก็บเสมหะ
จุดรับ-ส่ งสิ่งส่ งตรวจ
ระบบบริการพิเศษ
Good Microbiological Practices
การควบคุมสิ่งแวดล้ อม
ลดการแพร่ กระจาย และความเข้ มข้ นของละอองฝอยที่มี
เชือ้ วัณโรคในบริเวณที่มีโอกาสการปนเปื ้ อนของเชือ้ วัณโรค
• ทิศทางลม การระบายอากาศ
• ประสิทธิภาพการทางานของอุปกรณ์
• การบารุ งรักษาอุปกรณ์
• ตาแหน่ งที่ตงั ้ ของอุปกรณ์
• ระบบการจัดการของเสีย
ห้ องปฏิบัตกิ ารในอุดมคติ
ห้ องปฏิบัติการในความเป็ นจริง
ตู้ปลอดเชือ้
Smoke test
การบารุ งรักษาเครื่องมือ
การบารุ งรักษาเครื่องมือ
การบารุ งรักษาเครื่องมือ
เครื่องนึ่งฆ่ าเชือ้ แรงดันไอ
• Autoclave tape
• Spore test
• Annual maintenance
การป้องกันทางเดินหายใจระดับบุคคล
ป้องกันเจ้ าหน้ าที่ผ้ ูมีความเสี่ยงต่ อการได้ รับเชือ้ วัณโรคที่ต้อง
ปฏิบตั งิ านในพืน้ ที่ปนเปื ้ อนเชือ้ วัณโรค
• อุปกรณ์ มีพร้ อมใช้
• อุปกรณ์ เหมาะสมต่ อลักษณะงาน
• การอบรมการใช้ อุปกรณ์ อย่ างถูกวิธี
• การทา Fit test สาหรับ N95
การทดสอบความกระชับของหน้ ากาก N95
ปั ญหา และอุปสรรค
• ความตระหนัก และความเข้ าใจของบุคลากร
• การสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชา
• พืน้ ที่ให้ บริการ
• งบประมาณ
• ผู้มีความความชานาญเฉพาะด้ าน
• การประสานงานระหว่ างหน่ วยงาน
• ผู้รับผิดชอบของหน่ วยงาน
จะเริ่มต้ นพัฒนางาน TB IC อย่ างไร
• จัดตัง้ ทีมงาน และกาหนดหน้ าที่ความรับผิดชอบ
• ประเมินความเสี่ยงด้ านต่ างๆ
เส้ นทางคนไข้ (ตัง้ แต่ เก็บสิ่งส่ งตรวจจนถึงรับผล)
เส้ นทางสิ่งส่ งตรวจ (ตัง้ แต่ เก็บจนถึงกาจัด)
การปฏิบัตงิ าน
ตรวจสอบอุปกรณ์
• เขียนแผนงานให้ เหมาะสมกับระดับความเสี่ยง และนาไปใช้
• อบรมเจ้ าหน้ าที่
• ทบทวนแผนงาน และปรับปรุ งให้ เหมาะกับบริบท