การพูดในทีช่ ุมชน จุดมุ่งหมายของการพูด  การพูดเพื่อสนทนาสร้ างการติดต่อสื่อสารและความเข้ าใจ  การพูดเพื่อบอกกล่าวหรื อนาเสนอรายงาน  การพูดเพื่อให้ การศึกษาหรื อเรี ยนรู้ เช่น การสอน การสัมมนา  การพูดเพื่อชักชวนจูงใจ เช่น โฆษณาสินค้ า บริ.

Download Report

Transcript การพูดในทีช่ ุมชน จุดมุ่งหมายของการพูด  การพูดเพื่อสนทนาสร้ างการติดต่อสื่อสารและความเข้ าใจ  การพูดเพื่อบอกกล่าวหรื อนาเสนอรายงาน  การพูดเพื่อให้ การศึกษาหรื อเรี ยนรู้ เช่น การสอน การสัมมนา  การพูดเพื่อชักชวนจูงใจ เช่น โฆษณาสินค้ า บริ.

การพูดในทีช่ ุมชน
จุดมุ่งหมายของการพูด
 การพูดเพื่อสนทนาสร้ างการติดต่อสื่อสารและความเข้ าใจ
 การพูดเพื่อบอกกล่าวหรื อนาเสนอรายงาน
 การพูดเพื่อให้ การศึกษาหรื อเรี ยนรู้ เช่น การสอน การสัมมนา
 การพูดเพื่อชักชวนจูงใจ เช่น โฆษณาสินค้ า บริ จาคเงิน ขายสินค้ า
 การพูดเพื่อการประสานสัมพันธ์ ต้ องเป็ นกลาง มีความน่าเชื่อถือ
 การพูดเพื่อให้ ความบันเทิง
 การพูดเพื่อค้ นหาคาตอบหรื อปรึกษาหารื อ เช่น การปรึกษากับ
ทนายความ นักจิตวิทยา ตารวจ
วิธีการพูดในทีช่ ุมชน
 พูดแบบท่ องจา
 พูดแบบมีต้นฉบับ(พูดไปอ่ านไป)
 พูดจากความเข้ าใจ
 พูดแบบกะทันหัน
เสน่ ห์ภายนอก
รู ปร่ างหน้ าตา
สบสายตา
นา้ เสี ยง
ภาษา
เสน่ ห์ภายใน
ความมัน่ ใจในตนเอง
ความกระตือรือร้ น
ความรอบรู้ , ความคิดริเริ่ม
ความจริงใจ, ความรู้ กาละเทศะ
ปฏิภาณไหวพริบ, ความรับผิดชอบ
ความจา, อารมณ์ ขนั
ความมีคุณธรรม
การแต่ งกาย
กิริยาท่ าทาง
ถ้ อยคา
ศิลปะการพูด
การแบ่ งระดับของการพูด
1. การพูดระหว่ างบุคคล
ทักทาย สนทนา สัมภาษณ์ การปรึกษา
2. การพูดในกลุ่ม
อภิปรายกลุม่ การประชุม การวางแผน
3. การพูดในที่ชุมชน
การบรรยาย ปาฐกถา โต้ วาที อภิปราย รายงาน พูดโอกาสต่างๆ
4. การพูดทางสื่อมวลชน
อาชีพสื่อมวลชน/แขกที่ได้ รับเชิญ
การพูดในที่ชุมชนตามโอกาสต่างๆ
การพูดอย่ างเป็ นทางการ
การพูดอย่ างไม่ เป็ นทางการ
การพูดกึง่ ทางการ
การเตรี ยมตัวพูดในที่ชุมชน
 กาหนดจุดมุ่งหมายให้ ชัดเจนว่ าจะ
พูดอะไร เพือ่ อะไร มีขอบเขตมาก
น้ อยเพียงใด
 วิเคราะห์ ผู้ฟัง พิจารณาจานวน
ผู้ฟัง เพศ วัย การศึกษา
สถานภาพทางสั งคมฯ
 กาหนดขอบเขตของเรื่อง
 เรียบเรียงเนือ้ หา ต้ องจัดเนือ้ หาให้
ประโยชน์ ผู้ฟังมากทีส่ ุ ด
 การซ้ อมพูด เพือ่ แสดงความมั่นใจ
 เมื่อได้ รับเชิญพูดอย่ าตกใจ เคอะ
เขิน ต้ องภูมิใจ เดินอย่ างสง่ าฯ
 พูดเรื่องง่ ายและใกล้ตัวทีส่ ุ ด
 ในกรณีตอบคาถามต้ องทวน
คาถามตอบตามลาดับกระชับ
ชัดเจน
 ผู้พดู ต้ องมีปฏิภาณ (แสดงความ
คิดเห็น แก้ปัญหา ฝึ กคิดให้ เร็ว
ความคิดแบบสร้ างสรรค์ )
การพูดประเภทต่ าง ๆในทีช่ ุมชน
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
สุ นทรพจน์
โอวาท
คาปราศรัย
คาไว้อาลัย
กล่าวอวยพร
กล่าวสดุดี
กล่าวมอบรางวัล
กล่าวต้อนรับ
1.สุนทรพจน์
1. สุ นทรพจน์
 ใช้ถอ้ ยคาไพเราะลึกซึ้ งกินใจ จับใจ
 โน้มน้าวให้ผฟู้ ังคล้อยตาม
 กระตุน้ ผูฟ้ ัง มีความมัน่ ใจ และยินดีร่วมมือ
 สร้างบรรยากาศให้เกิดความหรรษา และให้ความสุ ขแก่ผฟู ้ ัง
ขัน้ ตอนของสุนทรพจน์
คานา(_Introduction) 5-10%
เนื้อเรื่ อง 80-90%
สรุ ปจบ 5-10%
ขึ้นต้นตื่นเต้น ตอนกลางให้กลมกลืน
และตอนจบให้จบั ใจ
ข้ อพึงหลีกเลีย่ งในการขึน้ ต้ น
►อย่ าออกตัว
►อย่ าขออภัย
►อย่ าถ่ อมตน
►อย่ าอ้ อมค้ อม
หลักในการขึน้ ต้ น
►ขึน
้ ต้ นแบบพาดหัว
►ขึน
้ ด้ วยคาถาม
►ขึน
้ ต้ นด้ วยการทาให้ ผู้ฟังสงสั ย
►ขึน
้ ต้ นด้ วยการอ้างบทกวี หรืวาทะของผู้มี
ชื่อเสี ยง
►ขึน
้ ต้ นด้ วยให้ สนุกสนาน
ข้ อหลีกเลีย่ งในการสรุปจบ
1. ขอจบ ขอยุติ
2. ไม่มากก็นอ้ ย
3. ขออภัย ขอโทษ
4. ขอบคุณ
วิธีสรุปจบทีไ่ ด้ ผล
►จบแบบสรุ ปความ
►จบแบบฝากให้ไปคิด
►จบแบบเปิ ดเผยตอนสาคัญ
►จบแบบชักชวนและเรี ยกร้อง
►จบแบบด้วยคาคม คาพังเพย สุ ภาษิต
2.โอวาท
►เนื้ อหามีคติเตือนใจ มีเหตุผล ไม่ยดื ยาว
►เป็ นการแสดงความปรารถนาดี
►อาจนาไปประพฤติปฏิบตั ิได้จริ ง
3. คาไว้ อาลัย
*งานศพ*จากไป*เกษียณ
 กล่าวถึงประวัติ
 กล่าวถึงผลงาน
 สาเหตุการเสี ยชีวต
ิ หรื อจากไป
 กล่าวถึงความอาลัยของผูท
้ ี่อยูเ่ บื้องหลัง
่ ถานที่ที่ดีและมีความสุ ข
 กล่าวถึงว่าผูจ้ ากไปจะไปอยูส
4. คาปราศรัย
ลักษณะของคาปราศรัย
1.
2.
3.
4.
พูดถึงความสาคัญของโอกาสนั้น
เน้นความสาคัญของสิ่ งนั้น ๆ
ชี้แจงความสาเร็ จ หรื อผลงานที่ผา่ นมา
กล่าวถึงอดีต ปั จจุบนั และความหวังใน
อนาคต และอวยพรให้เกิดความหวังใหม่ๆ
5. กล่ าวอวยพร
อวยพรขึ้นบ้ านใหม่
อวยพรวันเกิด
อวยพรค่ ส
ู มรส

6. กล่าวสดุดี
•กล่าวมอบวุฒิบตั ร ประกาศนียบัตร
•กล่าวสดุดีบุคคลสาคัญ
7. กล่ าวมอบรางวัล หรือตาแหน่ ง
•กล่าวมอบรางวัลหรื อตาแหน่ง
•กล่าวรับมอบตาแหน่ง
8. กล่าวต้อนรับ
•ต้ อนรับสมาชิกใหม่
• ต้ อนรับผ้ ูมาเยือน
9. ปาฐกถา
• พูดตรงตามหัวข้อกาหนด
• เนื้อหาสาระให้ความรู้ มีคาอธิบายตัวอย่างให้ฟัง
เข้าใจได้
• สร้างทัศนคดีที่ดีต่อเรื่ องที่พดู รวดเร็ว
10. การพูดเป็ นพิธีกร
และโฆษก
ข้ อแนะนาสาหรับผู้ทาหน้ าทีพ่ ธิ ีกร และโฆษก
• มีบุคลิกภาพดี
• ขณะพูดหน้าตายิม้ แย้มแจ่มใส มี
ชีวติ ชีวา ใจเย็น พูดจาไพเราะนิ่มนวล
• มีปฏิภาณไหวพริ บแก้ปัญหาเฉพาะ
หน้าได้ มีความคล่องตัว สร้าง
บรรยากาศเป็ นกันเอง
• พูดสั้น ได้เนื้อหาสาระ ใช้ถอ้ ยคา
สละสลวย เพื่อให้เกิดความสนใจ
• ศึกษาเรื่ องราวที่จะต้องทาหน้าที่
นาเสนอรายการเป็ นอย่างดี จ
• จัดลาดับเสนอสาระอย่างเป็ นระบบมี
ขอบเขต มีทศั นคติที่ดีต่อหน้าที่ที่ตอ้ ง
ทา
• มีความรับผิดชอบ
การเป็ นพิธีกร
เป็ นเจ้าของเวที
เป็ นผูด
้ าเนินรายการ
เป็ นผูแ้ ก้สถานการณ์เฉพาะหน้า
เป็ นผูม
้ ีประสานงานบันเทิงและ
สังคม
พิธีกรมีต้องความรู้ 4 อย่ าง
รู้ลาดับรายการ
รู้รายละเอียดของแต่ละรายการ
รู ้จกั ผูเ้ กี่ยวข้องในแต่ละรายการ
รู้จกั กาลเทศะ
พิธีกรควรเตรี ยมการในเทคนิค 7 ประการ
•
•
•
•
•
•
•
ต้องเตรี ยมความพร้อมทั้งร่ างกายและจิตใจ
ต้องมาถึงบริ เวณงานก่อนเวลา
สารวจความพร้อมของเวที แสง เสี ยง สี
เปิ ดรายการด้วยความสดชื่น กระปรี้ กระเปร่ า
ดึงดูดความสนใจมาสู่เวทีได้ตลอดเวลา(ทุกครั้งที่พดู )
แก้ปัญหาหรื อควบคุมสถานการณ์ เฉพาะหน้าได้อย่างดี
ดาเนินรายการจนจบหรื อบรรลุเป้ าหมายที่วางไว้