ลักษณะภูมิอากาศในทวีปแอฟริ กา จัดทาโดย ๑. ด.ช. พงศกร มาปัน เลขที่ ๕ ๒.ด.ญ. กรกนก วัฒนไชยศรี เลขที่ ๑๒ ๓.ด.ญ.

Download Report

Transcript ลักษณะภูมิอากาศในทวีปแอฟริ กา จัดทาโดย ๑. ด.ช. พงศกร มาปัน เลขที่ ๕ ๒.ด.ญ. กรกนก วัฒนไชยศรี เลขที่ ๑๒ ๓.ด.ญ.

ลักษณะภูมิอากาศในทวีปแอฟริ กา
จัดทาโดย
๑. ด.ช. พงศกร มาปัน
เลขที่ ๕
๒.ด.ญ. กรกนก วัฒนไชยศรี เลขที่ ๑๒
๓.ด.ญ. ธัญญา สุ รินทร์ ชัย เลขที่ ๑๙
๔.ด.ญ. ภัสราภา สิ นธุบุญ เลขที่ ๒๖
๕.ด.ญ. สุ ภานัน เชื้อเมืองพาน เลขที่ ๓๓
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒/๒
ลักษณะภูมอิ ากาศ
ปัจจัยที่ควบคุมลักษณะภูมิอากาศของทวีปแอฟริ กาให้มี
ลักษณะแตกต่างกันตามภูมิภาคต่างๆ ดังนี้
1. ทีต่ ้งั แอฟริ กาตั้งอยูร่ ะหว่างละติจูด 37 องศาเหนือ-35
องศาใต้ โดยมีเส้นศูนย์สูตรลากผ่านตอนกลางของทวีป ทาให้เนื้อที่
ประมาณ 3ใน 4 ส่ วนของทวีปอยูใ่ นเขตร้อน และมีพ้นื ที่เพียง 1 ใน 4
ที่อยูใ่ นเขตอบอุ่น
2. ลักษณะภูมิประเทศ เนื้อที่ประมาณ 2 ใน 3 เป็ นที่ราบสูง และยังเป็ น
ทวีปที่มีรูปร่ างไม่ค่อยเว้าแหว่ง จึงมีอ่าวและคาบสมุทรน้อยมาก
ประกอบกับตอนกลางของทวีปตั้งอยูใ่ นเขตศูนย์สูตร เป็ นเขตลมสงบที่
มีทิศทางการพัดของลมไม่แน่ชดั แอฟริ กาจึงได้รับอิทธิพลความชื้นและ
มวลอากาศจากทะเลน้อยมาก แม้จะมีแนวเทือกเขาทางด้านตะวันตก
เฉียงเหนือ ตะวันออก และตะวันออกเฉียงใต้กไ็ ม่มีผลต่อความชื้น
ภายในทวีปมากนัก
3. กระแสนา้ ทางภาคเหนือด้านชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก มี
กระแสน้ าเย็นกรี นแลนด์ไหลมาพบกับกระแสน้ าอุ่นกัลฟ์ สตรี มบริ เวณ
ชายฝั่งตะวันออกของทวีปอเมริ กาเหนือและจมลง แล้วมาโผล่ข้ ึนแถบ
ชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของแอฟริ กา บริ เวณชายฝั่งของประเทศ
โมร็ อกโก และดินแดนสะฮาราตะวันตก เรี ยกว่า กระแสน้ าเย็นคานารี
ส่ วนชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ บริ เวณประเทศสาธารณรัฐแอฟริ กาใต้
และนามิเบีย มีกระแสน้ าเย็นเบงเก-ลาไหลผ่าน ดังนั้น การที่ทวีป
แอฟริ กาตั้งอยูใ่ นเขตร้อนแต่มีกระแสน้ าเย็นไหลผ่านชายฝั่ง ย่อมทาให้
ดินแดนที่ต้ งั อยูช่ ายฝั่งเหล่านั้นมีอากาศไม่ร้อนมากนัก
ลักษณะภูมิอากาศในทวีปแอฟริกา
1.ภูมิอากาศแบบป่ าดิบชื ้น (Af)
2.ภูมิอากาศแบบทุง่ หญ้ าเมืองร้ อน หรื อทุง่ หญ้ าสะวันนา (Aw)
3.ภูมิอากาศแบบทุง่ หญ้ ากึง่ ทะเลทราย (BS)
4.ภูมิอากาศแบบทะเลทราย (BW)
5.ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์ เรเนียน (Cs)
6.ภูมิอากาศแบบอบอุน่ ชื ้น (Cfa)
1. ภูมิอากาศแบบป่ าดิบชื้น
เป็ นเขตที่มีอากาศร้ อนและฝนตกชุกพืชพรรณธรรมชาติเป็ น
ป่ าทึบ หรือป่ าดงดิบ ได้ แก่ บริเวณชายฝั่ งรอบอ่ าวกินี ลุ่มแม่ นา้
คองโก เขตที่สูงในแอฟริกาตะวันออก และฝั่ งตะวันตกของเกาะ
มาดากัสการ์
2. ภูมอิ ากาศแบบทุ่งหญ้ าเมืองร้ อน หรือทุ่งหญ้ าสะวันนา
เป็ นเขตอากาศทีม่ ีฝนตกชุ กในฤดูร้อนและแห้ งแล้งในฤดูหนาว พืช
พรรณธรรมชาติเป็ นต้ นไม้ สลับทุ่งหญ้ า ได้ แก่ บริเวณตอนเหนือและ
ตอนใต้ ของแนวศูนย์ สูตร ซึ่งอยู่รอบๆ เขตป่ าดิบชื้น
3. ภูมิอากาศแบบทะเลทราย
เป็ นเขตที่มีอากาศร้อนและแห้งแล้งมากที่สุด มีฝนตกน้อยกว่า 10 นิ้ว
ต่อปี พืชพรรณธรรมชาติมีอยูบ่ า้ ง เช่น อินทผลัม ตะบองเพชร ได้แก่
บริ เวณตอนเหนือของทวีป มีทะเลทรายสะฮาราและทะเลทรายลิเบีย ซึ่ งมี
อาณาเขตต่อเนื่องกัน มีเนื้อที่ประมาณ 9 ล้านตารางกิโลเมตร หรื อ
ประมาณร้อยละ 30 ของเนื้อที่ท้ งั ทวีป และเป็ นเขตทะเลทรายที่กว้างใหญ่
ที่สุดในโลก ส่ วนทางตอนใต้มีทะเลทรายคาลาฮารี และทะเลทรายนามิบ
ทะเลทรายสะฮารา
4. ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้ ากึง่ ทะเลทราย
เป็ นเขตที่มีอากาศไม่แห้งแล้งมากเหมือนในเขตทะเลทราย มีฝนตก
ไม่เกิน 15 นิ้วต่อปี พืชพรรณธรรมชาติ เป็ นทุ่งหญ้าสั้น(สเตปป์ ) ได้แก่
บริ เวณตอนกลางของทวีปและตอนใต้ของเส้นศูนย์สูตรระหว่างละติจูด
10-30 องศาใต้ ด้านชายฝั่งตะวันตกของทวีป
5. ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์ เรเนียน
เป็ นภูมิอากาศเย็นสบายตลอดปี ฤดูร้อนอากาศค่อนข้างร้อนและ
แห้งแล้ง มีแดดจัด ฤดูหนาวอบอุ่นและมีฝนตกค่อนข้างชุก ภูมิอากาศ
แบบนี้มีอยู่ 2 บริ เวณ คือ ทางตอนเหนือที่เรี ยกว่า ชายฝั่งบาร์บารี ได้แก่
บริ เวณชายฝั่งของประเทศโมร็ อกโก ตูนิเซีย กับทางตอนใต้ ได้แก่
คาบสมุทรภาคใต้ของสาธารณรัฐแอฟริ กาใต้
6. ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้น
เป็ นภูมิอากาศชื้นกึง่ ร้ อน เป็ นเขตทีม่ ีฝนตกมากในฤดูร้อน ฤดู
หนาวอากาศอบอุ่น เนื่องจากมีกระแสนา้ อุ่นโมซัมบิกไหลผ่ าน พบใน
บริเวณชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ ของสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ และภาคใต้
ของประเทศโมซัมบิก