ประวัตคิ วามเป็ นมา พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั และสมเด็จพระนางเจ้ าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จเยี่ยมโครงการพัฒนาพื ้นที่ราบเชิงเขา จังหวัดสระแก้ ว – ปราจีนบุรี ตามพระราชดาริ เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2525 สมเด็จพระนางเจ้ าฯพระบรมราชินีนาถทรงมีพระราชเสาวนีย์กบั คณะทางานตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริวา่ บริเวณ ด้ านล่างของอ่างเก็บน ้าช่องกล่าบน.

Download Report

Transcript ประวัตคิ วามเป็ นมา พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั และสมเด็จพระนางเจ้ าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จเยี่ยมโครงการพัฒนาพื ้นที่ราบเชิงเขา จังหวัดสระแก้ ว – ปราจีนบุรี ตามพระราชดาริ เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2525 สมเด็จพระนางเจ้ าฯพระบรมราชินีนาถทรงมีพระราชเสาวนีย์กบั คณะทางานตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริวา่ บริเวณ ด้ านล่างของอ่างเก็บน ้าช่องกล่าบน.

ประวัตคิ วามเป็ นมา
พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั และสมเด็จพระนางเจ้ าฯ
พระบรมราชินีนาถ เสด็จเยี่ยมโครงการพัฒนาพื ้นที่ราบเชิงเขา
จังหวัดสระแก้ ว – ปราจีนบุรี ตามพระราชดาริ เมื่อวันที่ 3
กรกฎาคม 2525
สมเด็จพระนางเจ้ าฯพระบรมราชินีนาถทรงมีพระราชเสาวนีย์กบั
คณะทางานตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริวา่ บริเวณ
ด้ านล่างของอ่างเก็บน ้าช่องกล่าบน มีสภาพเหมาะสมน่าจะทาเป็ น
แหล่งเพาะเลี ้ยงสัตว์ป่าที่หายากและใกล้ จะสูญพันธุ์ อีกทังเป็
้ นการ
อนุรักษ์ สตั ว์ป่าและสภาพป่ าบริเวณใกล้ เคียงให้ อยูใ่ นสภาพดี
ประวัตคิ วามเป็ นมา
กรมป่ าไม้ จงึ ดาเนินการตามพระราชเสาวนีย์โดย จัดตังสถานี
้
เพาะเลี ้ยงสัตว์ป่าช่องกล่าบนในปี พ.ศ. 2526
วัตถุประสงค์
 เพื่ออนุรักษ์ ความหลากหลายทางพันธุกรรมสัตว์ป่า
 เพื่ออนุรักษ์ สภาพป่ าบริ เวณใกล้ เคียงให้ อยูใ่ นสภาพสมบูรณ์
 ศึกษาวิจย
ั ด้ านการเพาะเลี ้ยงสัตว์ป่าที่หายากและใกล้ สญ
ู พันธุ์
เพื่อการอนุรักษ์ และปล่อยคืนสูธ่ รรมชาติ
 ศึกษาวิจย
ั ด้ านการเพาะเลี ้ยงสัตว์ป่าที่มีคณ
ุ ค่าทางเศรษฐกิจ
พื ้นที่ดาเนินการ
 อยูใ่ นเขตพื ้นที่อท
ุ ยานแห่งชาติปางสีดา

เนื ้อที่ประมาณ 430 ไร่
ตาบลหนองหมากฝ้าย
 อาเภอวัฒนานคร
 จังหวัดสระแก้ ว
 พิกด
ั TA 085465 (ระวางแผนที่ บ้ านช่อง
กุ่มใหญ่ที่ 5436 T)
สภาพภูมิอากาศ




สภาพอากาศร้ อนชื ้น
๐
อุณหภูมิสงู สุด 40 C ในฤดูร้อน
๐
อุณหภูมิต่าสุด 17 C ในฤดูหนาว
ปริ มาณน ้าฝนเฉลี่ย 1,400 มิลลิเมตร ต่อปี
ลักษณะภูมิประเทศ
เป็ นที่ราบเชิงเขา มีลาธารขนาดเล็กไหลผ่าน
 ความสูงจากระดับน ้าทะเลปานกลางประมาณ 100 เมตร
 ความลาดชันเฉลี่ย 5-10 องศา
 ดินเป็ นดินร่ วนปนทราย
 สภาพป่ าเป็ นป่ าดิบเขาผสมป่ าเบญจพรรณ

สภาพทรัพยากรธรรมชาติ
 ชนิดพันธุ์พืช
 พันธุ์ไม้ สว
่ นใหญ่ ได้ แก่ ตะเคียน กระบก
กระบาก ตะแบก
เคี่ยม มะค่าโมง ยางแดง โมกมัน สมพง กฤษณา
พะยอม คอแลน มะไฟ ติ ้ว นนทรี มะเดื่อป่ า ปอสา
 พันธุ์ไม้ ชนล่
ั ้ าง ได้ แก่ หวาย ผักหนาม หมากลิง เฟิ ร์น
สภาพทรัพยากรธรรมชาติ
ชนิดพันธุ์สต
ั ว์ป่า
 สัตว์ป่าที่สารวจพบในธรรมชาติ ได้ แก่ นกแก๊ ก ไก่ฟ้าหลังขาว
ไก่ฟ้าพญาลอ ไก่ป่าตุ้มหูขาว นกขุนทอง นกเอี ้ยงสาลิกา นก
เอี ้ยงหงอน นกเขาเขียว นกเขาไฟ นกกางเขนบ้ าน นกกางเขน
ดง นกกระรางหัวหงอก นกกะรางหัวขวาน นกแซงแซวหางบ่วง
นกโพระดก นกปรอดเหลืองหัวจุก นกกระแตแต้ แว๊ ด นกบังรอก
้
นกกระปูด นกขุนแผน นกเค้ าแมว นกกะเต็น เหยี่ยวนกเขา
เหยี่ยวแดง เก้ ง กระจงหนู หมูป่า หมีควาย ชะมด อีเห็น พังพอน
กระจ้ อน กระรอก กระแต กระต่ายป่ า เสือปลา แมวดาว งูหลาม
งูเหลือม งูสิงห์ งูจงอาง
สัตว์ป่าที่เพาะเลี ้ยงในสถานีเพาะเลี ้ยงสัตว์ป่าช่องกล่าบน
 สัตว์ปีก ได้ แก่ เป็ ดก่า เป็ ดแดง ไก่ฟ้าหลังเทาแข้ งดา ไก่ฟ้าหลัง
เทาแข้ งแดง ไก่ฟ้าหลังขาว ไก่ฟ้าหลังขาวจันทบูร ไก่ฟ้าพญาลอ
ไก่ฟ้าสีทอง ไก่ป่าตุ้มหูขาว นกแว่นสีเทา นกยูงไทย นกยูงอินเดีย
นกกระทาทุง่ นกตะกรุม นกแก้ วโม่ง นกแขกเต้ า นกแก้ วหัวแพร
นกเงือกสีน ้าตาล นกเงือกกรามช้ าง นกเงือกกรามช้ างปากเรี ยบ
นกแก๊ ก นกเงือกปากย่น นกเงือกหัวแรด นกกก นกขุนทอง
นกกางเขนบ้ าน นกกางเขนดง นกกวัก นกอีล้ มุ นกอีโก้ ง
สัตว์ป่าที่เพาะเลี ้ยงในสถานีเพาะเลี ้ยงสัตว์ป่าช่องกล่าบน
 สัตว์เลี ้ยงลูกด้ วยนม ได้ แก่
กวางป่ า ละมัง่ หมีขอ หมีคน
หมาจิ ้งจอก ชะนีมงกุฎ ชะนีธรรมดา ลิงกัง ลิงแสม
 สัตว์เลื ้อยคลาน ได้ แก่ งูหลาม เต่าจักร เต่าแก้ มแดง เต่าหวาย
ตะพาบธรรมดา
งานวิจยั ของสถานีเพาะเลี ้ยงสัตว์ป่า
ช่องกล่าบน
ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของนกขุนทองในกรงเลี ้ยง
Reproductive Biology of Hill Myna in Captivity
งานวิจยั ของสถานีเพาะเลี ้ยงสัตว์ป่าช่องกล่าบน
ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของนกขุนทองในกรงเลี ้ยง


นกขุนทองเป็ นนกประจาถิ่นอาศัยหากินและทารังในป่ า
สามารถนามาเลี ้ยงและฝึ กสอนให้ พดู ภาษามนุษย์ได้ ชดั เจน
จึงมีผ้ นู ิยมเลี ้ยงกันมากทังชาวไทยและชาวต่
้
างประเทศ
ปั จจุบนั นกขุนทองจัดเป็ นสัตว์ป่าคุ้มครอง
จากการศึกษาชีววิทยาการสืบพันธุ์ของนกขุนทองใน
กรงเลี ้ยง พบว่านกขุนทองจับคูก่ นั ตังแต่
้ ปลายเดือน
ธันวาคม ทารังตังแต่
้ เดือนมกราคม วางไข่ชดุ ละ 1-3 ฟอง
วางไข่วนั ละ 1 ฟอง ติดต่อกัน มีการผสมพันธุ์วางไข่ได้
ตลอดปี เมื่อนาลูกนกขุนทองอายุ 1 วัน ออกมาเลี ้ยง
งานวิจยั ของสถานีเพาะเลี ้ยงสัตว์ป่าช่องกล่าบน
ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของนกขุนทองในกรงเลี ้ยง






ไข่นกขุนทองรูปรี สีฟ้าอมเขียว มีจดุ ประสีน ้าตาลขนาดเล็ก
กระจายทัว่ ไป ส่วนหัวป้าน ส่วนท้ ายแหลม
ไข่นกขุนทองกว้ างเฉลี่ย 24.18 มิลลิเมตร
ยาวเฉลี่ย 33.09 มิลลิเมตร
น ้าหนักเฉลี่ย 10.49 กรัม
ไข่แต่ละชุดห่างกัน 10 – 92 วัน
ใช้ เวลาฟั กไข่จนออกเป็ นตัวนาน 13-16 วัน
งานวิจยั ของสถานีเพาะเลี ้ยงสัตว์ป่าช่องกล่าบน
ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของนกขุนทองในกรงเลี ้ยง




นกขุนทองทารังในโพรง สามารถใช้ ต้นมะพร้ าวหรื อไม้ อดั มาทา
เป็ นโพรงรังให้ นกขุนทองวางไข่ได้ โดยนกขุนทองสามารถทารัง
วางไข่ในโพรงที่มีความลึกจากปากโพรงด้ านล่างถึงก้ นโพรง 1040 ซม.
สามารถนาลูกนกขุนทองจากรังมาเลี ้ยงเองได้ ตงแต่
ั ้ อายุ 1 วัน
ลูกนกขุนทองสามารถกินอาหารได้ เองเมื่ออายุประมาณ 7
สัปดาห์
นกขุนทองสามารถเลียนเสียงได้ ชดั เจนเมื่ออายุประมาณ 32
สัปดาห์
งานวิจยั ของสถานีเพาะเลี ้ยงสัตว์ป่าช่องกล่าบน
ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของนกขุนทองในกรงเลี ้ยง



ลูกนกขุนทองที่เลี ้ยงด้ วยอาหารลูกสุนขั และที่เลี ้ยงด้ วยอาหารนก มี
การเจริ ญเติบโตไม่แตกต่างกัน
ลูกนกขุนทองมีการเจริ ญเติบโตอย่างรวดเร็วในระยะแรก และมีการ
เจริ ญเติบโตค่อนข้ างคงที่เมื่ออายุประมาณ 56 วัน
ปริ มาณอาหารลูกสุนขั และอาหารนกที่ใช้
ป้อนลูกนกขุนทองอายุ 1 วัน ถึงอายุ 56 วัน
เฉลี่ย 1.07 และ 1.13 กิโลกรัม ต่อตัว ตามลาดับ
การคมนาคม
เส้ นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 ผ่านมีนบุรี อาเภอเมือง อาเภอ
พนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ศูนย์ศกึ ษาการพัฒนาเขาหินซ้ อน แล้ ว
เข้ าทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 359 และ 317 ถึงจังหวัดสระแก้ ว
ระยะทางประมาณ 195 กิโลเมตร
 เส้ นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 305 ผ่านอาเภอองค์รักษ์ จังหวัด
นครนายก แล้ วเข้ าทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 33 ผ่านอาเภอ
ประจันตคาม อาเภอกบินทร์ บรุ ี จังหวัดปราจีนบุรี ถึงจังหวัดสระแก้ ว
ระยะทางประมาณ 214 กิโลเมตร

การคมนาคม
 จังหวัดสระแก้ วเดินทางผ่านสถานีขนส่งรถโดยสารประจาทาง
ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3462 ผ่านบ้ านคลองน ้าเขียว
แล้ วเข้ าทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3485 แล้ วแยกเข้ าอ่างเก็บ
น ้าท่ากระบากถึงสถานีเพาะเลี ้ยงสัตว์ป่าช่องกล่าบน ระยะทาง
ประมาณ 36 กิโลเมตร
สถานที่ติดต่อ




สถานีเพาะเลี ้ยงสัตว์ป่าช่องกล่าบน
ตู้ ปณ. 21 อาเภอเมือง
จังหวัดสระแก้ ว
27000
แผนที่การเดินทาง
รายงานผลการปฏิบัตงิ าน ประจาปี งบประมาณ
2548
1. ดูแลพืน้ ที่ 430 ไร่
2.
3.
4.
5.
6.
7.
ดูแลสัตว์ ป่า 46 ชนิด 956 ตัว
เพาะเลีย้ งสัตว์ ป่า 15 ชนิด 245 ตัว
ปรั บปรุ งดินโป่ งและแหล่ งนา้ 9 แห่ ง / 1 ไร่
ปรั บปรุ งแปลงพืชอาหารสัตว์ ป่า 50 ไร่
ปรั บปรุ งซ่ อมแซมกรงสัตว์ ปีก 99 กรง
ปรั บปรุ งซ่ อมแซมกรงสัตว์ เลีย้ งลูกด้ วยนม 20 กรง
รายงานผลการปฏิบัตงิ าน ประจาปี งบประมาณ
2548
8. ปรั บปรุ งซ่ อมแซมคอกสัตว์ กีบ 100 ไร่
9.
10.
11.
12.
13.
ปรั บปรุ งซ่ อมแซมอาคารและบ้ านพัก 4 หลัง
ตบแต่ งพืน้ ที่บริเวณสถานีฯ 75 ไร่
ทาแนวกันไฟ 3,225 เมตร
สนับสนุนพันธุ์สัตว์ ป่า 1 ชนิด 12 ตัว
ผลิตแผ่ นป้าย จัดนิทรรศการ 2 ครั ง้ / 30 แผ่ น