3.เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับครอบครัว ชุมชน สังคม อ.ระพีพรรณ

Download Report

Transcript 3.เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับครอบครัว ชุมชน สังคม อ.ระพีพรรณ

การจัดประชุมเชงิ ปฏิบต
ั ก
ิ ารเพือ
่ อบรมทักษะ
ในการปฏิบัตงิ านด ้านการจาแนก
เรือ
่ ง ความรู ้เกีย
่ วกับครอบครัว สงิ่ แวดล ้อม ชุมชน สงั คม
ื่ สาร : ทักษะและเทคนิคการหาสาเหตุการ
และการสอ
กระทาผิดของเด็กและเยาวชน
โดย รองศาสตราจารย์ระพีพรรณ คาหอม
วันที่ 18 กรกฏาคม 2557 เวลา 09.00-14.00 น.
ณ โรงแรมโฟร์วงิ สุขม
ุ วิท กรุงเทพมหานคร
1
ประเด็น
1. สาเหตุการกระทาความผิดของเด็กและเยาวชน
2. ปั จจัยทีม
่ ผ
ี ลหรือมีอท
ิ ธิพลต่อการกระทาผิดซ้าของเด็กและเยาวชน
3.แนวคิด/ทฤษฎีการกระทาผิดของเด็กและเยาวชน
4.กระบวนการยุตธิ รรมทางอาญาสาหรับเด็กและเยาวชน
5.การฝึ กปฏิบต
ั ก
ิ ารหาสาเหตุการกระทาผิดของเด็กและ
เยาวชน
2
1.สาเหตุการกระทาความผิดของเด็กและเยาวชน
สาเหตุการกระทาความผิดของเด็กและเยาวชนออกเป็น 3
ด้านได้แก่
1.มุมมองน ักกฎหมาย
น ักกฎหมายมองว่า การกระทาความผิดของเด็กและ
เยาวชนนน
ั้ เกิดจากความเยาว์ว ัย รูเ้ ท่าไม่ถงึ การณ์ หรือถูก
หลอกใช ้ ซงึ่ ไม่ถอ
ื ว่าเป็นการกระทาความผิดในทางอาญา แต่
ถือว่าเป็นเพียงพฤติกรรมเบีย
่ งเบนเท่านน
ั้
3
1.สาเหตุการกระทาความผิดของเด็กและเยาวชน
ั
2)มุมมองด้านสงคมวิ
ทยา
นักสงั คมวิทยามองว่า เด็กและเยาวชนกระทาความผิด เพราะ
ขาดตัวแบบของครอบครัว
การได ้รับแบบอย่างความประพฤติทไี่ ม่
ดีจากบุคคลรอบข ้าง เมือ
่ เด็กและเยาวชนยังขาดความหนักแน่นทาง
ั จูงได ้ง่าย ทาให ้พฤติกรรมเด็กและ
จิตใจ จึงอาจถูกครอบงา ชก
เยาวชนประพฤติผด
ิ ไปจากบรรทัดฐานของสงั คมและกลายเป็ นการ
กระทาความผิดต่อกฎหมาย
-การมีพฤติกรรมเบีย
่ งเบนทางสงั คม
ั
ฐานคิดน ักสงคมวิ
ทยา
-สถาบันทางสงั คมทาหน ้าทีก
่ ารควบคุมทางสงั คม เพือ
่
ป้ องกันการก่อเหตุในสงั คม การลดความเหลือ
่ มล้าทางสงั คม
4
1.สาเหตุการกระทาความผิดของเด็กและเยาวชน
3) ด้านจิตวิทยา
นักจิตวิทยาเห็นการกระทาความผิดของเด็กและเยาวชนเกิด
จาก
ึ่ มีแนวโน ้มทีจ
 ความผิดปกติของร่างกายและจิตใจ ซง
่ ะทาให ้
อารมณ์ของบุคคลแปรปรวน
 ขาดความยับยัง
้ ชงั่ ใจ ไม่สามารถควบคุมตนเองได ้ มีพฤติกรรม
เป็ นปฏิปักษ์ ตอ
่ สงั คมและคนรอบข ้าง และกระทาความผิดได ้ง่าย
่ ารกระทาทีร่ น
จนนาไปสูก
ุ แรงได ้

ฐานคิดการทางานก ับเด็กและเยาวชน
่ ารก่อเหตุในคดีตา่ งๆ การ
ความผิดปกติทางจิตใจทีน
่ าไปสูก
เยียวยา การบาบัด
5
1.สาเหตุการกระทาความผิดของเด็กและเยาวชน

ั
3) ด้านสงคมสงเคราะห์
ื่ ว่าการกระทาความผิดของเด็กและ
นักสงั คมสงเคราะห์เชอ
เยาวชนเกิดจาก
 ความยากจน
 การเลีย
้ งดูของครอบครัวทีไ่ ม่เหมาะสม
 การไม่ทาหน ้าทีข
่ องครอบครัวในสงั คม
 การอยูใ
่ นสภาพแวดล ้อมทีไ่ ม่เหมาะสม
ั คมทีไ่ ม่เป็ นธรรม
 โครงสร ้างสง
ฐานคิดการทางานก ับเด็กและเยาวชน
ื่ ว่า คนเปลีย
มนุษยนิยมเชอ
่ นแปลง ปรับเปลีย
่ นพฤติกรรม การ
ให ้โอกาสทางสงั คม
6
1.สาเหตุการกระทาความผิดของเด็กและเยาวชน

3) ด้านอาชญาวิทยา
ื่ ว่าการกระทาความผิดของเด็ก
นั กอาชญาวิทยาเชอ
และเยาวชนเกิดจากความผิดปกติทางกรรมพันธุ์
ฐานคิดการทางานก ับเด็กและเยาวชน
 การลงโทษ
 การกักขัง
 การควบคุม
7
เกิดเหตุสลดหญิงสาวว ัย 16 ปี ฆ่าต ัวตาย เนือ
่ งจาก
ต้องแต่งงานก ับชายข่มขืนเธอ

อมีนา ฟิ ลาลี เด็กสาววัย 16 ปี จาก
เมืองแทนเจียของโมรอคโค ได ้
ิ ใจกินสารหนูฆา่ ตัวตาย เพราะ
ตัดสน
บอบช้าและทุกข์ใจอย่างหนัก
หลังจากเธอถูกชายวัย 26 ปี ล่วง
ละเมิดทางเพศและข่มขืนเธออย่าง
เลือดเย็นเมือ
่ ปี กอ
่ น แต่เมือ
่ เรือ
่ งขึน
้ สู่
ั ้ ศาลแล ้ว ศาลกลับไม่ดาเนินคดีใด
ชน
ๆ กับคนร ้ายรายนี้ แต่กลับยืน
่ ข ้อเสนอ
ให ้เขารับผิดชอบความผิดดังกล่าว
ด ้วยการแต่งงานกับเธออย่างถูกต ้อง
ตามประเพณีและคนร ้ายเองก็ยอมทา
ตามเงือ
่ นไขนี้ เพือ
่ หนีความผิด ทา
ให ้อมีนาทุกข์ใจมากทีจ
่ ะต ้องแต่งงาน
กับคนร ้ายทีข
่ ม
่ ขืนตัวเอง
8
เกิดเหตุสลดหญิงสาวว ัย 16 ปี ฆ่าต ัวตาย เนือ
่ งจาก
ต้องแต่งงานก ับชายข่มขืนเธอ



เว็บไซต์เดลิเมลของอังกฤษ รายงานว่า เกิดเหตุสด
ุ สลดขึน
้ ในโมร็อคโค
เมือ
่ เด็กสาววัย 16 ปี รายหนึง่ ได ้กินสารหนูฆา่ ตัวตายหลังศาลโมร็อคโค
ิ ให ้เธอแต่งงานกับคนร ้ายทีก
ตัดสน
่ อ
่ คดีขม
่ ขืนเธอ
จากสถิตเิ มือ
่ เร็วๆ นี้ ระบุวา่ การโจมตีตอ
่ สตรีเพศ 50 เปอรเซนต์ ได ้เกิด
ขึน
้ กับคูส
่ ามีภรรยา
กระทรวงยุตธิ รรมโต ้แย ้งว่า เด็กหญิงดังกล่าวไม่ได ้ถูกข่มขืน โดยเซ็กส ์
ั พันธ์ใน
ของเธอกับผู ้ถูกกล่าวหาทีเ่ กิดขึน
้ ขณะทีเ่ ธออายุ 15 ปี เป็ นความสม
้
เชงิ สามีภรรยา แต่ผุู ้นาโมร๊อกโคประกาศว่า การบังคับใชกฎแต่
งงาน
ดังกล่าวแทบไม่คอ
่ ยเกิดขึน
้ เพราะสว่ นใหญ่จะมีการดาเนินคดีกน
ั เป็ นสว่ น
ใหญ่ อย่างไรก็ตาม ในขณะนี้ โมร๊อกโคมีกฎหมายกาหนดอายุการแต่งงาน
ิ ให ้เหยือ
ว่าจะต ้องมากกว่า 18 ปี แต่สาหรับผู ้พิพากษาก็มักจะตัดสน
่ วัย 15
ปี สามารถแต่งงานได ้

9
เกิดเหตุสลดหญิงสาวว ัย 16 ปี ฆ่าต ัวตาย เนือ
่ งจาก
ต้องแต่งงานก ับชายข่มขืนเธอ
 กฎหมายของโมรอคโคนั น
้
ผู ้ร ้ายก่อคดีขม
่ ขืนจะถูกละ
เว ้นโทษถ ้าหากผู ้ร ้ายยินยอมทีจ
่ ะแต่งงานกับเหยือ
่ ให ้
ถูกต ้องตามประเพณี ซงึ่ โดยสว่ นใหญ่แล ้วครอบครัว
ของเหยือ
่ ก็มักจะยอมให ้ลูกสาวแต่งงานกับคนร ้ายแต่
โดยดี เพราะมีความคิดว่าหญิงสาวทีถ
่ ก
ู ข่มขืนนั น
้ มี
ประวัตด
ิ า่ งพร ้อย คงไม่มผ
ี ู ้ชายคนไหนอยากแต่งงาน
ด ้วยอีกต่อไป ซงึ่ ความไม่เป็ นธรรมนีไ
้ ด ้ทาให ้หญิงสาว
ต ้องทุกข์ทรมานมาแล ้วหลายราย
10
2.ปัจจ ัยทีม
่ ผ
ี ลหรือมีอท
ิ ธิพลต่อการกระทาผิดซา้ ของเด็กและ
เยาวชน
ผศ.ดร.ชาญคณิต กฤตยา สุรย
ิ ะมณี /ดร.อุนส
ิ า เลิศโตมรสกุล
ั
คณะสงคมศาสตร์
และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาล ัยมหิดล ( มกราคม 2553 )
ึ ษาเรือ
ศก
่ ง การกระทาผิดซา้ ของเด็กและเยาวชนในคดีความผิดเกีย
่ วก ับ
ั จจ ัยที่
ทร ัพย์ในประเทศไทย : แนวทางในการป้องก ันและแก้ไขโดยอาศยปั
เป็นต ัวทานายทางด้านอาชญาวิทยา พบว่า
ปั จจัยทีม
่ ผ
ี ลหรือมีอท
ิ ธิพลต่อการกระทาผิดซ้าของเด็กและเยาวชน
มี 2 ระดับคือ
1.1 ระด ับบุคคล( MICRO)
1) ปั จจัยทางด ้านการควบคุมตนเอง (SELF-CONTROL) หรือ
หมายความว่า เด็กและเยาวชนทีก
่ ระทาผิดเหล่านีจ
้ ะมีระดับในการควบคุม
ี่ ง, มักจะ
ตนเองทีต
่ า่ คือ มีลักษณะบุคลิกภาพแบบ IMPULSIVE, ชอบเสย
้
ใชภาษากายมากกว่
าภาษาพูด, มักจะยึดถือตนเองเป็ นจุดศูนย์กลาง และ
โกรธฉุนเฉียวง่าย
11
2.ปัจจ ัยทีม
่ ผ
ี ลหรือมีอท
ิ ธิพลต่อการกระทาผิดซา้ ของเด็กและ
เยาวชน
ผศ.ดร.ชาญคณิต กฤตยา สุรย
ิ ะมณี /ดร.อุนส
ิ า เลิศโตมร
ั
สกุล คณะสงคมศาสตร์
และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาล ัยมหิดล (
ึ ษาเรือ
มกราคม 2553 ) ศก
่ ง การกระทาผิดซา้ ของเด็กและเยาวชน
ในคดีความผิดเกีย
่ วก ับทร ัพย์ในประเทศไทย : แนวทางในการ
ั จจ ัยทีเ่ ป็นต ัวทานายทางด้านอาชญา
ป้องก ันและแก้ไขโดยอาศยปั
วิทยา พบว่า
ปั จจัยทีม
่ ผ
ี ลหรือมีอท
ิ ธิพลต่อการกระทาผิดซา้ ของเด็กและ
เยาวชนมี 2 ระดับคือ
2) ปั จจัยทางด ้านการมีพันธะต่อสงั คม (SOCIAL BOND)
3) ปั จจัยทางด ้านการคบหากับเพือ
่ นทีก
่ ระทาความผิด
(DIFFERENTIAL ASSOCIATION)
12
2.ปัจจ ัยทีม
่ ผ
ี ลหรือมีอท
ิ ธิพลต่อการกระทาผิดซา้ ของเด็กและ
เยาวชน
1.2 ระด ับ MACRO หรือระด ับปัจจ ัยภายนอก
ปั จจัยภายนอกทีม
่ อ
ี ท
ิ ธิพลต่อการกระทาผิดของเด็กและ
เยาวชนฯ นอกเหนือจากปั จจัยสว่ นบุคคลดังทีไ่ ด ้กล่าวมาแล ้วข ้างต ้น
พบว่ามีอยูด
่ ้วยกัน 2 ปั จจัยคือ
ั (COMMUNITY
1.2.1 ปั จจัยทางด ้านละแวกบ ้านทีอ
่ ยูอ
่ าศย
CONTEXT) หรือปั จจัยทางด ้านสภาพแวดล ้อมทีอ
่ ยูร่ อบข ้างของเด็ก
และเยาวชน
1.2.2 ปั จจัยทางด ้านโอกาสในการกระทาผิด (RATIONAL
ิ ใจทีจ
CHOICE) หรือปั จจัยทีเ่ กิดจากการตัดสน
่ ะกระทาผิดของเด็ก
่ งโอกาสใน
และเยาวชน คือ เด็กและเยาวชนทีก
่ ระทาผิดซ้า จะมีชอ
การกระทาผิดเกีย
่ วกับทรัพย์และมีทก
ั ษะความสามารถในการหา
โอกาส และวิธใี นการกระทาผิดได ้ในระดับสูง
13
3.แนวคิด/ทฤษฎี การกระทาผิด
ของเด็กและเยาวชน
14
3.1 ทฤษฎีการคบหาสมาคมทีแ
่ ตกต่างก ันของเอ็ดวิน
ั
ซทเธอร์
แลนด์
( SUTHERLAND ’S DIFFERENTIAL ASSOCIATIONS THEORY)


Sutherland ได ้เสนอว่าพฤติกรรมอาชญากรรมไม่ได ้มีสาเหตุ
โดยตรงมาจากพันธุกรรม หรือสภาพแวดล ้อมทางสงั คม หากแต่เกิด
ิ โดย
จากกระบวนการเรียนรู ้พฤติกรรมอาชญากรรมจากบุคคลใกล ้ชด
ื่ สารกันไม่วา่ จะเป็ นทางวาจา หรือลักษณะท่าทาง
การติดต่อสอ
อธิบายว่า ทาไมคนถึงกระทาผิด โดยในทฤษฏีได ้กล่าวถึงการเรียนรู ้
ซงึ่ เกิดมาจากการทีม
่ นุษย์มาคบหาสมาคมกัน มีการเรียนรู ้พฤติกรรม
ของผู ้ทีเ่ ราคบหาด ้วย และมีการรับเอาแบบพฤติกรรมของบุคคลอืน
่
มาปฏิบต
ั ต
ิ าม ซงึ่ มีทงั ้ ดีและไม่ด ี อยูท
่ ผ
ี่ ู ้นัน
้ จะเลือกรับหรือมีโอกาส
รับเอาพฤติกรรมใดมามากกว่ากัน
15
3.1ทฤษฏีการเรียนรู ้ของ SUTHERLAND
มีลก
ั ษณะสาคัญ 9 ข ้อ
1. พฤติกรรมอาชญากรรมเกิดจากการเรียนรู ้
2.พฤติกรรมอาชญากรรม เกิดจากการเรียนรู ้ในการคบหาสมาคม
ื่ สาร
กับบุคคลอืน
่ ตามกระบวนการติดต่อสอ
3. หลักการสาคัญในสว่ นของการเรียนรู ้พฤติกรรมอาชญากรรมนัน
้
ิ กัน
เกิดขึน
้ ในกลุม
่ บุคคลทีส
่ นิทสนมใกล ้ชด
4. เมือ
่ พฤติกรรมอาชญากรรมได ้รับการเรียนรู ้ กระบวนการเรียนรู ้นี้
จะรวมถึง
(1) เทคนิคในการกระทาความผิด ซงึ่ บางครัง้ ก็งา่ ยบางครัง้ ก็
ั ซอน
้
ซบ
้ ผล
(2) ทิศทางเฉพาะของแรงดลใจ แรงผลักดัน การใชเหตุ
ตลอดทัศนะคติเกีย
่ วกับการกระทาผิด
16
ล ักษณะสาค ัญ ทฤษฏีการเรียนรูข
้ อง SUTHERLAND
(ต่อ)
5. ทิศทางเฉพาะของแรงดลใจและแรงผลักดัน จะถูก
เรียนรู ้จากการทาให ้เห็นด ้วยหรือไม่เห็นด ้วยกับกฎหมาย
ในบางสงั คม บุคคลอยูใ่ นกลุม
่ บุคคลทีเ่ ห็นด ้วยกับการ
ปฏิบต
ั ต
ิ ามกฎหมาย ในขณะทีบ
่ ค
ุ คลอืน
่ อยูใ่ นกลุม
่ บุคคล
ทีเ่ ห็นด ้วยกับการละเมิดกฎหมาย
6. หลักการสาคัญของการคบหาสมาคมทีแ
่ ตกต่างกัน คือ
บุคคลจะกลายเป็ นผู ้กระทาผิดเพราะว่า ความเห็นด ้วย
กับการละเมิดกฎหมายมีมากกว่าความเห็นด ้วยกับการไม่
ละเมิดกฎหมาย
7. การคบหาสมาคมอาจจะแตกต่างกันในด ้านความถี่
ระยะเวลา การให ้ความสาคัญ และความเข ้มข ้น
17
ล ักษณะสาค ัญ ทฤษฏีการเรียนรูข
้ อง SUTHERLAND
(ต่อ)
8. กระบวนการของการเรียนรู ้พฤติกรรมอาชญากรรมจะมี
กลไกการทางานทีเ่ หมือนกับการเรียนรู ้ทั่วไป
9. ในขณะทีพ
่ ฤติกรรมอาชญากรรมเป็ นการแสดงออกถึง
ความต ้องการ และค่านิยมทั่วไปของคนในสงั คมที่
่ าชญากรรมก็เป็ นความต ้องการเหมือนกัน ก็ไม่
ไม่ใชอ
จาเป็ นต ้องอธิบายโดยความต ้องการหรือค่านิยมนั น
้
เนือ
่ งจากพฤติกรรมต่อต ้านอาชญากรรมก็มค
ี วาม
ต ้องการและค่านิยมเดียวกัน บุคคลลักทรัพย์ก็เพือ
่
่ เดียวกันกับ กรรมกร
ต ้องการความมั่นคงในการเงินเชน
ทีท
่ างานหนักเพือ
่ ความมั่นคงในการเงิน
18
“การคบหาสมาคมก ับเพือ
่ นทีเ่ ป็นอาชญากร”



ความผูกพันกับเพือ
่ นจะสร ้างสภาพแวดล ้อมทีเ่ หมาะสม
สาหรับการเรียนรู ้และการสง่ เสริมสนั บสนุน ทัง้ ในด ้าน
ความพฤติกรรมและความเห็นด ้วยกับพฤติกรรมดังกล่าว
เยาวชนทีม
่ ค
ี วามผูกพันกับกลุม
่ เพือ
่ นทีเ่ ป็ นคนดี มี
แนวโน ้มทีจ
่ ะมีพฤติกรรมทีด
่ ี และความเห็นด ้วยกับ
พฤติกรรมทีถ
่ ก
ู กฎหมาย
ในทางตรงกันข ้ามเยาวชนทีม
่ ค
ี วามผูกพันกับกลุม
่ เพือ
่ นที่
เป็ นอาชญากร จะมีแนวโน ้มทีม
่ พ
ี ฤติกรรมอาชญากรรมและ
เห็นด ้วยกับพฤติกรรมอาชญากรรม
19
ั
3.2 ทฤษฎีพ ันธะทางสงคมของ
ทราวิช เฮอร์ช ิ
( HIRSCHI ’ S SOCIAL BONDING THEORY)



ั
ั
บุคคลทีม
่ พ
ี ันธะทางสงคมหรื
อมีความผูกพ ันทางสงคมน้
อย
จะมีแนวโน้มทีจ
่ ะมีพฤติกรรมอาชญากร
ั
พ ันธะทางสงคม
ประกอบด้วย
 ความผูกพ ัน (Attachment) : ความผูกพ ัน ร ัก ต่อ
บุคคล
 ข้อผูกม ัด (Commitment) : การผูกม ัดการดาเนิน
ชวี ต
ิ ทีถ
่ ก
ู ต้อง
 การเข้าร่วม (Involvement) : การเข้าร่วมกิจกรรม
ั
ทางสงคม
ื่ (Belief) : ความเชอ
ื่ ถือต่อความผูกพ ันของ
 ความเชอ
ั
สงคม
ผูก
้ ระทาผิดเพราะไม่มค
ี วามผูกพ ัน ขาดข้อผูกม ัด ไม่มก
ี าร
ื่ ทีไ่ ม่ถก
เข้าร่วมกิจกรรม และมีความเชอ
ู ต้อง
20
3.3ทฤษฎีว ัฒนธรรมรอง (SUBCULTURAL THEORY)


Albert Cohen (1955) ได้เน้นถึงความสาค ัญของค่านิยม
ั
ั้
ทางสงคม
และชวี ต
ิ ความเป็นอยูข
่ องบุคคล ซงึ่ ชนชนใน
ั
สงคมจะมี
คา
่ นิยมและความเป็นอยูท
่ แ
ี่ ตกต่างก ัน เด็กหรือ
ั้ าง ซงึ่ โคเฮน เรียกว่า ชน
เยาวชนทีม
่ าจากครอบคร ัวชนชนล่
ั้ างาน จะถูกอบรมเลีย
้ งดูให้มค
ชนท
ี วามเป็นอยูใ่ นล ักษณะ
ั
ตามสญชาติ
ญาณและมีพฤติกรรมก้าวร้าว และถูกปลูกฝัง
ให้มค
ี า
่ นิยมทีม
่ ง
ุ่ เน้นถึงการได้ร ับการตอบสนองต่อความพึง
ั้ โดยไม่คานึงถึงผลทีจ
พอใจในระยะสน
่ ะตามมาภายหล ัง อีก
ทงเรี
ั้ ยนรูถ
้ งึ การปฏิบ ัติตามคาสง่ ั ตามค่านิยมทีม
่ อ
ี ยู่ โดยไม่
ึ นึกคิดของบุคคลอืน
คานึงถึงเหตุผล ความร ัก หรือความรูส
้ ก
่
แต่อย่างใด
ั้
ในทางตรงก ันข้าม เด็กหรือเยาวชนของครอบคร ัวชนชน
้ งดูและปลูกฝังค่านิยมและความ
กลาง จะได้ร ับการอบรมเลีย
ั้ างาน
เป็นอยู่ ทีม
่ ล
ี ักษณะตรงก ันข้ามก ับครอบคร ัวชนชนท
21
3.4 ทฤษฎีการประท ับตรา
(LABELING THEORY)
ั
 กลุม
่ สงคมเป
็ นผูส
้ ร้างอาชญากร
การประณามและการปฎิเสธผูก
้ ระทาผิด
่ เสริมให้เกิดพฤติกรรม
 สง
 บุคคลทีถ
่ ก
ู ตราหน้ามีพฤติกรรมโต้ตอบ
ในทางลบ

22
4.กระบวนการยุตธ
ิ รรมทางอาญา
สาหร ับเด็กและเยาวชน
23
แนวคิดหล ัก
o เด็กเป็นกาล ังสาค ัญในการพ ัฒนาประเทศชาติ
ิ ธิของเด็กและ
o ทุกประเทศแสวงหาให้ความคุม
้ ครองสท
เยาวชน
ั
ิ ธิเด็ก เป็นเสาหล ักแห่งสท
ิ ธิเด็ก
o อนุสญญาว่
าด้วยสท
้ ับเด็กและ
o ร ัฐแสวงหายุตธ
ิ รรมทางเลือกทีจ
่ ะนามาใชก
เยาวชน
ั
่ งคม
o ร ัฐมุง
่ ลดการกระทาผิด/นาต ัวเด็กกล ับคืนสูส
o กระบวนการยุตธ
ิ รรมของเด็กแตกต่างจากผูใ้ หญ่
ั
o กฎหมายหล ัก ....พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ/อนุสญญาว่
าด้วย
ิ ธิเด็ก/พ.ร.บ.คุม
สท
้ ครองเด็กฯลฯ
24
แนวคิดพื้นฐานกระบวนการยุติธรรม
อาชญาวิทยาดั้งเดิม (Classical
School)
อาชญาวิทยากึ่งดั้งเดิม (Neo-Classical School)
อาชญาวิทยาปฎิฐานนิยม (Positive
School)
25
กระบวนการยุติธรรม
ปร ัชญาในระบบงานยุตธ
ิ รรม
 ปร ัชญาทีม
่ ง
ุ่ ต่อการลงโทษ
 ปร ัชญาทีม
่ ง
ุ่ ต่อการแก้ไขฟื้ นฟูผก
ู ้ ระทาผิด
่ นร่วม
 ปร ัชญาทีม
่ ง
ุ่ ต่อการให้ชุมชนเข้ามามีสว
ในกระบวนการยุตธ
ิ รรม
26
ว ัตถุประสงค์การลงโทษ
 การแก้แค้นทดแทน
 การข่มขู่
ั
 การคุม
้ ครองสงคมให้
พน
้ จากภย ันตราย
ในระหว่างทีผ
่ ก
ู ้ ระทาผิดถูกต ัดขาดจาก
ั
สงคม
 การปร ับปรุงแก้ไขผูก
้ ระทาผิด
27
กระบวนการยุตธ
ิ รรม
มาตรการในการลงโทษ
ชุมชนไม่ม ี
สว่ นร่วม
การลงโทษพิจารณาถึงผลการ
กระทา
กระบวนการยุตธ
ิ รรมเชงิ แก้แค้น
(Retributive Justice)
ลงโทษเพือ
่ ย ับยงั้ ข่มขู่
บาบ ัด ฟื้ นฟู
ดึงคดีเข้าสู่
ระบบศาล
ความแตกต่างบุคคล/
สถานการณ์
คนล้นคุก
28
กระบวนการยุตธ
ิ รรมเชงิ สมานฉ ันท์
(Restorative Justice)
สาหร ับเด็กและเยาวชน
29
ความหมาย
กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์
(Restorative Justice)
หมายถึง การอานวยความยุติธรรมที่ต้องการทาให้ทกุ ฝ่ าย ซึ่งได้รับผลกระทบ
จากอาชญากรรมได้กลับคืนสู่สภาพดีเช่นเดิม
* การเยียวยา / บรรเทาความเสียหาย /กลับคืนสู่สภาพเดิม
* ร่วมจัดการกับความเสียหาย
* กระบวนการไม่เป็ นทางการ
เป้าหมาย
สมานฉันท์
* เหยื่ อ ผูก้ ระทาผิด ชุมชน ฯ.
30
31
ยาเสพติด
ล่วงละเมิด
ประกอบ
อาชญากรรม
ทางเพศ
ค้าประเวณี
ประพฤติตน
ไม่เหมาะสม
ค้ามนุษย์
ทะเลาะวิวาท
ฯลฯ
สภาพปัญหาเด็กและเยาวชน
สถิตก
ิ ารกระทาผิด
ร้อยละของจานวนคดีเด็กและเยาวชนทีถ
่ ก
ู ดาเนินคดี
โดยสถานพินจ
ิ ฯทว่ ั ประเทศจาแนกตามเพศ ปี 2554
92.04 %
7.96 %
ชาย
หญิง
32
ร้ อยละ
ร้ อยละของคดีเด็กและเยาวชนทีถ่ ูกดาเนินคดีโดยสถานพินิจฯทัว่ ะระเท
จาแนกตามฐานความผิด ะี พ. . 2554
40.00
39.50
30.00
20.19
20.00
10.00
0.00
13.40
11.56
4.23
4.61
6.51
1
ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์
ความผิดเกี่ยวกับชีวติ และร่ างกาย
ความผิดเกี่ยวกับเพศ
ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุ ข เสรี ภาพ ชื่อเสี ยงและการปกครอง
ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษ
ความผิดเกี่ยวกับอาวุธและวัตถุระเบิด
ความผิดอื่นๆ
33
ร้อยละ
ร้ อยละของคดีเด็กและเยาวชนทีถ่ ูกดาเนินคดีโดยสถานพินิจฯทัว่ ะระเท
จาแนกตามสาเหตุของการกระทาผิด ะี พ. . 2553
50.00
39.80
40.00
30.00
20.00
16.22
10.00
0.17
4.73
10.63
6.83
3.34
12.38
5.90
0.00
ะ่ วยทางจิต
ผู้อนื่ ชักจูง/บังคับ
ความรู้ เท่ าไม่ ถึงการณ์
ทะเลาะวิวาท
สภาพครอบครัว
คึกคะนอง
สภาพทางเ รษฐกิจ
การคบเพือ่ น
อืน่ ๆ
34
35
ยาเสพติด
36
กลุม
่ เด็กและเยาวชน ....เป็นกลุม
่ หล ักทีเ่ กีย
่ วข้องก ับยาเสพติด
ี่ ง (เรียงตามลาด ับ) คือ
กลุม
่ เสย
1.กลุม
่ เพือ
่ น
6.ว่างงาน
2.กลุม
่ เสพสุรา/บุหรีป
่ ระจา
7.ติดพนัน
3.เด็กเร่รอ
่ น
8.มีความเครียด
4.เด็กแว ้น
้
9.ครอบครัวใชยาเสพติ
ด
5.เยาวชนพ ้นโทษ
10.ฐานะเศรษฐกิจตา่
เพิม่ ขึ้น
รุนแรง
ซับซ้อน
แนวโน้ม
ไม่คานึงผลเสีย
หาย
การกระทาผิดของเด็ก
ก้าวร้าว
ห่างครอบครัว
ขยายวงกว้าง
ไม่เคารพเชื่อฟัง
ฯลฯ
37
โลกทีเ่ หมาะสมสาหร ับเด็ก (2548- 2557)
1. ด้านคุณภาพชวี ต
ิ เด็กควรมีคณ
ุ ภาพชวี ต
ิ ทีด
่ ี หากเด็กขาด
การมีคณ
ุ ภาพชวี ต
ิ ทีด
่ จ
ี ะทาให้เกิดปัญหาในด้านต่าง ๆ ตามมา
ึ ษาทีม
2. ด้านการศก
่ ค
ี ณ
ุ ภาพ
3. ด้านการปกป้องและคุม
้ ครองเด็ก
4. ด้านHIV/AIDS
5. เด็กก ับครอบคร ัว (พ่อ แม่ ผูป
้ กครอง มีบทบาทหน้าทีห
่ ล ัก/อยู่
คูก
่ ัน)
6. การมีสว่ นร่วมของเด็ก (การมีสว่ นร่วมทางการเมืองฯ/สภา
เยาวชน)
7. กีฬาและน ันทนาการ
ื่ มวลชนก ับการพ ัฒนาเด็ก (ต้องมีสว่ นร่วมร ับผิดชอบ/
8. สอ
สร้างสรรค์)
่ ความเท่าเทียมใน
9. เด็กทีต
่ อ
้ งการการคุม
้ ครองเป็นพิเศษ (เชน
ึ ษา)
การศก
10. ศาสนาและว ัฒนธรรม
11. ด้านกฎหมาย (การคุม
้ ครอง/การปกป้อง/การลงโทษเด็ก/
การลงโทษผูล
้ ะเลย/ปร ับปรุงกระบวนการยุตธ
ิ รรมให้สอดคล้องก ับ
ั
ิ ธิเด็ก)
อนุสญญาส
ท
38
38
ั
“5 พฤติกรรม เยาวชนไทย” ทีส
่ งคมไทยพึ
งตระหน ัก
ิ ค ้าฟุ่ มเฟื อย ยึดติดกับ วัตถุนย
การใชส้ น
ิ ม
ั่
การแต่งตัวทีโ่ ป๊ เปลือย ไม่ถก
ู กาลเทศะ / ตามแฟชน
ต่างชาติ
่ สูบบุหรี,่ ดืม
การมั่วสุมอบายมุข เชน
่ เหล ้า,ติดยา
,เทีย
่ วกลางคืน,ติดเกม
มีอส
ิ ระทางความคิด กล ้าคิดกล ้าแสดงออกมากเกินไป
จนเกินงาม
ื่ ฟั งพ่อแม่ ไม่มค
ก ้าวร ้าว ไม่เชอ
ี วามกตัญญู และ ขาด
ั มาคารวะ
สม
39
สาเหตุการกระทาความผิดของเด็กและเยาวชน
สรุปได ้ว่ากระบวนการยุตธิ รรมสาหรับเด็กและเยาวชน
นัน
้ สมควรทีจ
่ ะได ้รับการปฏิบต
ั แ
ิ ตกต่างจากผู ้ใหญ่
ไม่
เน ้นการลงโทษ แต่จะนาวิธก
ี ารสาหรับเด็กและเยาวชน มา
้ อ
ใชเพื
่ แก ้ไขความประพฤติ ฟื้ นฟู จิตใจ เพือ
่ ให ้เขาอยู่
ร่วมกับสงั คมได ้โดยปกติสข
ุ ต่อไป
40
2.แนวคิดการทางานก ับ
เด็กและเยาวชน
3.ทฤษฎีอาชญาวิทยา
1.ปร ัชญา
รายงานผล
กาหนดมาตรการ
คุม
้ ครองเด็กและ
เยาวชน
ี
4.มุมมองสหวิชาชพ
การวางแผนแก้ไขและ
ป้องก ัน ปร ับเปลีย
่ น
พฤติกรรม
5.การปฏิบ ัติตอ
่ เด้กและเยาวชน
การประเมินค้นหาสาเหตุการ
กระทาผิด
รายงานผล
41
5.การฝึ กปฏิบต
ั ก
ิ ารหาสาเหตุการกระทาผิด
ของเด็กและเยาวชน
42
สถานการณ์ท ี่ 1 กรณี น.ส.แอน (นามสมมติ)
ั ้ ม.6 โรงเรียนแห่งหนึง่ ใน อ.นาเยีย จ.
น.ส.แอน อายุ 18 ปี นั กเรียนชน
อุบลราชธานี นางราวงดนตรีโปงลางของโรงเรียน ถูกคนร ้ายข่มขืนและทาร ้ายจน
ี ชวี ต
เสย
ิ และต่อมาเมือ
่ บ่ายวานนี้ (25 ธ.ค.) เจ ้าหน ้าทีต
่ ารวจจับกุม นายเอ (นามสมมติ)
อายุ 16 ปี ผู ้ต ้องหาได ้ทีไ่ ซต์งานก่อสร ้าง ร ้านขายรถจักรยานยนต์มอ
ื สอง ถนนชยางกูร
ขาออก ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี โดยผู ้ต ้องหาเป็ นเพือ
่ นรุน
่ น ้องร่วมโรงเรียน
ั เกเรก ้าวร ้าว ชอบลักเล็กขโมย
กับ น.ส.แอน ทีถ
่ ก
ู ไล่ออกจากโรงเรียนตัง้ แต่ ม.2 มีนส
ิ ย
น ้อย ซงึ่ มีผลตรวจดีเอ็นเอตรงกับคราบอสุจใิ นตัว น.ส.แอน ตามทีเ่ สนอข่าวไปแล ้วนั น
้
นายเอ ผู ้ต ้องหาให ้การรับสารภาพว่า เป็ นคนก่อเหตุขม
่ ขืนและทาร ้ายร่างกาย
้
น.ส.แอน จริง โดยลงมือก่อเหตุเพียงคนเดียว ซงึ่ ในวันก่อเหตุได ้ไปชมการซอมวง
โปงลางทีห
่ อประชุมโรงเรียน และเห็น น.ส.แอน ซงึ่ มีอาการป่ วย ปลีกตัวไปนอนพักใน
ิ ปวัฒนธรรมอีสาน (โปงลาง) อาคารเรียน 1 ชน
ั ้ 2 ตนจึงตามไปหมายจะ
ห ้องชุมนุมศล
ข่มขืน แต่ น.ส.แอน ตืน
่ ขึน
้ มาและขัดขืน ตนจึงจับหัวโขกกับพืน
้ ห ้องและฟาดกับผนั งจน
ี ชวี ต
สลบ แล ้วลงมือข่มขืน โดยไม่ทราบว่าเหยือ
่ เสย
ิ หรือไม่
43
สถานการณ์นอ
้ งแก้ม (นามสมมติ)
กรณีน ้องแก ้มอายุ 13 ปี ถก
ู ข่มขืนบนรถไฟ
และ
ี ชวี ต
็ ค
เสย
ิ
เป็ นข่าวทีท
่ าให ้คนในสงั คมชอ
เนือ
่ งจาก
ผู ้กระทาเป็ นพนักงานรถไฟ
และเคยกระทาผิดข่มขืน
ผู ้โดยสารมาแล ้ว 2 คน แต่คก
ู่ รณีไม่ได ้แจ ้งความเอาผิด
44
เอกสารอ้างอิง
 สุรางค์รัตน์ วศนิ ารมณ์.(2554) การจ ัดการรายกรณี.กรุงเทพฯ:



โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ดร.วิไลภรณ์ โคตรบึงแก. เอกสารการอบรมมาตรฐานการ
จ ัดบริการคนพิการและคนไร้ทพ
ี่ งึ่ ปี 2555.
ร ้อยตารวจตรี บรรจง บุญเอือ
้ . การปฎิบ ัติตอ
่ เด็กและเยาวชน,
รองสารวัตรป้ องกันปราบปรามสถานีตารวจภูธรเหล่าต่างคา อาเภอ
ั จังหวัดหนองคาย.
โพนพิสย
สานักงานสง่ เสริมสวัสดิภาพและพิทก
ั ษ์ เด็ก เยาวชน ผู ้ด ้อยโอกาส
และผู ้สูงอายุ,กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมัน
่ คงของมนุษย์
(2554) รายงานการพ ัฒนาเด็กและเยาวชน ประจาปี 2554

45